Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2

หน่วยที่ 2

Published by สมศักดิ์ หลวงนา, 2023-06-13 08:20:05

Description: สมบัติและความสามารถในการเชื่อมของเหล็กกล้า

Search

Read the Text Version

33 แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 2 สอนคร้งั ที่ 3-4 เรือ่ ง สมบัติและความสามารถในการเชื่อมของเหล็กกล้า • งานตดั ชนิ้ งานด้วยเครอ่ื งตดั แกส๊ และเตรยี มรอยต่องานเชอ่ื ม • งานเช่อื มตอ่ ชนซึมลกึ ตาแหน่งท่า 1G (PA)

34 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 ชื่อวชิ าเช่ือมอารก์ ดว้ ยลวดเชื่อมหมุ้ ฟลกั ซ์ 2 เวลาเรยี นรวม 12 ช่วั โมง ชือ่ หน่วย สมบัติและความสามารถในการเช่ือมของเหล็กกล้า สอนคร้ังที่ 3-4 ชื่อเรือ่ ง สมบตั แิ ละความสามารถในการเชือ่ มของเหล็กกล้า จานวน 12 ชั่วโมง หวั ขอ้ เรื่อง 2.1 อิทธิพลของธาตทุ น่ี ามาผสมในเหล็กกล้า 2.2 ความสามารถในการเช่อื มเหลก็ กล้าคารบ์ อน 2.3 คุณสมบตั ิทางกลและการใช้งานของเหลก็ กล้าคาร์บอน 2.4 ลักษณะโลหะวทิ ยาของแนวเชือ่ ม 2.5 การตดั ชนิ้ งานดว้ ยเครอ่ื งตัดแกส๊ และเตรียมรอยตอ่ งานเช่ือม 2.6 การเชอื่ มอารก์ ดว้ ยลวดเชื่อมงานเชอื่ มตอ่ ชนซึมลกึ ตาแหน่งท่า 1G (PA) สาระสาคญั ในงานเช่ือมในปจั จบุ นั น้ี เหลก็ กลา้ จะเปน็ วสั ดทุ ่ีนามาใช้งานมากท่ีสุด ซึ่งสามารถนามาใช้งานต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง และมีสมบัติท่ีดีในการใช้งาน เหล็กกล้าโดยทั่วไปจะแบ่งชนิดไปตามปริมาณส่วนผสมของ คารบ์ อน เหลก็ กลา้ ทีผ่ ลิตขึ้นมาในปจั จุบนั มากกว่า 90% จะเปน็ เหล็กกล้าคารบ์ อนและเหล็กกล้าผสมตา่ เหลก็ กล้าชนิดต่าง ๆ สามารถนามาใช้ในงานเช่ือมได้ แต่ความยากง่ายของการเช่ือม และคุณภาพ ของรอยเชื่อมจะแตกตา่ งกันไป เหลก็ กล้าท่ีมคี วามสามารถในการเช่อื มที่ดตี ้องถูกเช่ือมได้อย่างไม่มีปัญหา โดย ท่ผี ู้เช่อื มไม่ตอ้ งมีความชานาญ และไมต่ ้องการกรรมวิธพี เิ ศษมากมายนัก สมรรถนะหลัก (สมรรถนะประจาหน่วย) 1. แสดงความรเู้ กยี่ วกบั สมบัตแิ ละความสามารถในการเชอื่ มของเหลก็ กล้า 2. ปฏบิ ตั ิงานตดั ช้ินงานด้วยเครือ่ งตดั แกส๊ และเตรียมรอยต่องานเชื่อมและงานเช่อื มอารก์ ดว้ ยลวด งานเชอื่ มตอ่ ชนซึมลึกตาแหนง่ ท่า 1G (PA) สมรรถนะย่อย (สมรรถนะการเรียนรู้) สมรรถนะทัว่ ไป (ทฤษฏี) 1. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั อทิ ธิพลของธาตทุ นี่ ามาผสมในเหล็กกลา้ 2. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั ความสามารถในการเชือ่ มเหลก็ กล้าคารบ์ อน 3. แสดงความรเู้ กีย่ วกบั คุณสมบตั ิทางกลและการใชง้ านของเหลก็ กล้าคารบ์ อน 4. แสดงความร้เู ก่ยี วกับลักษณะโลหะวิทยาของแนวเช่ือม 5. แสดงทักษะเก่ียวกบั การตัดชิน้ งานด้วยเคร่ืองตัดแกส๊ และเตรียมรอยต่องานเชอื่ ม 6. แสดงทักษะเกี่ยวกับการเชื่อมอาร์กดว้ ยลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์ ต่อชนตาแหน่งทา่ 1G (PA)

35 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 ช่ือวชิ าเช่ือมอาร์กด้วยลวดเช่ือมหุม้ ฟลกั ซ์ 2 เวลาเรยี นรวม 12 ชวั่ โมง ช่อื หนว่ ย สมบตั แิ ละความสามารถในการเช่ือมของเหล็กกลา้ สอนครั้งที่ 3-4 ชื่อเรื่อง สมบัติและความสามารถในการเช่อื มของเหลก็ กล้า จานวน 12 ชว่ั โมง สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ทฤษฏี) เม่อื ผู้เรียนได้ศึกษาเนื้อหาในบทนแ้ี ล้ว ผู้เรียนสามารถ 1. บอกอทิ ธิพลของธาตทุ ่นี ามาผสมในเหล็กกล้า 2. บอกความสามารถในการเชือ่ มเหลก็ กลา้ คาร์บอน 3. บอกคณุ สมบัติทางกลและการใช้งานของเหลก็ กล้าคารบ์ อน 4. อธบิ ายลักษณะโลหะวทิ ยาของแนวเชื่อม สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ดา้ นทักษะ) เมือ่ ผู้เรยี นได้ศกึ ษาเนอ้ื หาในบทนแ้ี ล้ว ผเู้ รยี นสามารถ 1 ปฏบิ ัติตัดช้ินงานดว้ ยเคร่ืองตัดแกส๊ และเตรยี มรอยตอ่ งานเชือ่ มได้ 2 ปฏบิ ตั ิงานเชื่อมต่อชนซึมลึกตาแหนง่ ท่า 1G (PA)ได้ ดา้ นเจตคติ 1. มคี วามตั้งใจในการเตรียมชิน้ งาน 2. มคี วามเช่ือมมั่นในการเชอื่ ม ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม 12 ประการ 1. ซ่ือสตั ย์ เสียสละ อดทน มีอดุ มการณ์ในส่ิงท่ีดงี ามเพือ่ ส่วนรวม 2. ใฝ่หาความรู้ หมน่ั ศึกษาเลา่ เรยี นทง้ั ทางตรง และทางอ้อม 3. มีศลี ธรรม รกั ษาความสัตย์ หวังดีต่อผอู้ นื่ เผื่อแผแ่ ละแบง่ ปนั 4. มรี ะเบยี บวินัย เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรู้จกั การเคารพผู้ใหญ่ กจิ กรรมการเรียนการสอน รูปแบบการจัดการเรียนรูแ้ บบ Active Learning และจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ดา้ นสมรรถนะ ของผเู้ รยี น โดยมีองคป์ ระกอบทง้ั 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ Motivation Information Application และ Progress การ จดั การเรยี นรู้โดย ใช้กระบวนการ MIAP

36 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ชื่อวิชาเช่อื มอาร์กดว้ ยลวดเชื่อมหมุ้ ฟลักซ์ 2 เวลาเรียนรวม 12 ช่วั โมง ช่ือหนว่ ย สมบัตแิ ละความสามารถในการเชื่อมของเหล็กกล้า สอนครั้งท่ี 3-4 ชอ่ื เร่อื ง สมบตั ิและความสามารถในการเชือ่ มของเหล็กกล้า จานวน 12 ชั่วโมง กิจกรรมการเรยี นการสอน (สอนครงั้ ที่ 3-4 ) เวลา 12 ช่วั โมง/สปั ดาห์ การนาเข้าสู่บทเรียน 1 ดา้ นภาคทฤษฎี 1.1 ขน้ั เตรยี มการสอน 1. ครูผูส้ อนตรวจสอบรายชือ่ ผู้เรียน แจ้งรายละเอียดของเนื้อหาสาระการเรียนรู้หนว่ ยที่ 2 เร่อื ง สมบตั แิ ละความสามารถในการเชอ่ื มของเหล็กกลา้ และการปฏบิ ตั ติ นขณะเรียน 2. ครูให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนตามเวลากาหนดให้ผเู้ รียนสลบั เอกสาร ประกอบการ เรียนกับเพอ่ื นภายในหอ้ งพร้อมฟงั ครูเฉลยและแจ้งผลการประเมินแบบทดสอบก่อนเรยี น 1.2 ขนั้ การสอน (ใช้ขนั้ ตอนการสอน MIAP) 1. ขนั้ นาเข้าสูบ่ ทเรยี น (M)ครูต้ังคาถามสอบถามผู้เรยี น โดยคาถามให้สอดคล้องกับเน้ือหา สาระการเรยี นรู้ 2. ขัน้ ใหเ้ นอื้ หาความรู้ (I) ครูผสู้ อนดาเนินกจิ กรรมการเรียนการสอน ดว้ ยวธิ ที ่ี หลากหลาย เชน่ การถามตอบ การอธบิ ายการตงั้ คาถามระหว่างผเู้ รียนกบั ผู้เรียน เป็นตน้ 3. ขนั้ ใหแ้ บบฝึกหัด (A) ครผู สู้ อนให้ผู้เรยี นทาแบบฝกึ หัดประจาหนว่ ยท่ี 2 เร่อื ง สมบตั แิ ละ ความสามารถในการเชื่อมของเหลก็ กล้า จานวน 10 ข้อ ตามเวลาทก่ี าหนด และสลับเอกสารประกอบการ เรียนการสอน ผเู้ รยี นกบั ผเู้ รียนตรวจ โดยครูเฉลยแบบฝึกหดั และให้ผูเ้ รยี นแจ้งผลการประเมิน เพ่ือให้ ครูผสู้ อนบันทกึ คะแนน 4. ขัน้ สาเร็จ (P) ครูผู้สอนแจ้งผเู้ รยี นให้ทาแบบทดสอบหลงั เรยี นประจา หนว่ ยที่ 2 เรือ่ ง สมบตั แิ ละความสามารถในการเชื่อมของเหลก็ กล้า จานวน 10 ข้อ ตามเวลาที่กาหนด และสลับเอกสาร ประกอบการเรยี นการสอนผเู้ รียนกับผเู้ รียนตรวจ โดยครูเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน และให้ผ้เู รยี นแจง้ ผลการ ประเมนิ เพ่อื ใหค้ รผู สู้ อนบันทึกคะแนน 1.3 ขน้ั สรปุ ครผู ู้สอนกบั ผู้เรียนรว่ มกันสรุปเน้ือหาภาคทฤษฎีเปน็ แนวคดิ สาคัญและสามารถให้ ผู้เรียนได้ นาไปใช้งานในภาคปฏิบัติได้อยา่ งถูกต้อง การสรุป ครผู ู้สอนกับผู้เรียนร่วมกนั สรุปเนอื้ หาภาคทฤษฎเี พื่อเป็นแนวคิดสาคัญ เพือ่ ให้ ผู้เรยี นไดน้ าไปใชง้ านใน ภาคปฏิบัตไิ ด้อย่างถกู ต้องตอ่ ไป

