48 ส่วนที่ 8 การดำเนินงาน โครงการยกระดับ เศรษฐกิจและ สังคมรายตำบล แบบบูรณาการ PUANGPROMKON
49 ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ร า ย ตำ บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร 1 วัตถุประสงค์ของโครงการ/กิจกรรม 2 ประเภทกิจกรรมที่จะเข้าไปดำเนินการใน ในการดำเนินการ พื้นที่ (ระบุร้อยละของกิจกรรม) 1) เพื่อยกระดับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 1) การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยก บ่อน้ำร้อนบ้านสองพี่น้องนำไปสู่การสร้าง ระดับสินค้า OTOP/อาชีพอื่น ๆ) รายได้ให้กับประชาชนในตำบล 2 ) เพื่อสร้างและพัฒนานวัตกรรมที่ส่งเสริม คิดเป็นร้อยละ 50 ของกิจกรรมทั้งหมด ให้ประชาชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้นจาก 2) การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การ ผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้แก่ ข้าวไร่ และข้าว ยกระดับการท่องเที่ยว) เหนียวกวน 3) เพื่อให้เด็กและเยาวชน ได้เรียนรู้และใช้ คิดเป็นร้อยละ 25 ของกิจกรรมทั้งหมด ประโยชน์จากการจัดการเรียนรู้ของศูนย์การ 3 ) การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health เรียนรู้บ่อถ่านศิลาสยาม Care/เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ) คิดเป็นร้อยละ 12.5 ของกิจกรรมทั้งหมด 4 ) การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม/Circular Economy (การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน) ให้แก่ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 12.5 ของกิจกรรมทั้งหมด
50 3. รูปแบบกิจกรรมที่จะเข้าไปดำเนินการในพื้นที่ (ให้ระบุ 4. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ/กิจกรรมในการ กิจกรรมและงบประมาณ ต้องสอดคล้องกับงบประมาณ ดำเนินการ(อธิบายถึงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้อง ในข้อ 4) กับการยกระดับสินค้า OTOP /การยกระดับการท่อง 1 ) การจ้างงานตามภารกิจต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย เที่ยวการบริการชุมชน หรือการเพิ่มรายได้รูปแบบอื่น จำนวน 20 อัตรา งบประมาณ 2,640,000 บาท ให้แก่ชุมชน ที่มีความชัดเจน ทั้งในเชิงปริมาณและเชิง 2 ) การวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพตำบล การกำกับ ติดตาม คุณภาพ) และประเมินผล ระดับ National System Integrator 1) เชิงปริมาณ งบประมาณ 25,800 บาท - บ่อน้ำร้อนบ้านสองพี่น้องได้รับการพัฒนาและยก 3) การวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพตำบล การกำกับ ติดตาม ระดับเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และประเมินผล ระดับ Regional System Integrator - มีนวัตกรรมที่เพิ่มรายได้ให้แก่ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย่าง งบประมาณ 34,400 บาท น้อย 2นวัตกรรม 4 ) การสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของโครงการราย - มีศูนย์การเรียนรู้ประจำตำบล 1 ศูนย์การเรียนรู้ ตำบล (ระดับ System Integrator) งบประมาณ 2) เชิงคุณภาพ 43,000 บาท - ประชาชนตำบลพ่วงพรมครได้รับการพัฒนาและยก 5 ) กิจกรรมยกระดับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพบ่อน้ำร้อน ระดับทักษะการประกอบอาชีพ มีความรู้และมีรายได้ บ้านสองพี่น้องงบประมาณ 215,200 บาท เพิ่มขึ้นจากการท่องเที่ยวสุขภาพและผลิตภัณฑ์ชุมชน 6 ) กิจกรรมยกระดับศูนย์การเรียนรู้บ่อถ่านศิลาสยาม งบ - เด็กและเยาวชนในตำบลได้เรียนรู้และใช้ประโยชน์ ประมาณ212,000 บาท จากการจัดการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนรู้บ่อถ่านศิลา 7 ) สร้างและพัฒนานวัตกรรมที่ส่งเสริมให้ประชาชนมีราย สยาม ได้เพิ่มมากขึ้นจากผลิตภัณฑ์ชุมชน งบประมาณ 125,474 บาท 8) กิจกรรมการพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่เพื่อ แก้ไขปัญหาความยากจน งบประมาณ 118,626 บาท 9) กิจกรรมยกระดับการบริหารจัดการตำบลพ่วงพรมคร แบบยั่งยืน งบประมาณ 128,700 บาท
51 การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับ การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health สินค้า Otop/อาชีพอื่น) Care /เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ) กิจกรรมสร้างและพัฒนานวัตกรรมที่ส่งเสริมให้ประชาชนมีราย กิจกรรมสร้างศูนย์การเรียนรู้บ่อถ่านศิลาสยาม ได้เพิ่มมากขึ้นจากผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้แก่ ข้าวไร่และข้าวเหนียว - การสร้างศูนย์การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของตำบลพ่วงพรม กวน คร - การยกระดับข้าวไร่และข้าวเหนียวกวน - การอบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชนในพื้นที่ - สร้างนวัตกรรมข้าวไร่ และข้าวเหนียวกวน - การยกระดับศูนย์การเรียนรู้ - พัฒนาสูตร บรรจุภัณฑ์ และช่องทางการจำหน่ายข้าวเหนียว - การประชาสัมพันธ์และการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร กวน กิจกรรมยกระดับการบริหารจัดการตำบลพ่วงพรมครแบบ กิจกรรมการพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่เพื่อแก้ไข ยั่งยืน ปัญหาความยากจน - สร้างกองทัพวิศวกรสังคม - สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้แก่ครัวเรือนยากจน - สร้างนวัตกรรมการยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ - ให้ความรู้โดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านสัมมาชีพตามความ ต้องการ และความเหมาะสมของครัวเรือนยากจน การสร้างและการพัฒนา Creative Economy การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม/Circular Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) (การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน) กิจกรรมยกระดับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพบ่อน้ำร้อนบ้าน ส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการ สองพี่น้อง - การจัดทำระบบฐานข้อมูล อนุรักษ์ บ่อน้ำร้อนบ้านสองพี่น้อง และช่วยกันดูแล - การบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ - การยกระดับการท่องเที่ยวแบบครบวงจร รักษาให้คงสภาพเดิม เพื่อไม่ให้เกิดความเสื่อมโทรม - การประชาสัมพันธ์และสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ - การจัดทำป้ายบอกเส้นทางแสดงข้อมูลแสดงรายละเอียดทาง ภูมิศาสตร์แนวปฏิบัติและป้ายบอกจุดเสี่ยงอันตราย
52 บรรณานุกรม องค์การบริหารส่วนตำบลพ่วงพรมคร. 2564. [ระบบออนไลน์]. ประวัติความเป็นมาตำบล พ่วงพรมคร. แหล่งที่มา http://www.puangpromkon.go.th/ (21 สิงหาคม 2564)
53 ภาคผนวก
54
55
Search