37 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 ช่ือวิชาเช่ือมอารก์ ด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลกั ซ์ 2 เวลาเรยี นรวม 12 ช่ัวโมง ชื่อหนว่ ย สมบัตแิ ละความสามารถในการเช่ือมของเหลก็ กลา้ สอนครั้งท่ี 3-4 ช่ือเรอื่ ง สมบตั แิ ละความสามารถในการเชื่อมของเหลก็ กล้า จานวน 12 ชั่วโมง 2 ดา้ นภาคปฏิบตั ิ ใบงานท่ี 3-4 งานตัดช้นิ งานด้วยเครอ่ื งตัดแก๊สและเตรยี มรอยต่องานเชอื่ ม และงาน เชอ่ื มต่อชนซมึ ลึกตาแหน่งท่า 1G (PA) 2.1 ข้นั เตรียมการสอน ผู้เรียนเขา้ แถวครูผู้สอนตรวจสอบรายชอื่ จัดกล่มุ ผู้เรยี นเข้าสถานีปฏิบัตงิ านเชอื่ ม อบรมผู้เรยี นด้าน ความปลอดภัยในการปฏบิ ัติงานตัดชิ้นงานดว้ ยเคร่อื งตัดแกส๊ และเตรียมรอยต่องานเช่อื ม และงานเช่อื มตอ่ ชน ซมึ ลึกตาแหนง่ ท่า 1G (PA) อย่างเคร่งครดั 2.2 ขนั้ การสอน 1. ครูผ้สู อนชีแ้ จงจดุ ประสงคก์ ารเรียนรขู้ องใบงานเชอ่ื มอาร์คดว้ ยลวดเชอ่ื มหุ้มพลักซร์ อบต่อตวั ที ทา่ ราบ 1F ตาม เนื้อหาใบงานท่ีลงฝึกภาคปฏิบตั ิ 2. ครูผู้สอนนาเข้าสู่บทเรยี น โดยสอบถามจากผู้เรียนให้ผูเ้ รยี นตอบ เพือ่ ได้นาเขา้ สู่ บทเรียนของ ชนดิ ใบงานทีไ่ ด้ลงฝึกปฏิบัติโดยหนว่ ยท่ี 2 ใบงานท่ี 3 งานตดั ชนิ้ งานด้วยเครื่องตดั แกส๊ และเตรียมรอยตอ่ งาน เชื่อม และใบงานที่ 4 งานเชอื่ มตอ่ ชนซมึ ลกึ ตาแหน่งทา่ 1G (PA) 2.3 ขน้ั สาธิต ครูผู้สอนแนะนาขัน้ ตอนการปฏบิ ัติงาน และทาการสาธติ การงานตดั ช้นิ งานด้วยเครือ่ งตัดแก๊ส และเตรยี มรอยตอ่ งานเชอ่ื ม และงานเชอ่ื มตอ่ ชนซมึ ลกึ ตาแหนง่ ทา่ 1G (PA) ตามลาดับขัน้ ใหผ้ ู้เรยี นได้สงั เกต ด้วยความปลอดภัย (บนั ทกึ คลปิ วีดีโอไว้เพ่ือให้ นร.สามารถได้กลับมาดูการสาธติ ได้ซ้าๆหลายๆครง้ั ตามเนื้อหา สาระการฝกึ ) 2.4 ขั้นการปฏิบตั ิงาน ผูเ้ รียนลงปฏิบตั ิ โดยครผู ู้สอนกาชบั และควบคุมในการปฏิบตั งิ านด้วยความปลอดภัย ให้สวมใสช่ ุด ปอ้ งกันอันตรายขณะปฏิบตั ิงานทุกคน ซงึ่ ใบงานควรปฏบิ ัติดงั นี้ 1. จดั กลุ่มผเู้ รียนตามจานวนเครือ่ งเชื่อมและแบ่งกลุ่มผูเ้ รยี นคละความสามารถ (เก่ง–ปานกลาง– ออ่ น)เป็นกลุม่ ๆ เนน้ รูปแบบการจัดการเรียนรแู้ บบร่วมมอื เทคนิค STAD (เพื่อนชว่ ยเพอื่ น) ตามเหมาะสม 2. ครผู ู้สอนแจกช้นิ งานคนละจานวน 2 ชิ้น และเตรียมชิน้ งานตาม แบบทกี่ าหนดไว้ 3. ผเู้ รยี นเชื่อมยึดชิ้นงานให้ติดกัน ตามแบบงาน 4. ผ้เู รยี นปฏิบตั ิงานเตรยี มรอยตอ่ งานเชื่อม และงานเช่ือมตอ่ ชนซมึ ลกึ ตาแหนง่ ท่า 1G (PA) 5. ครูผสู้ อนควบคมุ ดูแลผเู้ รียน และสงั เกตพฤตกิ รรมในการปฏิบัตงิ าน 2.5 ขั้นตรวจผลการปฏิบัตงิ าน เมื่อผู้เรยี นได้ลงปฏบิ ัตใิ บแต่ละใบงานไดค้ รบทกุ คน ครูผู้สอนเรียกตามเลขท่ี หรือให้ ผ้เู รยี น จบั ฉลากเพื่อทาการสอบปฏิบตั ิ โดยครูผู้สอนใช้ใบประเมินผลการปฏิบัตงิ านของใบงานท่ี 3 ถงึ ใบ งานท่ี 4 ตรวจประเมินพรอ้ มชแี้ จงใหผ้ เู้ รยี นได้ทราบ และใหผ้ ้เู รียนปฏิบตั ิการสอบตามเวลากาหนด

38 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 ชื่อวิชาเช่อื มอารก์ ดว้ ยลวดเชื่อมหมุ้ ฟลักซ์ 2 เวลาเรียนรวม 12 ชั่วโมง ชอ่ื หน่วย สมบัตแิ ละความสามารถในการเชอื่ มของเหล็กกลา้ สอนครั้งที่ 3-4 ชอื่ เร่อื ง สมบตั แิ ละความสามารถในการเช่อื มของเหลก็ กล้า จานวน 12 ชัว่ โมง 2.6 ขน้ั สรปุ และประเมนิ ผล 1. ครูผู้สอนแจง้ ผลการปฏบิ ัติงานของผูเ้ รียนใบงานที่ 3- 4 ให้ผ้เู รยี นทกุ คนทราบ 2. ครูประเมินและแจ้งผลด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์เพ่ือ เปน็ แนวทางให้ผุเ้ รยี นได้ปรบั ปรงุ ตนเองได้อย่างเหมาะสม งานทมี่ อบหมายหรอื กิจกรรม 1. ก่อนเรยี น เตรียมเอกสารประกอบการเรียนการสอนผู้เรียน และทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน จานวน 10 ขอ้ 2. ขณะเรียน ผู้เรยี นทาแบบฝกึ หัดในเอกสารประกอบการเรียนการสอน จานวน 10 ขอ้ 3. หลงั เรยี น ผูเ้ รยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี นเอกสารประกอบการเรยี นการสอน จานวน 10 ข้อ สอ่ื การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน ใบงาน/ใบความรู้ 2. สือ่ นาเสนอ Power Point หน่วยที่ 2 เร่ือง สมบัติและความสามารถในการเชอ่ื มของเหลก็ กล้า 3. รปู ภาพเกยี่ วกับ เครือ่ งเชอ่ื ม ไฟฟ้าMMA 4. หนังสือเรยี น เช่ือมอาร์กดว้ ยลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์ 2 รหสั วิชา 20103-2002 5. เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมทั้งเคร่อื งฉายโปรเจคเตอร์ การวัดและประเมนิ ผล 1 แบบทดสอบก่อนเรียน (แบบปรนัย) 2 แบบฝึกหัด (แบบอตั นัย) 3 แบบทดสอบหลงั เรยี น (แบบปรนยั ) 4 การวัดและประเมินผลพฤติกรรม คุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เกณฑก์ ารประเมินผล 1 ดา้ นทฤษฎี 1.1 แบบทดสอบก่อนเรียน มจี านวน 10 ขอ้ ไม่นา ผลมาประเมิน แต่นา มาเปรยี บเทียบ ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนก่อนเรียนกบั หลังเรียนของเอกสารประกอบการเรยี นการสอนเทา่ นั้น 1.2 แบบฝึกหัด มีจานวน 10 ขอ้ ผเู้ รียนตอ้ งผ่านเกณฑไ์ ม่น้อยกวา่ ร้อยละ 70 1.3 แบบทดสอบหลังเรยี น มจี านวน 10 ข้อ ผู้เรียนต้องผ่านเกณฑไ์ มน่ ้อยกว่าร้อยละ 70 2 ด้านทกั ษะ ใบงานท่ี 3 งานตัดชิ้นงานดว้ ยเคร่ืองตัดแก๊สและเตรยี มรอยตอ่ งานเช่ือม ใบงานท่ี 4 งานเชื่อมต่อชนซมึ ลกึ ตาแหน่งทา่ 1G (PA)

39 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 ช่ือวชิ าเช่อื มอาร์กดว้ ยลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์ 2 เวลาเรยี นรวม 12 ชว่ั โมง ช่ือหน่วย สมบัติและความสามารถในการเชือ่ มของเหลก็ กลา้ สอนคร้ังท่ี 3-4 ช่อื เรื่อง สมบตั แิ ละความสามารถในการเชอื่ มของเหล็กกล้า จานวน 12 ชวั่ โมง 3 ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ผเู้ รยี นทุกคนต้องผ่านเกณฑก์ ารประเมินจากตารางประเมนิ ผลดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม และ คุณลักษณะอันพึงประสงคโ์ ดยเป็นการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนเปน็ รายบุคคล ชว่ งกอ่ นเรยี น ขณะเรียน และหลังเรยี น ซ่ึงเปน็ ตารางการประเมินแบบตรวจสอบรายการ จานวน 10 ขอ้ ๆละ 1คะแนน ซง่ึ ใชเ้ กณฑ์ การประเมนิ ดงั นี้ คะแนน 9 – 10 หมายถึง ระดับการประเมนิ พฤติกรรม ดีมาก คะแนน 7 – 8 หมายถึง ระดบั การประเมนิ พฤตกิ รรม ดี คะแนน 5 – 6 หมายถงึ ระดบั การประเมินพฤตกิ รรม พอใช้ คะแนน 0 – 4 หมายถงึ ระดับการประเมนิ พฤตกิ รรม ตอ้ งปรับปรุง

40 เนอื้ หา รหสั วชิ า 20103-2002 ชื่อวชิ าเชือ่ มอารก์ ด้วยลวดเชอื่ มหุม้ ฟลกั ซ์ 2 หน่วยท่ี 2 ชอ่ื หน่วย สมบตั ิและความสามารถในการเชือ่ มของเหล็กกล้า ช่อื เร่ือง สมบตั ิและความสามารถในการเช่อื มของเหลก็ กล้า จานวน 12 ชวั่ โมง อิทธพิ ลของธาตตุ ่าง ๆ ท่นี ามาผสมในเหลก็ กลา้ 1. คาร์บอน (C) เป็นราตทุ ่สี าคัญในการชว่ ยเพม่ิ ความเข็งแกเ่ หล็กกล้า เมือ่ มปี รมิ าณดาวับอนผสมอยู่ สงู ขึ้นเหลก็ กลา้ จะมดี วามสามารถในการชบุ แขง็ ละความต้นทานต่อแรงตงึ จะสงขึ้นแตค่ วามเหนียวและ ความสามารถในการเชือ่ มจะลดลงเมอ่ื ทาการเชอื่ มเหลก็ กล้าท่มี ปี รมิ าณ ารบ์ อนผสมอยู่มากกว่า 0.25* และ ทาให้เยน็ ตัว อย่างรวดเร็วบรเิ วณกลเ้ ดียงกับรอยเชื่อมหรือ เรียกว่าบรเิ วณกระทบร้อน (Heat Affect Zone : HAZ) จะมคี วามแขง็ และเปราะหรือถ้าบริเวณบอ่ หลอมเหลวได้รับคาร์บอนในปริมาณมากในขณะที่ทาการ เชื่อม รอยเชือ่ มอาจจะมคี วามแข็งมากกวา่ ปกติ แสตงลักษณะบริเวณกระทบ 2. แมงกานีส (M!) เป็นธาตุท่ีช่วยเพ่ิมความสามารถชุบแข็งและความแข็งแต่จะมีผลน้อยกว่าธาตุ คาร์บอน สมบัติของเหล็กกล้าท่ีมีราตุแมงกานีสผสมอยู่ขึ้นอยู่กับปริมาณคาร์บอน ถ้าแมงกานีสน้อยกว่า 0.30% อาจทาให้เกิดตามด และรอยร้าวภายในรอยเช่ือมและถ้ามีแมงกานีส มากกว่า 0.80% รอยเช่ือม อาจจะมีโอกาลเกิดการแตกรา้ วไดง้ า่ ยเชน่ เดียวกันโตยทัว่ ไปแลว้ แมงกานสี จะเปน็ ธาตุท่ีช่วยเร่งอัตราการแทรก ซึมของคาร์บอน ขณะที่ทาการอบเติมคาร์บอน และมีผลตีต่อการตกแต่งผิวสาเร็จส่วนผสมของแมงกานีสต่อ กามะถันในอัตราส่วน 10 : จะทาให้เหล็กกล้ามีดวามสามารถ ในการเช่ือมท่ีดี ถ้าเหล็กกล้ามีแมงกานีสและ คาร์บอนตา่ แสดงว่าการดปรมิ าณออกซิเจนกระทาไม่เหมาะสม แมงกานีสในเหลีกกล้าจะรวมตัวกับกามะถัน ซง่ึ จะไม่เปน็ อนั ตรายแต่อย่างใด อยา่ งไรก็ตาม ถ้าเหล็กมอี ัตราส่วนตา่ จะทาให้รอยเชื่อมแตกร้าวได้ง่ายขณะที่ รอยเชื่อมยังรอ้ นอยู่ 3. กามะกัน (S) กามะถันจะช่วยเพ่ิมความสามารถในการตัดแต่งของเหล็กกล้า แต่จะไปลดความ อ่อนในแนวขวางความต้านทานต่อแรงกระแทกและความสามารถในการเชื่อมกามะถันจะทา ให้รอยเช่ือมเกิด แตกร้าวไดง้ ่ายในขณะร้อน (Hot-short) แม้วา่ จะมีปรมิ าณเพยี งเล็กน้อยกต็ าม และมโี อกาลทีจ่ ะเกิดมากข้ึนถ้า มีปริมาณกามะถันสูงขึ้น ปกติแล้วจะให้มีกามะถันได้ไม่เกิน 0.35# แต่ต้องมีแมงกานีสเพียงพอด้วยถ้ามีมาก เกินไปจะทาให้เกดิ ปญั หารนุ แรง เปน็ อนั ตรายต่อคุณภาพ ผิวของเหล็กกล้าคาร์บอน และเหล็กกล้าแมงกานีส ตา่ เหล็กกล้าที่มีทามะถันผสมอยู่จะมีความสามารถในการเช่ือมไม่ตี เพราะว่ากามะถันจะรวมตัวกับ เหล็กกลายเปน็ ฟลิ ม์ ซึง่ ทาให้เกดิ รอยแตกรา้ วและรอยตาหนิอ่นื ๆ ตามบรเิ วณแนวหลอมเหลว ของการอาร์ก 4. ฟอสฟอรสั ( P) จะมีผลทาให้เหล็กกลา้ มคี วามแข็งและความแข็งแรงสูงข้ึน แต่ความต้านทาน ส่อ

41 เนือ้ หา รหัสวิชา 20103-2002 ช่อื วชิ าเช่อื มอารก์ ด้วยลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์ 2 หน่วยท่ี 2 ชื่อหน่วย สมบตั ิและความสามารถในการเช่อื มของเหลก็ กล้า ช่อื เรอ่ื ง สมบัตแิ ละความสามารถในการเชือ่ มของเหล็กกล้า จานวน 12 ช่วั โมง แรงกระแทกจะลดลง โดยเฉพาะในเหลก็ กลา้ เกรดคารบ์ อนสงู ในเหลก็ กล้าเกรดคาร์บอนต่า ฟอสฟอรัสจะช่วย เพิ่มความสามารถในการตัดแตง่ และความต้านทานตอ่ การกัดกร่อนของบรรยากาศ ได้ดี เมอื่ พิจารณาในตา้ นของงานเช่อื มจะถือราฟอสฟอรัสจะเป็นสารมลทินจึงต้องพยายามควบคุมให้ต่า ทสี่ ุดเทา่ ทีจ่ ะทาได้ ถา้ มมี ากกวา่ 0.04% จะทาใหร้ อยเชอื่ มเปราะและแตกร้าวได้ง่ายข้ึน นอกจากน้ีฟอสฟอรัส ทาใหก้ ารไหลของน้าโลหะดีขนึ้ จงึ ทาไห้การควบคุมการเชอ่ื มไดย้ าก 5. ซิลคิ อน (S) เป็นธาตุท่ีช่วยลดออกซิเจนในเหล็กกล้าซ่ึงจะเดิมลงไปในขณะทาการผลิตเหล็กกล้า และยังช่วยเพ่ิมความแข็งและความแขง็ แรงแต่จะให้ผลนอ้ ยกวา่ ชาตุแมงกานสี ถ้าเหลก็ กล้ามีคาร์บอนค่อนข้าง สงู ซิสดิ อนจะมโี อกาลทาให้เหลก็ แตกร้าวได้ง่ายขนึ้ เหล็กกล้าทีม่ ีความสามารถไนการเช่ือมที่ดีต้องมีซิลิคอนไม่ เกนิ 0.10% แตถ่ ้าสูงถึง 0.30% จะมผี ลเสียนอ้ ยกว่า เม่ือเทียบกับการมกี ามะถันหรือฟอสฟอรสั สูง 6. ทองแดง (Cu) เป็นธาตุที่มีสมบัติปรับปรุงความต้านทานการกัดกร่อนจากบรรยากาศ ถ้าเติม ทองแดงจนถึง 0.50% จะไมม่ ีผลตอ่ ความสามารถในการเช่อื มแต่ถา้ มีเพียงเลก็ นอ้ ยจะมีผลต่อความสามารถใน การตปี ระสานแต่ถ้าเปน็ เหล็กกล้าทต่ี ้องผา่ นการอบชบุ หากมีทอกงแดงมากกว่า 0.50% จะทาให้สมบัติเชิงกล ลดลง 7. อลมู ิเนียม (Aluminium) สัญลักษณ์ทางเคมี คอื Al เปน็ ธาตุท่นี ยิ มใชเ้ ป็นตวั ไล่แกส็ ออกซิเจน และไนโตรเจน (Deoxidizer และ Denitrizer) มากท่ีสุด ซึ่งผสมอยู่เลก็ น้อยในเหลก็ จะมผี ลทาใหเ้ นื้อละเอยี ด ข้ึน เมือ่ ใช้ผสมลงในเหลก็ ที่จะนาไปผ่านกระบวนการอบชบุ แขง็ โดยวธิ ไี นไตรดงิ้ (Nitriding) ทั้งนเ้ี น่อื งจาก อลมู เิ นยี มสามารถรวมตัวกบั ไนโตรเจน เป็นสารท่ีแข็งมาก ใช้ผสมลงในเหล็กทนความรอ้ นบางชนิด เพ่อื ให้ ต้านทานต่อการตกสะเกด็ (Scale) ได้ดขี น้ึ 8. โบรอน (Boron) สัญลักษณท์ างเคมี คอื B ช่วยเพ่ิมความสามารถชุบแขง็ แกเ่ หลก็ ทใี่ ช้ทา ช้นิ ส่วนเครื่องจกั รทั่วไป จึงทาให้ใจกลางของงานท่ที าด้วยเหล็กชุบผวิ แขง็ มีความแข็งสงู ข้นึ โบรอนสามารถ ดูดกลนื นิวตรอนได้สงู จงึ นยิ มเติมในเหล็กทใ่ี ช้ทาฉากกั้นอปุ กรณ์นิวเคลียร์ 9. เบรลิ เลยี ม (Beryllium) สัญลกั ษณท์ างเคมี คือ Be สปริงนาฬิกาซ่งึ ต้องต่อตา้ นอานาจแม่เหลก็ และรับแรงแปรอยตู่ ลอดเวลานนั้ ทาจากทองแดงผสมเบริลเลยี ม (Beryllium-Coppers Alloys) โลหะผสม นิกเกลิ -เบริลเลยี ม (Ni-Be Alloys) แขง็ มาก ทนการกัดกร่อนไดด้ ี ใช้ทาเครอ่ื งมอื ผา่ ตัด 10. แคลเซยี ม (Calcium) สัญลกั ษณท์ างเคมี คือ Ca แคลเซยี มจะใช้ในลกั ษณะแคลเซียมซิลิไซด์ (CaSi) เพื่อลดออกซเิ ดช่นั (Deoxidation) นอกจากนน้ั แคลเซยี ม ยงั ช่วยเพิ่มความตา้ นทานการเกิดสเกลของ วัสดทุ ใ่ี ช้เปน็ ตัวนาความร้อน 11. ซีเรยี ม (Cerium) สัญลักษณ์ทางเคมี คือ Ce เปน็ ตัวลดออกซิเจนและกามะถนั ไดด้ ี ชว่ ย ปรับปรงุ คุณสมบัติดา้ น Hot Working ของเหลก็ กลา้ และปรบั ปรุงความตา้ นทานการเกิดสเกลของเหล็กทน ความร้อน 12. โคบอลต์ (Cobalt) สญั ลักษณ์ทางเคมี คอื Co ไมท่ าให้เกิดคาร์ไบด์ แตส่ ามารถป้องกันไมไ่ ห้ เหล็กเกดิ เนอ้ื หยาบท่อี ณุ หภมู ิสูง ดงั นน้ั จึงช่วยปรับปรงุ ให้เหล็กมีความแข็งแรงท่ีอุณหภูมสิ งู ดว้ ยเหตนุ ้ี จงึ ใช้

42 เน้อื หา รหสั วิชา 20103-2002 ชือ่ วชิ าเช่ือมอารก์ ด้วยลวดเช่ือมหมุ้ ฟลักซ์ 2 หนว่ ยท่ี 2 ช่ือหนว่ ย สมบัติและความสามารถในการเชื่อมของเหลก็ กลา้ ชอ่ื เร่อื ง สมบตั แิ ละความสามารถในการเช่อื มของเหล็กกล้า จานวน 12 ชั่วโมง ผสมในเหล็กขึน้ รปู งานร้อน เหล็กทนความรอ้ น และเหล็กไฮสปีด ธาตโุ คบอลต์เม่ือได้รบั รังสีนิวตรอนจะเกดิ เปน็ โคบอลต์ 60 ซึง่ เปน็ สารกมั มันตภาพรังสอี ยา่ งรนุ แรง ดงั น้ัน จึงไมค่ วรเตมิ โคบอลต์ลงในเหล็กทีใ่ ช้ทา เครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู 13. โครเมียม (Chromium) สัญลักษณท์ างเคมี คือ Cr ทาให้เหล็กอบชุบได้งา่ ยข้ึน เพราะลดอัตรา การเย็นตวั วกิ ฤตลงอย่างมาก สามารถชบุ ในน้ามันหรอื อากาศได้ (Oil or Air Quenching) เพ่ิมความแข็งให้ เหลก็ แต่ลดความทนทานตอ่ แรงกระแทก (Impact) ลง โครเมยี มท่ีผสมในเหลก็ จะรวมตวั กับคารบ์ อน เปน็ สารประกอบพวกคาร์ไบด์ ซ่ึงแขง็ มาก ดังน้นั จึงทาใหเ้ หล็กทนทานตอ่ แรงเสียดสี และบรเิ วณที่เป็นรอยคม หรือความคมไมล่ บงา่ ย ทาให้เหล็กเปน็ สนิมได้ยาก เพิม่ ความแข็งแรงของเหลก็ ทใ่ี ชง้ านที่อุณหภูมสิ ูง เพม่ิ ความ ทนทานต่อการกัดกร่อนของสารตา่ ง ๆ ได้ดขี น้ึ 14. โมลิบดนี มั (Molybdenum) สัญลกั ษณ์ทางเคมี คอื Mo ปกติจะใชผ้ สมรวมกับธาตุอน่ื ๆ เปน็ ตัวลดอัตราการเย็นตวั วิกฤต ทาให้อบชุบง่ายขน้ึ ป้องกันการเปราะขณะอบคืนตวั (Temper Brittleness) ทา ให้เหลก็ มีเน้ือละเอียด เพิม่ ความทนทานต่อแรงดึงแกเ่ หลก็ มากขึ้น สามารถรวมตัวกบั คารบ์ อนเปน็ คารไ์ บด์ได้ ง่ายมาก ดังนน้ั จงึ ปรบั ปรงุ คณุ สมบัติในการตัดโลหะ (Cutting) ของเหล็กไฮสปีดได้ดีขึน้ เพ่ิมความต้านทานตอ่ การกัดกรอ่ น (Corrosion Resistance) แกเ่ หล็ก อย่างไรกต็ าม เหลก็ ท่มี ีโมลิบดนิ ม่ั สูงจะตขี ึน้ รปู ยาก 14. ไนโตรเจน (Nitrogen) สัญลักษณ์ทางเคมี คือ N ขณะทาไนไตรด้งิ (Nitriding) ไนโตรเจนจะ รวมตวั กับธาตุบางชนดิ ในเหลก็ เกิดเปน็ สารประกอบไนไตรด์ ซง่ึ ทาให้ผิวงานมีความแข็งสงู มาก ต้านทานการ สึกหรอได้ดีเยีย่ ม 16. นิกเกิล (Nickel) สญั ลกั ษณ์ทางเคมี คือ Ni เป็นตัวที่เพ่ิมความทนทานต่อแรงกระแทกของ เหลก็ ดงั นั้น จึงใชผ้ สมในเหลก็ ที่จะนาไปชบุ แขง็ ท่ีผวิ ใช้ผสมกบั โครเมียม ทาให้เหล็กทนทานตอ่ การกัดกรอ่ น ไดด้ ี ไม่เป็นสนิมงา่ ย ทนความร้อน 17. ออกซเิ จน (Oxigen) สัญลกั ษณ์ทางเคมี คอื O ออกซเิ จนเป็นอันตรายต่อเหล็ก ทัง้ นขี้ น้ึ อย่กู ับ ชนดิ ส่วนผสม รูปรา่ ง และการกระจายตวั ของสารประกอบที่เกดิ จากออกซิเจนน้นั ออกซิเจนทาให้คณุ สมบัติ เชงิ กล โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ความต้านทานแรงกระแทกลดลง (ตามแนวขวาง) และเปราะยิง่ ขน้ึ 18. ตะกวั่ (Lead) สัญลักษณ์ทางเคมี คือ Pb เหล็กฟรแี มชชีนน่งิ (Free-Machining Steel) มี ตะก่ัวผสมอย่ปู ระมาณ 0.20 - 0.50 % โดยตะกั่วจะเปน็ อนุภาคละเอียด กระจายตัวอยา่ งสม่าเสมอภายใน เน้ือเหล็ก เมอ่ื นาไปกลึงหรอื ตัดแต่งด้วยเครือ่ งมอื กล ทาใหข้ ้ีกลึงขาดง่าย จงึ ทาใหต้ ัดแต่งได้ง่าย ตะกวั่ ไม่มี ผลกระทบตอ่ คุณสมบัตเิ ชิงกลของเหล็ก 19. ไทเทเนยี ม (Titanium) สญั ลกั ษณท์ างเคมี คือ Ti ไทเทเนียมเป็นโลหะท่แี ขง็ มาก ทาให้เกิด คาร์ไบดไ์ ดด้ ี เป็นธาตุผสมทสี่ าคัญในเหลก็ สเตนเลส เพอ่ื ป้องกนั การผุกร่อนตามขอบเกรน นอกจากนน้ั ไทเทเนยี มยังชว่ ยทาให้เหลก็ มเี กรนละเอียด 20. วาเนเดยี ม (Vanadium) สญั ลักษณท์ างเคมี คอื V ทาให้เหลก็ ทนต่อความร้อนไดด้ ี เพิม่ ความ แข็งแรงให้กบั เหลก็ โดยไม่ทาให้คุณสมบัตใิ นการเช่อื ม และการดึงเสยี ไป ทาให้เหลก็ มีเนอื้ ละเอยี ด รวมตวั กับ

43 เน้อื หา รหสั วชิ า 20103-2002 ชือ่ วชิ าเชอื่ มอารก์ ดว้ ยลวดเช่อื มหุ้มฟลกั ซ์ 2 หนว่ ยท่ี 2 ชื่อหน่วย สมบตั แิ ละความสามารถในการเชอ่ื มของเหล็กกล้า ชื่อเร่ือง สมบตั แิ ละความสามารถในการเชอื่ มของเหลก็ กล้า จานวน 12 ชั่วโมง คาร์บอนทเ่ี ปน็ คารไ์ บดไ์ ดง้ ่าย จึงทาให้ทนทานต่อการสึกกรอ่ น มักจะผสมในเหลก็ ขน้ึ รูปรอ้ น (Hot Working Steels) และเหลก็ ไฮสปีด 21. ทงั สเตน (Tungsten) สญั ลักษณ์ทางเคมี คือ W สามารถรวมตัวกบั คารบ์ อนเปน็ คาร์ไบด์ ท่ี แขง็ มาก จงึ ทาให้เหลก็ ท่ีผสมทงั สเตนมีความแข็งมาก หลังจากผา่ นการอบชุบ จงึ ใชท้ าพวกเครื่องมอื คม (Cutting Tools) ตา่ ง ๆ ทาใหเ้ หลก็ เหนียวขึ้น และป้องกันไมไ่ ห้เหล็กเกดิ เน้อื หยาบ เนอ่ื งจากการท่เี กรน ขยายตวั เพม่ิ ความทนทานต่อการเสียดสีของเหล็ก ดังนนั้ จงึ นิยมเติมทงั สเตนในเหลก็ ไฮสปีด (Hi-Speed) และเหลก็ ที่ตอ้ งอบชุบแขง็ โดยทั่วไป ความสามารถในการเชอ่ื มเหลก็ กลา้ คาร์บอน การแบง่ ชนิดของเหลก็ กล้าคารบ์ อนโตยทว่ั ไปจะแบง่ ตามปรมิ าณของคารบ์ อนท่ีผสม ซ่ึงจะแบ่งไต้ตัง นีเ้ หล็กกล้าคาร์บอนดามคี ารบ์ อนไม่เกนิ 0.30# เหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง มีคาร์บอนระหว่าง 0.30 - 0.45 * และเหลกี กลา้ คาร์บอนสงู มีคาร์บอนมากกว่า 0.45% เหลก็ กลา้ คารบ์ อนต่าจะแบ่งเปน็ เหล็กกล้าคาร์บอนต่า มากมคี ารบ์ อนไม่เกนิ 0.15% และเหลก็ กล้าละมุน มีคาร์บอน 0.15 - 0.30# ส่วนผสมของเหล็กกล้าคาร์บอน ตามมาตรฐานSAE ตงั แสตงในตาราง

44 เน้อื หา รหสั วชิ า 20103-2002 ช่ือวิชาเชอ่ื มอาร์กด้วยลวดเช่อื มห้มุ ฟลกั ซ์ 2 หน่วยท่ี 2 ชือ่ หน่วย สมบตั แิ ละความสามารถในการเช่ือมของเหลก็ กล้า ชือ่ เรอื่ ง สมบตั แิ ละความสามารถในการเช่ือมของเหลก็ กล้า จานวน 12 ช่ัวโมง 1. ความสามารถในการเชื่อมของเหล็กกลา้ คารบ์ อนตา่ เหลก็ กลา้ คาร์บอนตาจะมีธาตคุ าร์บอนผสมอยู่ไมเ่ กนิ 0.30% ซง่ึ จะมีความสามารถในการเช่อื ม ไฟฟ้าท่ีดีนิยมนามาใชใ้ นงานโดรงสรา้ งท่ัวไปภาชนะ ฐานเครื่องจกั รเคร่อื งกลการเกษตร และงานเชอ่ื มท่ัวไป เหล็กกล้าคาร์บอนต่าท่มี ีคารบ์ อนประมาณ 0.13% สามารถใชใ้ นงานเชอื่ มได้ดีแต่จะเชอ่ื มได้ ไม่ดี นกั เม่ือเชื่อมด้วยความเรว็ สงู เหล็กกล้าชนดิ นี้เมือ่ มีแมงกานสี ไม่เกิน 0.30% จะมีโอกาสเกดิ รพู รุนไดง้ า่ ยซง่ึ วิธีการแกไ้ ขอาจทาไดโ้ ดยการเช่ือมใหช้ ้าลงกวา่ เดิม แต่ถา้ ยอมใหเ้ กิดรูพรุนอย่บู า้ ง ก็ไม่ต้องลดดวามเรว็ ในการ เช่อื มก็ได้ เหล็กกล้าทมี่ ีคาร์บอนผสมอย่รู ะหว่าง 0.15-0.20 % จะมีความสามารถในการเช่ือมท่ีดีมาก สามารถ เช่ือมตามวธิ มี าตรฐานโดยทัว่ ไปไดด้ ้วยลวดเช่อื มเหล็กเหนยี วทุกชนดิ จึงเหมาะสมกับงานท่ีตอ้ งการความ

45 เนือ้ หา รหัสวิชา 20103-2002 ช่ือวชิ าเชอื่ มอารก์ ดว้ ยลวดเช่ือมหมุ้ ฟลักซ์ 2 หน่วยท่ี 2 ชอ่ื หนว่ ย สมบัติและความสามารถในการเชอ่ื มของเหล็กกลา้ ชอื่ เรื่อง สมบัติและความสามารถในการเชอื่ มของเหลก็ กล้า จานวน 12 ชว่ั โมง รวดเร็วในการเชื่อม เหล็กกล้าทีม่ คี ารบ์ อนผสมอย่รู ะหว่าง 0.25 - 0.30% จะมีความสามารถในการเช่ือมท่ีดี แต่ถา้ มีธาตุ ผสมบางตวั สูงเกนิ คา่ ทจ่ี ากัดอาจทาใหง้ านเชอื่ มแตกร้าวไดง้ ่าย โดยเฉพาะอย่างย่ิง เม่อื เชือ่ มแบบฟิลเลท (Fillet) ซ่ึงสามารถแกไ้ ขปัญหาน้ไี ดโ้ ดยการลดความเรว็ และกระแสไฟเชื่อม หรอื ถา้ มีธาตุผสมมากเกินไปจะมี โอกาสเกิดโพรงอากาศไดง้ ่ายซ่ึงอาจแก้ไขไดโ้ ดยการลดความเรว็ และกระแสไฟเชอื่ มลงไดเ้ ช่นเดียวกนั การเช่อื มเหล็กกล้าคาร์บอนต่าน้โี ดยทัว่ ไปแล้วไม่ตอ้ งให้ความรอ้ นกอ่ นการเชอ่ื ม ( Preheat) แตถ่ า้ ชิ้นงานมคี วามหนาตง้ั แต่ 5 เซนตเิ มตรขน้ึ ไปควรอ่นุ ช้นิ งานก่อนการเชอ่ื มแตถ่ ้าเปน็ กระบวนการเชอื่ มทม่ี ีไฮโตร เจนตา่ อาจจะไม่ตอ้ งทาการอนุ่ ชิ้นงานก็ให้ โดยท่วั ไปแลว้ เหลก็ กล้าท่มี ีคาร์บอน ผสมอยู่ระหวา่ ง 0.25 - 0.30% ควรใช้ลวดเช่ือม ชนิดไฮโตรเจนต่า (EXXX5, EXXX6, EXXX8) หรือกระบวนการเช่ือมแบบไฮโดรเจนตา่ ถา้ อณุ หภูมิแวดลอ้ มตา่ กวา่ 10 *C ลกั ษณะงานเชือ่ มเหล็กกล้าคาร์บอนต่า ดังแสดงในรูป 2. ความสามารถในการเชอื่ มของเหล็กกลา้ คารบ์ อนปานกลางและเหลก็ กล้าคารบ์ อนสงู โดยท่วั ไปแลว้ ความสา สามารถในการชบุ แข็งของเหลก็ กล้าจะเพิ่มข้ึนเมื่อเหล็กกล้ามีปรมิ าณ คาร์บอนเพ่ิมข้นึ ดังน้นั เหล็กกล้าคารบ์ อนปนกลางและคารบ์ อนสงู จึงเหมาะกบั การใช้งานท่ีความแข็ง ความ ตา้ นทานต่อการลึกหรอดี และความแข็งแรงสงู เหลก็ กล้าคาร์บอนปานกลาง (มีคารบ์ อนประมาณ 0.45%) จะ นิยมใชท้ าแผ่นกันสกึ สปรงิ และขึน้ สว่ นรถไฟอุปกรณแ์ ละ เครอื่ งมือการขดุ และตกั ดิน แตเ่ หลก็ กล้าชนดิ น้ีจะมี สมบตั ใิ นด้านการเชื่อมไมด่ ีคอื จะเชือ่ มยากนั่นเอง การเชอื่ มต้องให้ความรอ้ นก่อนทีจ่ ะทา และในบางครง้ั หลงั จากการเช่อื มต้องอนุ่ งาน อกี ครัง้ เพ่อื คลายความเต้นท่ีอยภู่ ายในขน้ึ งานสง เหลก็ กล้าคาร์บอนสงู จะเหมาะกับงานในสภาพอบชุบแขง็ เชน่ นาไปใชท้ าเครอ่ื งมืองานโลหะ และ งานไม้ดอกสวา่ น แมพ่ มิ พ์ มดี ผาลไถ และเหลก็ กันสกึ เปน็ ตัน อปุ กรณ์ทาฟาร์มบางชนิดจะทาชากเหลก็ ราง รถไฟนาไปรีดใหม่ (มีคารบ์ อน0.65% ) โดยการเชื่อมในสภาพท่หี ลังรีดตอั งอุ่นชิน้ งานกอ่ นการเชื่อม อุ่นรอย เช่ือมเตมิ ก่อนเชื่อมทับลงไป (Interpart Heating) และอนุ่ งานหลังจากการเชอื่ ม (Postheat) เพอื่ คลายความ เตน้ ภายใน

46 เน้ือหา รหสั วิชา 20103-2002 ช่อื วิชาเชอ่ื มอาร์กดว้ ยลวดเชอ่ื มหุม้ ฟลกั ซ์ 2 หน่วยท่ี 2 ช่ือหนว่ ย สมบัตแิ ละความสามารถในการเช่อื มของเหล็กกลา้ ช่อื เรอ่ื ง สมบัติและความสามารถในการเช่อื มของเหลก็ กล้า จานวน 12 ชว่ั โมง เหล็กกลาท่มี ีคารบ์ อนตั้งแต่ 0.30% ขน้ึ ไปควรจะทดลองเช่อื มงานก่อนท่ีจะเช่อื มงานจรงิ เพ่อื หา แนวโนม้ ของงานท่ีจะแตกร้าว ถ้างานมีโอกาสจะแตกร้าวได้ง่ายควรอนุ่ งานก่อนและหลงั จากการเช่อื มแลว้ อุณหภูมิท่ใี ชส้ าหรบั อ่นุ งานของเหล็กแตล่ ะชนดิ จะไม่เท่ากัน ท้งั นขี้ ึน้ อยกู่ บั สว่ นผสม ขนาด รูปร่างช้ินงานและ ปรมิ าณความร้อนที่ได้จากการเชอ่ื ม ถ้าปรมิ าณคาร์บอนและธาตผุ สมสงู และช้นิ งานหนา ควรใชอ้ ุณหภมู ิสูง เพื่อใหง้ านเย็นตัวช้ากวา่ ปกติ แตถ่ า้ เชอ่ื มด้วยกระบวนการ ไฮโดรเจนตา่ สามารถใชอ้ ณุ หภูมอิ ุน่ งานตา่ กวา่ ปกติ สาหรบั งานเชอื่ มที่บางกวา่ เบอร์ 14 ไม่จาเป็นตอ้ งอ่นุ งาน โดยทั่วไปแลว้ ถา้ เช่อื มด้วยลวดเช่ือมชนดิ ไฮโดรเจน ต่า ให้อนุ่ งานใหม้ ีอุณหภูมิตา่ กว่าปกติประมาณ 40 - 80 'C ปริมาณของธาตุคารบ์ อนท่ีผสมอยู่ในเหลก็ จะมีผลในต้านของความแขง็ เพ่มิ ขน้ึ เมอื่ เหลก็ มีปริมาณ คาร์บอนผสมอยไู่ ม่เกิน 2% และจะมีความแข็งสูงสุดเมือ่ เหล็กมปี ริมาณคารบ์ อนเท่ากับ 0.83 % แตถ่ ้าเหลก็ มี ปรมิ าณคารบ์ อนน้อยกว่าหรอื มากกวา่ 0.83% จะทาให้คาความแข็งแรงลดลง สว่ นสมบัติในด้านความเหนียว หรอื ความต้นทานแรงกระแทกจะลดลงไปเมือ่ เหลีกมปี รมิ าณของคารบ์ อนเพ่ิมขนึ้

47 เนือ้ หา รหสั วิชา 20103-2002 ช่ือวิชาเช่อื มอาร์กด้วยลวดเชือ่ มหมุ้ ฟลกั ซ์ 2 หนว่ ยท่ี 2 ช่อื หน่วย สมบตั ิและความสามารถในการเช่อื มของเหล็กกล้า ช่ือเรอื่ ง สมบัติและความสามารถในการเชอื่ มของเหล็กกล้า จานวน 12 ชัว่ โมง เหลก็ กลา้ คาร์บอนแต่ละชนดิ มีความเหมาะสมในการใชป้ ระโยชน์ทแี่ ตกต่างกัน ตัวอยา่ งการใช้งาน ของเหลก็ กล้าคาร์บอน แสดงการใชง้ านของเหลก็ กล้าคาร์บอน โลหะวทิ ยาของรอยเชื่อม ความรอ้ นจากการเชื่อมจะทาให้โครงสร้างของโลหะงานและโลหะเชอื่ มเกดิ การเปลีย่ นแปลง ซง่ึ จะมี โอกาสเกิดขึ้นไดท้ ้ังขณะเช่ือมและหลงั จากงานเชือ่ มเย็นตวั ลงแล้วขณะทเ่ี กิดการอาร์กระหว่างลวดเชอ่ื มและ ชิน้ งานจะมีอุณหภมู ปิ ระมาณ1,649 *C หรอื สงู กวา่ และระยะหา่ งจากรอยเชอ่ื มเล็กนอ้ ยจะมีอุณหภูมิประมาณ 1,500 *C เมอื่ เหลก็ รอ้ นขึ้นจนถงึ อุณหภมู วิ กิ ฤตโครงสรา้ งเกรน ความแข็งและความแขง็ แรงของโลหะจะ เปลีย่ นแปลง ดงั แสดงในรูป

48 เนื้อหา รหัสวิชา 20103-2002 ชอื่ วชิ าเชื่อมอาร์กดว้ ยลวดเชื่อมหมุ้ ฟลักซ์ 2 หนว่ ยท่ี 2 ช่ือหนว่ ย สมบตั แิ ละความสามารถในการเชือ่ มของเหลก็ กล้า ชือ่ เรื่อง สมบัตแิ ละความสามารถในการเชื่อมของเหล็กกล้า จานวน 12 ช่ัวโมง การเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งของรอยเชื่อม จะขน้ึ อยกู่ ับอุณหภูมสิ งู สดุ ท่ีงานไดร้ บั ระยะเวลาที่อยู่ ภายใตอ้ ณุ หภูมิดงั กล่าวส่วนผสมทางเดมีของโลหะและอตั ราเย็นตัวหลังจากการเช่อื ม องค์ประกอบสาคัญทจ่ี ะ ควบคุมการเปล่ยี นแปลงน้ี ไดแ้ ก่ปรมิ าณของความรอ้ นท่ใี ห้แก่งานเชือ่ มทงั้ ทีใ่ ช้ไนการอนุ่ งานและขณะทีท่ าการ เชอ่ื มจริง อัตราการเย็นตวั ของงานเชอื่ มจะมีผลกระทบตอ่ สมบตั ทิ างขนาดของ เกรน ถา้ อัตราการเย็นตวั เร็ว จะทาใหเ้ กิดความแข็งแรง แต่จะเปราะกวา่ เมือ่ มอี ตั ราการเยน็ ตวั ช้าในกรณขี องเหล็กกลา้ คารบ์ อนต่า ถ้าอตั รา การเย็นตวั แตกต่างกนั เพียงเล็กน้อยกจ็ ะมีผลกระทบต่อสมบตั เิ พยี งเลก็ นอ้ ยเทา่ นัน้ แตถ่ ้ามีปรมิ าณคาร์บอนสงู หรอื มธี าตอุ ่ืนผสมอยดู่ ว้ ยแมว้ า่ จะมอี ัดราการเย็นตัวต่างกนั ไปเพยี งเล็กน้อย ก็จะมีผลกระทบตอ่ สมบัตติ า่ ง ๆ ของชิ้นงานแตกตา่ งกันอย่างชัดเจน

49 แบบฝกึ เสริมทักษะหนว่ ยการเรยี นท่ี 2 รหัสวชิ า 20103-2002 ชือ่ วิชาเช่อื มอาร์กดว้ ยลวดเชอ่ื มหมุ้ ฟลกั ซ์ 2 หน่วยท่ี 2 ช่ือหนว่ ย สมบตั ิและความสามารถในการเช่ือมของเหลก็ กล้า ชอ่ื เร่ือง สมบัติและความสามารถในการเชอื่ มของเหล็กกล้า จานวน 6 ชว่ั โมง เฉลยแบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 2 1. เหลก็ กลา้ คาร์บอนต่าจะมีธาตุคาร์บอนผสมอยเู่ ทา่ ไร ก. มากกวา่ 0.55% ข. 0.30 - 0.45 ค. 0.45 - 0.55% ง. ไม่เกิน 0.3% 2. การเชื่อมเหลก็ กลา้ คาร์บอน ปริมาณคาร์บอนเทา่ ไรจะตอ้ งทาการใหค้ วามรอ้ นก่อนการเชื่อม ก. มากกวา่ 0.55% ข. 0.30 - 0.45 ค. 0.45 - 0.55% ง. 0.6 - 1.77% 3. ถา้ ตอ้ งการเหลก็ กลา้ คาร์บอนเพอื่ ใชง้ านทาอุปกรณ์เคร่ืองมือขดุ และตกั ดิน ควรผสมคาร์บอนประมาณ เทา่ ไร ก. 0.008% ถึง 0.30% ข. 0.30% ถึง 0.45% ค. 0.45% ถึง 0.60% ง. 0.60% ถึง0.80% 4. การทาแม่พมิ พใ์ นงานอุตสาหกรรมควรใชเ้ หล็กกลา้ คาร์บอนชนิดใด ก. เหลก็ กลา้ คาร์บอนต่า ข. เหล็กกลา้ คาร์บอนปานกลาง ค. เหลก็ กลา้ คาร์บอนสูง ง. เหลก็ กลา้ คาร์บอนพเิ ศษ 5. การเชื่อมเหล็กกลา้ คาร์บอนทีถ่ ูกนาไปรีดใหม่ควรปฏิบตั ิอยา่ งไรจงึ เหมาะสมมากท่สี ุด ก. ตอ้ งอุ่นงานกอ่ นการเช่ือม ข. ตอ้ งอุ่นงานหลงั การเชื่อม ค. ตอ้ งอุ่นงานขณะทาการเช่ือม ง. ตอ้ งอุ่นงานก่อนการเชื่อมและหลงั การเชื่อม 6. อตั ราการเยน็ ตวั เร็วของเหล็กกลา้ คาร์บอนจะมีผลอยา่ งไร ก. ความเหนียวจะเพม่ิ มากข้ึน ข. ความแขง็ จะเพม่ิ มากข้ึน ค. ความเปราะนอ้ ยลง ง. ตกแต่งไดง้ ่ายมากข้ึน 7. บริเวณใดของ HAZ ทเ่ี กิดที่ใด ก. ติดกบั ขอบเขตการหลอมละลาย ข. ตดิ กบั โลหะงาน ค. ผวิ หนา้ รอยเช่ือม ง. ถูกทุกขอ้ 8. ปัจจยั หลกั ที่กระทบต่อการเปล่ียนแปลงโครงสร้างทางโลหะวทิ ยาในบริเวณกระทบร้อน (HAZ) คือ อะไร ก. ความหนาของโลหะงาน ข. ความร้อนจากการเชื่อม ค. ความเร็วในการเช่ือม ง. ความสามารถในการเชื่อม 9.บริเวณกระทบรอ้ น (HAZ) มีปรากฏการณ์เปล่ยี นแปลงอะไรไดบ้ า้ ง

50 แบบฝกึ เสริมทกั ษะหนว่ ยการเรยี นท่ี 2 รหัสวิชา 20103-2002 ช่อื วชิ าเช่อื มอาร์กดว้ ยลวดเช่อื มหุ้มฟลกั ซ์ 2 หน่วยท่ี 2 ชือ่ หนว่ ย สมบตั ิและความสามารถในการเชอ่ื มของเหล็กกล้า ชอ่ื เร่ือง สมบตั แิ ละความสามารถในการเช่ือมของเหลก็ กล้า จานวน 6 ช่วั โมง ก. การเปลี่ยนแปลงขนาดเกรน ข. การเสียรูปของโลหะงาน ค. การเกิดสารประกอบโลหะ ง. การเปล่ียนขนาดของพ้นื ท่ี HAZ 10.ในงานเชื่อมบริเวณใดคือ บริเวณกระทบรอ้ น (HAZ) ก. ดา้ นบนรอยเชื่อม ข. ดา้ นล่างรอยเชื่อม ค. ดา้ นขา้ งของรอยเช่ือม ง. ถูกทุกขอ้

ใบงานท่ี 3 51 ชอื่ รายวิชา เชือ่ มอารก์ ดว้ ยลวดเชอ่ื มหุ้มฟลักซ์ 2 ชื่องาน : งานเชื่อมตอ่ ชนซึมลกึ ตาแหน่งทา่ 1G (PA) สอนครง้ั ท่ี 4 รหัส 20103-2002 แบบงาน เวลา 6 ชั่วโมง วัสดุ ขนาด จานวน / ชนิ้ 2 ช้ิน เหลก็ St 37 200 X 10 X 10 มม. ลวดเชอื่ มไฟฟ้า Ø 2.6 มม. จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เคร่อื งมือและอุปกรณ์ 1 เตรยี มเครอื่ งมือและอปุ กรณเ์ ชอ่ื มไฟฟ้าได้ถูกต้อง 1. เครอ่ื งเช่ือมไฟฟา้ AC หรอื DC 2 ปรบั กระแสเชื่อมไฟฟ้าได้ถกู ตอ้ ง 3 เช่อื มเรมิ่ ตน้ อาร์คลงบนชน้ิ งานได้ถกู ตอ้ ง 2. หนา้ กากเชอ่ื มชนดิ สวมหัว 4 เคาะสแลกและทาความสะอาดชน้ิ งานได้ถูกตอ้ ง 5 ตรวจสอบความถูกต้องได้ 3. คอ้ นเคาะสแลก 6 เกบ็ เคร่อื งมือได้ 7 ทาความสะอาดได้ 4. คมี จับชิน้ งานรอ้ น 8 ปฏบิ ตั งิ านเริ่มต้นอาร์ค (เชือ่ มจุด)ได้ 9 นาประโยชน์จากการศกึ ษาไปประยกุ ต์ใชใ้ นงาน 5. แปรงลวด 6. ตะไบแบน อาชพี ได้ 7. บรรทดั เหล็ก 8. ถุงมอื หนัง 9. เสอ้ื หนงั 10. แวน่ ตานริ ภยั 11. เหล็กขีด 12.เครอื่ งเจยี ระไนมอื

52 ใบงาน (Job Sheet) หนว่ ยที่ 2 ชอ่ื หนว่ ย สอนคร้ังท่ี 4 งานเชอ่ื มซึมลกึ ตอ่ ชนบากรอ่ งวตี าแหนง่ ทา่ 1G (PA) ชั่วโมงรวม 6 ลาดับขั้นการทางาน จานวนชั่วโมง 6 1. เบกิ เครื่องมือและชุดอุปกรณ์ป้องกัน อันตราย ได้แก่ เครอ่ื งมอื วสั ดุ และอปุ กรณ์ การเช่ือม 2. สวมชุดปอ้ งกันอนั ตราย ข้อควรระวงั ขณะปฏิบตั ิงานเช่ือมต้องสวมอุปกรณ์ป้องกัน อันตรายสว่ นบุคคล และใช้เคร่ืองมอื และอปุ กรณ์ ให้ถูกตอ้ ง จะทาใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านเกิดความ ปลอดภัย 3. การเตรียมข้ึนงาน 3.1 ตัดชน้ิ งาน แผ่นเหลก็ กลา้ คารบ์ อน ST 34 ขนาด 100 x 200 X 10 มม. จานวน 2 ชน้ิ ตัด ดว้ ยเคร่ืองตัดแกส๊ 3.2 บากมุมชิ้นงานดว้ ยเคร่อื งตัดแก๊สแบบอตั โนมัติ โดยปรับหัวตัดทามมุ 30 องศา ข้อควรระวงั ใช้เคร่อื งตดั แก๊สด้วยความระมดั ระวงั

53 ใบงาน (Job Sheet) หนว่ ยที่ 2 ช่อื หนว่ ย สอนครั้งท่ี 4 งานเชอ่ื มซึมลึกต่อชนบากรอ่ งวีตาแหนง่ ท่า 1G (PA) ช่วั โมงรวม 6 ลาดบั ข้นั การทางาน จานวนชัว่ โมง 6 4. การเตรยี มช้นื งานก่อนเชื่อมยดึ (Tack) 4.1 เจยี ระไนปรับผวิ หน้าชน้ิ งานบรเิ วณรอยตัด แกส๊ ข้อควรระวัง ใช้หนิ เจียระไนดว้ ยความระมดั ระวงั 4.2 ตะไบปรับมมุ ผวิ หน้างานให้ไดม้ มุ 30 องศา พรอ้ มตะไบปรบั ความหนาของ (Root Face) 1.0- 1.5 มม. และ ตะไบเกบ็ รายละเอียดบริเวณขอบของข้ึนงาน 4.3 เจียระไนเปดิ ผิวงานบริเวณขอบชน้ิ งาน ด้านหนา้ และด้านหลัง ขอ้ ควรระวงั เจียระไนจากขอบช้นิ งานขา้ งละไมเ่ กนิ 1 เซนตเิ มตร

54 ใบงาน (Job Sheet) หน่วยที่ 2 ชื่อหนว่ ย สอนครัง้ ท่ี 4 งานเชือ่ มซมึ ลกึ ตอ่ ชนบากรอ่ งวตี าแหนง่ ทา่ 1G (PA) ชว่ั โมงรวม 6 ลาดบั ข้นั การทางาน จานวนช่ัวโมง 6 5. เตรยี มเครื่องเชอ่ื ม 5.1 เปดิ สวิตซ์เครือ่ งเชอื่ มใหพ้ รอ้ ม ใช้งาน 5.2 ปรับกระแสไฟเช่ือมเหมาะสมกบั ความหนา ของขนึ้ งาน และลวดเช่อื ม 6. การจับยดึ ชิ้นงาน 6.1 นาชิน้ งานท่ีทาความสะอาดพร้อมทาการเชอ่ื ม จานวน 2 ช้นิ วางลงบนเหลก็ รางตัววที เ่ี ตรยี มไว้ ตามแนวขวาง 6.2 ทาการเชอื่ มยึด (Tack) โดย เวน้ ระยะห่างระหวา่ งชิน้ งานที่ 1 และ 2 ใหม้ ีความห่าง 3 มม. ทาการเช่ือมยดึ จานวน 2 จดุ บรเิ วณปลายชิน้ งานทงั้ 2 ดา้ น

ใบงาน (Job Sheet) 55 ช่อื หนว่ ย งานเชอื่ มซึมลึกต่อชนบากรอ่ งวีตาแหน่งท่า 1G (PA) หน่วยที่ 2 สอนครงั้ ท่ี 4 ลาดับขนั้ การทางาน ชัว่ โมงรวม 6 จานวนชั่วโมง 6 6.3 สร้างระยะเผอ่ื ของขน้ึ งาน เมอื่ เชื่อมยึดเสรจ็ นาชิ้นงานทาระยะเผื่อประมาณ 2-3 องศา เพื่อ ปอ้ งกนั การบดิ งอเชิงมมุ (Distortion) ของชน้ิ งาน 7. ตดิ ตัง้ ขึ้นงาน 7.1 วางช้ินงานลงบนเหลก็ รางตวั วีทีเ่ ตรยี มไวต้ าม แนวขวาง ทาการตรวจสอบชิ้นงานวา่ มั่นคงหรือไม่ 8. เช่ือมแนวฐานรากหลอมลกึ (Root Pass) 8.1 เร่มิ ตน้ อารก์ จากขอบช้นิ งาน โดยเทคนคิ การสายลวดเช่ือม

ใบงาน (Job Sheet) 56 ชือ่ หนว่ ย งานเช่ือมซึมลกึ ต่อชนบากร่องวตี าแหนง่ ท่า 1G (PA) หนว่ ยที่ 2 สอนคร้ังท่ี 4 ลาดบั ขัน้ การทางาน ช่วั โมงรวม 6 จานวนชวั่ โมง 6 8.2 ทาการเชือ่ มแนวฐานรากท่าราบ 1G โดยทา มุมลวดเช่อื มกับแนวเชอ่ื ม 80-85 องศา (ดจู าก ต้านข้าง) 8.3 ทาการเช่อื มแนวฐานรากท่าราบ 1G โดยทา มมุ ลวดเช่อื มกบั ชิ้นงาน 90 องศา (ดูจากตา้ นหน้า) 8.4 ควบคุมการหลอมลกึ ของแนวเช่อื มฐานรากใน ตาแหน่งเชอ่ื มทา่ ราบ1G โดยใชว้ ิธีการสรา้ งคีโฮล (KeyHold) ดว้ ยการสายลวดเชื่อมแบบตวั C ข้อควรระวัง สร้างดีโฮลให้มีขนาดเทา่ กนั ตลอดแนวเชอ่ื ม

57 ใบงาน (Job Sheet) หน่วยที่ 2 ชอ่ื หน่วย สอนครัง้ ที่ 4 งานเช่ือมซมึ ลกึ ตอ่ ชนบากร่องวตี าแหน่งท่า 1G (PA) ชั่วโมงรวม 6 ลาดบั ขั้นการทางาน จานวนช่ัวโมง 6 9. การเชอื่ มแนวเตมิ (Hot Pass) 9.1 เติมแนวเช่ือมทบั หน้าของแนวเชื่อมที่ 1 หรอื แนวเชอื่ มตอ่ จากแนวฐานราก ขอ้ ควรระวงั ทาความสะอาดแนวฐานรากก่อนทาการเชือ่ มแนว ต่อไปทุกครงั้ 9.2 ควบคุมความกว้างของแนวเชื่อม โดยการสา่ ย ลวดเชอ่ื ม และการเคลือ่ นท่ลี วดเชอ่ื มโดยรกั ษา ความเรว็ และระยะอาร์กให้สม่าเสมอ โดยใช้การ ส่ายลวดแบบตวั C 9.3 ทาการเชื่อมแนวเตมิ ทา่ ราบ1G โดยทามมุ ลวด เชือ่ มกบั แนวเชื่อม 80-85 องศา (ดจู ากด้านขา้ ง) 9.4 เช่ือมแนวเตมิ ทร่ าบ 1 G ทามุมลวดเชอ่ื มกับ ชนิ้ งาน 90 องศา (ดูจากดา้ นหนา้ )

58 ใบงาน (Job Sheet) หน่วยท่ี 2 ชอ่ื หน่วย สอนครัง้ ท่ี 4 งานเชอ่ื มซึมลกึ ต่อชนบากร่องวตี าแหนง่ ท่า 1G (PA) ชั่วโมงรวม 6 ลาดบั ข้นั การทางาน จานวนชวั่ โมง 6 10. การเช่ือมแนวปกคลมุ (Cover Pass) 10.1 ทาการเช่ือมแนวเช่อื มปกคลุมแนวเชอ่ื ม สดุ ท้าย ขอ้ ควรระวงั ทาความสะอาดแนวเติมก่อนทาการเชอื่ มแนว ต่อไปทกุ ครัง้ 10.2 ควบคุมความกว้างของแนวเชอ่ื มปกคลมุ โดยการสา่ ยลวดเชือ่ ม และการเคลอ่ื นทล่ี วดเชื่อม โดยรักษาความเรว็ และระยะอาร์กใหส้ มา่ เสมอ โดยใช้การส่ายลวดแบบตัว C 11. การปฏบิ ัตงิ านหลงั ทาการเชื่อมเสรจ็ 11.1 นาชนิ้ งานทาการเช่อื มเสร็จมาทาความ สะอาดดว้ ยแปรงลวดและรอให้ชน้ิ งานเย็นตัว ประมาณ 10 นาที นาชนิ้ งานไปทาการตรวจสอบ งานเชือ่ มดว้ ยการพินจิ (Visual Testing) เบื้องต้น ก่อนนาขน้ึ งานเช่ือมสง่ ให้แก่ครูผ้ตู รวจตอ่ ไป

59 ใบงาน (Job Sheet) หน่วยที่ 2 ชอ่ื หน่วย สอนครงั้ ที่ 4 งานเช่ือมซึมลกึ ตอ่ ชนบากร่องวตี าแหน่งท่า 1G (PA) ชว่ั โมงรวม 6 ลาดับขั้นการทางาน จานวนช่วั โมง 6 11.2 ทาการ ปิดสวิตช์เครอื่ ง เก็บชุดป้องกัน อันตรายในการปฏบิ ตั ิงานเชื่อม เครื่องมือ วสั ดุ อปุ กรณ์ ทีใ่ ช้ในการปฏิบัติงาน ส่งคืนที่ห้อง เครอ่ื งมอื และทาความสะอาดบริเวณพืน้ ท่ี ปฏิบัตงิ านเชอ่ื ม ข้อควรระวัง 1. จดุ ส้ินสุดแนวเชื่อมบริเวณขอบช้ินงานและบริเวณขอบแนวเชือ่ มจะเกิดการกัดแหวง่ 2. แนวหลอมลกึ (Root Pass) อาจเกดิ ความไมส่ มบรู ณ์ จากการควบคมุ ระยะอารก์ ไม่สมา่ เสมอขณะ ปฏบิ ตั ิงานเช่ือมต้องสวมอุปกรณป์ ้องกันอันตรายส่วนบคุ คล และใช้เคร่อื งมือและอปุ กรณใ์ หถ้ ูกตอ้ ง จะทาใหก้ าร ปฏบิ ัตงิ านเกิดความปลอดภยั ขอ้ เสนอแนะ 1. เตรียมช้นิ งานใหถ้ กู ตอ้ งตามข้อกาหนด 2. ปรบั กระแลไฟฟ้าให้ถูกตอ้ ง ให้เหมะสม

60 แบบประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน ใบงานที่ 4 งานเชอ่ื มซมึ ลกึ ตอ่ ชนบากร่องวีตาแหนง่ ทา่ 1G (PA) ช่ือผปู้ ฏิบัตงิ าน.............................. ..........................สกุล.....................................................เลขที่....................... ระดบั ช้นั ชช.2 . รายการ ผลการประเมนิ 1 43 2 ด้านความพรอ้ มการเตรียมชน้ิ งาน 1. ลบคมขอบชิน้ งานด้วยตะไบ 2. ความสมบรู ณ์ของรอยเชอ่ื มรอ่ ง (Groove welds) 3. การเชอ่ื มยึด (Tack) ชิน้ งาน ด้านทักษะงานเช่อื มตรวจสอบดว้ ยการพนิ ิจ 1.แนวเชือ่ มแนวหลอมลึก (Root Pass) 1.1 การหลอมละลายสมบรู ณ์ของแนวหลอมลึก 1.2 ความสูงของแนวหลอมลึก 1.3 การยุบเว้าของแนวหลอมลีก 2. แนวเชือ่ มด้านหน้า (Groove Face) 2.1 ความสมบูรณ์ของจุดเริม่ ต้นและจุดส้นิ สุด 2.2 ความกว้างของแนวเชื่อมสมา่ เสมอ 2.3 ความสูงของแนวเชื่อม 2.4 รอยกัดแหว่ง (Undercut) 2.5 รูพรุน(Porosity) s=ความหนาช้นิ งาน 10 มม. 2.6 รอยตอ่ แนวเชอ่ื ม 2.7 การหดตัวเชงิ มมุ (Distortion) 2.8 แนวเช่อื มเติมไม่เตม็ รอ่ งบาก 2.9 ต่อคอมงานเลยี้ ง (h)=ความสงู (t)= ความหนา ของช้ินงาน กิจนสิ ัย 1. ความปลอดภยั ในการปฏบิ ัติงาน 2. การใช้และการเก็บเคร่ืองมืออุปกรณ์ อย่างถูกวธิ ี 3. ความสะอาดของชิ้นงานท่พี รอ้ มส่ง เวลาทใี่ ช้ปฏิบตั งิ าน 1. ปฏิบตั งิ านได้ตามเวลาที่กาหนด รวม

61 การคิดคะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนทีไ่ ด้ = คะแนน สรปุ คะแนนรวมที่ได้ ..............คะแนน  ดีมาก  ดี (10 คะแนน) (9 คะแนน)  พอใช้ (8 คะแนน)  ปรบั ปรุง* (7) * จะผ่านเกณฑ์ต้องปรบั ปรงุ งานหรือทาใบ งานซ้า เกณฑก์ ารผ่านการประเมิน จะตอ้ งไดค้ ะแนนมากกวา่ 7 คะแนน ผลการตัดสนิ  ผ่านการประเมนิ  ไมผ่ ่านการประเมิน บนั ทึกเพิ่มเตมิ .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................... ลงชื่อ..................................................ผปู้ ระเมิน (...............................................)

62 เกณฑก์ ารให้คะแนนจากการตรวจสอบด้วยการพนิ ิจ (Visual Testing) รหัสวชิ า 20103-2002 ชอื่ วชิ าเชอื่ มอารก์ ด้วยลวดเชอ่ื มหุ้มฟลกั ซ์ 2 หน่วยท่ี 2 ช่ือหน่วย สมบตั แิ ละความสามารถในการเชอ่ื มของเหลก็ กล้า ใบงานท่ี 4 งานเชอื่ มซึมลึกต่อชนบากร่องวีตาแหนง่ ทา่ 1G (PA) 1. ด้านความพร้อมการเตรยี มขึ้นงาน 1.1. ลูบคมขอบชิน้ งานด้วยตะไบ 1) ลบคมขอบชนิ้ งานไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ให้ 4 คะแนน 2) ลบคมชอบชิน้ งานไม่สมบรู ณ์มีรอยตาหนไิ มเ่ กิน 2 จดุ ให้ 3 คะแนน 3) ลบคมชอบช้ินงานไมส่ มบูรณ์มีรอยตาหนมิ ากกว่า 2 จดุ ไมเ่ กิน 4 จดุ ให้ 2 คะแนน 4) ลบคมขอบช้ินงานไม่สมบรู ณ์มตี าหนมิ ากกว่า 5 จดุ ขนึ้ ไปให้ 1 คะแนน 1.2 ความสมบรู ณข์ องรอยเชือ่ มร่อง (Groove welds) ประกอบดว้ ย 1.Root Opening 2.Root Face 3.Groove Face 4. Bevel Angle 5. Groove Angle 1) เตรียมรอยเชอ่ื มรอ่ ง ได้อย่างสมบูรณใ์ ห้ 4 คะแนน 2) รอยเชือ่ มร่อง ไม่สมบูรณ์มีรอยตาหนิไมเ่ กิน 2 จดุ ให้ 3 คะแนน 3) รอยเช่ือมรอ่ ง ไมส่ มบูรณ์มีรอยตาหนมิ ากกวา่ 2 จดุ ไม่เกิน 4 จดุ ให้ 2 คะแนน 4) รอยเช่ือมรอ่ ง ไมส่ มบูรณ์มีตาหนิมากกวา่ 5 จุดขนึ้ ไปให้ 1 คะแนน 1.3 การเช่อื มยดึ (Tack) ชนิ้ งาน 1) เชื่อมยึดช้ินงานได้อย่างสมบูรณใ์ ห้ 4 คะแนน 2) เช่อื มยดึ ชน้ิ งานสนั้ กวา่ 10 มม.และยาวกว่า 15 มม. ให้ 3 คะแนน 3) เชื่อมยดึ ข้ึนงาน ไมส่ มบูรณ์ ให้ 2 คะแนน 4) เช่ือมยึดชิ้นงานไมส่ มบรู ณ์ ไม่เวน้ ช่องรอยตอ่ ชน้ิ งานเชือ่ ม 1 คะแนน 2. ด้านทกั ษะงานเชอ่ื มตรวจสอบด้วยการพนิ จิ 2.1. แนวเชอ่ื มแนวหลอมลึก (Root Pass) 2.1.1 การหลอมละลายสมบูรณ์ของแนวหลอมลกึ 1) หลอ่ มละลายสมบูรณ์ตลอดทง้ั แนวให้ 4 คะแนน 2) ไมห่ ลอมละลายมีความยาวต้ังแต่ 0.5 - 1.5 มม. ให้ 3 คะแนน 3) ไมห่ ลอมละลายมีความยาวมากกว่า 1.5 - 2.5 มม. ให้ 2 คะแนน 4) ไม่หลอมละลายความยาวมากกว่า 2.5 มม. ให้ 1 คะแนน 2.1.2 ความสูงของแนวหลอมลกึ 1) แนวหลอมสกึ มีความสงู ตัง้ แต่ 0.0 - 1.5 มม. ให้ 4 คะแนน 2) แนวหลอมลึกมีความสูงมากกว่า 1.5 - 2.5 มม. ให้ 3 คะแนน 3) แนวหลอมลกึ มคี วามสงู มากกวา่ 2.5 - 3.5 มม. ให้ 2 คะแนน 4) แนวหลอมลกึ มคี วามสงู มากกวา่ 3.5 มม. ข้ึนไปให้ 1 คะแนน 2.1.3 การยบุ เวา้ ของแนวหลอมลึก 1) แนวหลอมลกึ สมบรู ณ์ไมม่ ีการยบุ ตวั ให้ 4 คะแนน

63 2) แนวหลอมสกึ มรี อยยุบลกึ ตัง้ แต่ 0.5 มม. แตไ่ มเ่ กิน 1.0 มม. ให้ 3 คะแนน 3) แนวหลอมลกึ มีรอยยบุ ลึกมากกว่า 1.0 มม.แตไ่ ม่เกนิ 1.5 มม. ให้ 2 คะแนน 4) แนวหลอมสึกมรี อยยุบลกึ มากกวา่ 1.5 มม. ขนึ้ ไปให้ ให้ 1 คะแนน 2.2. แนวเช่ือมดา้ นหนา้ (Groove Face) 2.1.1 ความสมบรู ณข์ องจุดเรม่ิ ต้นและจุดสนิ้ สุด 1) ไม่มขี ้อบกพร่องให้ 4 คะแนน 2) พบจุดบกพร่อง 1 จดุ ให้ 3 คะแนน 3) พบจุตบกพรอ่ ง 2 จดุ ให้ 2 คะแนน 4) พบจดุ บกพรอ่ งมากกวา่ 2 จุดให้ 1 คะแนน 2.1.2 ความกวา้ งของแนวเช่อื มสม่าเสมอ 1) ขนาดของแนวเชอ่ื มกว้าง 10 มม. ให้ 4 คะแนน 2) ขนาดของแนวเชอื่ มกว้าง 9 มม. ให้ 3 คะแนน 3) ขนาดของแนวเช่ือมกว้าง 8 มม. ให้ 2 คะแนน 4) ขนาดของแนวเชื่อม = หรอื น้อนกวา่ 7 มม. ให้ 1 คะแนน 2.1.3 ความสงู ของแนวเชือ่ ม 1) ความสงู ของแนวเชื่อม 1.0 มม. แตไ่ ม่เกนิ 2.5 มม. ให้ 4 คะแนน 2) ความสงู ของแนวเชอื่ มมากกวา่ 2.5 มม. แต่ไมเ่ กนิ 3.5 มม. ให้ 3 คะแนน 3) ความสงู ของแนวเชือ่ มมากกวา่ 3.5 มม. แต่ไม่เกนิ 4.5 มม. ให้ 2 คะแนน 4) ความสงู ของแนวเชื่อมต่ากว่า 1.0 มม. หรอื มากกว่า 4.5 มม. ให้ 1 คะแนน 2.1.4 รอยกัดแหวง่ (Undercut) 1) ไม่มรี อยกดั ขอบแนวเชอื่ ม ให้ 4 คะแนน 2) มีรอยกัดชอบแนวเช่อื มลึกเกนิ 0.5 มม. แต่ไมเ่ กิน 1.0 มม. ให้ 3 คะแนน 3) มีรอยกัดขอบแนวเชอ่ื มลึกเกนิ 1.0 มม. แตไ่ ม่เกนิ 1.5 มม. ให้ 2 คะแนน 4) มีรอยกตั ขอบแนวเชอ่ื มลึกเกิน 1.5 มม. ขน้ึ ไป ให้ 1 คะแนน 2.1.5 รพู รนุ (Porosity) 1) ไม่มขี อ้ บกพร่องของรูพรุน ให้ 4 คะแนน 2) มขี นาดไม่เกนิ 0.2 s. ให้ 3 คะแนน (ขนาด 1.0 มม.) 3) มขี นาดมากกวา่ 0.2 ร. แต่ไมเ่ กิน 0.3 s. ให้ 2 คะแนน (ขนาดมากกวา่ 1 มม. แต่ไม่เกนิ 1.5 มม.) 4) มีขนาดมากกว่า 0.3 ร. ให้ 1 คะแนน (ขนาดมากกวา่ 1.5 มม.) 2.1.6 รอยต่อแนวเชื่อม 1) รอยต่อแนวเชอื่ มสมบูรณ์ให้ 4 คะแนน 2) มขี นาดนูนจดุ รอยต่อมากกวา่ 2.0 มม. แต่ไมเ่ กนิ 3.0 มม. ให้ 3 คะแนน 3) มขี นาตนูนจุดรอยต่อมากกวา่ 3.0 มม. แตไ่ ม่เกิน 4.0 มม. ให้ 2 คะแนน 4) มีขนาดนูนจดุ รอยตอ่ มากกว่า 4.0 มม. ให้ 1 คะแนน 2.1.7 การหดตัวเชงิ มุม (Distortion) 1) ไม่มีการหดตวั เชงิ มมุ ให้ 4 คะแนน 2) มีการหดตัวเชงิ มุมมากกวา่ 5 องศา ไมเ่ กิน 6 องศา ให้ 3 คะแนน

64 3) มีการหดตวั เชงิ มุมมากกวา่ 7 องศา ไม่เกิน 8 องศา ให้ 2 คะแนน 4) มกี ารหดตัวเชิงมุมมากกวา่ 8 องศา ให้ 1 คะแนน 2.1.8 แนวเชอื่ มเตมิ ไม่เต็มร่องบาก (ยกเว้นตาแหน่งรอยต่อ) 1) เติมเตม็ รอ่ งบากสมบรู ณ์ ให้ 4 คะแนน 2) ลึกตา่ กวา่ ผิวงาน 0.5 มม. แตไ่ มเ่ กิน 1.0 มม. ให้ 3 คะแนน 3) สกึ ตา่ กวา่ ผวิ งาน 1.0 มม. แต่ไม่เกนิ 1.5 มม. ให้ 2 คะแนน 4) ลึกต่ากว่าผวิ งาน 1.5 มม. ขน้ึ ไป ให้ 1 คะแนน 3. ดา้ นความพรอ้ มของการส่งชิ้นงาน 3.1. ความสะอาดของชนิ้ งานท่ีพร้อมส่ง 1) ช้นิ งานสมบูรณไ์ ม่มรี อยขีดอารก์ สะเกด็ เช่อื ม รอยหินเจยี ระไนผวิ หน้างานเชือ่ ม 2) ชิ้นงานมรี อยตาหนอิ ย่างใดอยา่ งหนึง่ 1 จดุ ให้ 3 คะแนน 3) ชิ้นงานมรี อยตาหนิอย่างใดอยา่ งหนึง่ มากกวา่ 2 จุด ไม่เกิน 3 จดุ ให้ 2 คะแนน 4) ชิ้นงานมรี อยตาหนิมากกวา่ 3 จดุ ขึ้นไป ให้ 1 คะแนนให้ 4 คะแนน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook