Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 5

หน่วยที่ 5

Published by สมศักดิ์ หลวงนา, 2023-06-16 01:47:52

Description: ข้อบกพร่องในงานเชื่อม

Search

Read the Text Version

139 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สอนครั้งท่ี 9-10 เร่ือง ข้อบกพรอ่ งในงานเชือ่ มอารก์ ดว้ ยลวดเช่อื มหมุ้ ฟลกั ซ์ • งานเชื่อมต่อชนซมึ ลึกบากรอ่ งวีบากรอ่ งวตี าแหน่งทา่ 2G (PB) • งานเชื่อมอาร์กดว้ ยลวดเช่ือมหมุ้ ฟลกั ซ์ ต่อชน ตาแหนง่ ทา่ 3G (PF)

140 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 5 ช่อื วชิ าเชือ่ มอาร์กดว้ ยลวดเช่ือมห้มุ ฟลักซ์ 2 เวลาเรยี นรวม 12 ช่วั โมง ชื่อหน่วย ข้อบกพรอ่ งในงานเชื่อมอาร์กดว้ ยลวดเชอื่ มหมุ้ ฟลกั ซ์ สอนคร้ังที่ 9-10 ช่ือเรื่อง ขอ้ บกพรอ่ งในงานเช่อื มอาร์กดว้ ยลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์ จานวน 12 ชัว่ โมง หวั ขอ้ เร่ือง 1.1 การเปล่ียนรปู ทรงชน้ิ งาน 1.2 รอยแตกรา้ วท่ีเกิดในงานเชอ่ื มอารก์ ด้วยลวดเชื่อมหุม้ ฟลักซ์ 1.3 การหลอมละลายไมส่ มบูรณ์ 1.4 ตาหนิท่ีอยใู่ นเนอ้ื วสั ดุ 1.5 การเชอ่ื มต่อชนซมึ ลึกบากรอ่ งวีบากร่องวตี าแหน่งทา่ 2G (PB) 1.6 การเช่อื มอารก์ ดว้ ยลวดเชอ่ื มหมุ้ ฟลักซ์ ต่อชนตาแหน่งท่า 3G (PF) สาระสาคัญ กระบวนการเชอ่ื มทุกชนดิ มคี วามจาเปน็ ต้องมีขั้นตอนการตรวจสอบงานเช่ือมดว้ ยการพินิจ หรือ การตรวจสอบดว้ ยสายตา เพ่ือให้แนวเชอื่ มหรอื ข้ึนงานเชอื่ มมคี วามเป็นมาตรฐานเป็นท่ยี อมรับทุกฝ่ายท่ี เก่ยี วข้องในการตรวจสอบงานเช่อื มดว้ ยการพนิ ิจ จาเป็นต้องศกึ ษาสญั ลกั ษณก์ ารตรวจสอบพืน้ ฐาน จุดบกพรอ่ งในงานเชอื่ มอารก์ โลทะแก๊สคลมุ ที่ตอ้ งระบใุ นแบบที่กาหนด เพอ่ื เป็นแนวทางในการตัดสนิ ความ เปน็ มาตรฐานงานเช่ือม และข้อแนะนาในงานเช่อื มอารก์ โลทะแก๊สคลมุ เพื่อให้ผปู้ ฏิบัตงิ านเช่อื มไดต้ ดั สนิ ใจใน การทางานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ สมรรถนะหลกั (สมรรถนะประจาหนว่ ย) 1. แสดงความรูเ้ กี่ยวกับข้อบกพร่องในงานเชื่อมอารก์ ด้วยลวดเช่ือมหุ้มฟลกั ซ์ 2. ปฏบิ ัติงานเชอื่ มซึมลกึ ต่อชนบากร่องวตี าแหน่งท่า 2G (PB) 3. ปฏิบตั ิงานเชือ่ มอารก์ ดว้ ยลวดเชื่อมหมุ้ ฟลกั ซ์ ตอ่ ชนตาแหน่งทา่ 3G (PF) สมรรถนะยอ่ ย (สมรรถนะการเรยี นรู้) สมรรถนะท่วั ไป (ทฤษฏี) 1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั การเปลย่ี นรูปทรงชน้ิ งาน 2. แสดงความรเู้ ก่ียวกับรอยแตกรา้ วทเ่ี กิดในงานเชอื่ มอาร์กด้วยลวดเชอ่ื มห้มุ ฟลักซ์ 3. แสดงความรเู้ ก่ยี วกับการหลอมละลายไม่สมบรู ณ์ 4. แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั ตาหนทิ ่ีอยูใ่ นเน้อื วัสดุ 5. แสดงทกั ษะเกีย่ วกบั การเช่ือมซึมลกึ ตอ่ ชนบากรอ่ งวตี าแหนง่ ทา่ 2G (PB) 6. แสดงทกั ษะเก่ยี วกบั การเชอ่ื มอารก์ ดว้ ยลวดเช่ือมหุ้มฟลกั ซ์ ตอ่ ชนตาแหน่งท่า 3G (PF) สมรรถนะที่พงึ ประสงค์ (ทฤษฏ)ี เมอ่ื ผู้เรยี นไดศ้ กึ ษาเนอื้ หาในบทนแี้ ลว้ ผู้เรียนสามารถ 1. อธิบายการเปลีย่ นรูปทรงชน้ิ งานได้ถูกตอ้ ง

141 ชื่อเร่ือง แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 5 ชือ่ วชิ าเช่อื มอาร์กด้วยลวดเชอ่ื มหมุ้ ฟลกั ซ์ 2 เวลาเรียนรวม 12 ช่วั โมง ชื่อหนว่ ย ขอ้ บกพรอ่ งในงานเช่ือมอารก์ ดว้ ยลวดเช่อื มห้มุ ฟลกั ซ์ สอนครง้ั ที่ 9-10 ขอ้ บกพร่องในงานเช่ือมอาร์กดว้ ยลวดเช่ือมหุม้ ฟลักซ์ จานวน 12 ชัว่ โมง 2. อธิบายเก่ยี วกับรอยแตกรา้ วท่ีเกดิ ในงานเชื่อมอาร์กด้วยลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์ ไดถ้ กู ต้อง 3. อธบิ ายลักษณะการหลอมละลายทไี่ มส่ มบรู ณ์ไดถ้ ูกต้อง 4. อธิบายตาหนิทอี่ ยูใ่ นเนอื้ วัสดไุ ดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค์ (ดา้ นทักษะ) เมอ่ื ผู้เรยี นไดศ้ กึ ษาเนอื้ หาในบทนี้แล้ว ผ้เู รียนสามารถ 1. ปฏบิ ัตงิ านเช่อื มซมึ ลึกตอ่ ชนบากรอ่ งวีตาแหน่งท่า 2G (PB)ได้ 2. ปฏบิ ตั งิ านเชื่อมอาร์กดว้ ยลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์ ต่อชนตาแหน่งท่า 3G (PF)ได้ ด้านเจตคติ 1. มคี วามตัง้ ใจในการเตรยี มชนิ้ งาน 2. มีความเชอื่ มม่นั ในการเชื่อม ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม 12 ประการ 1. ซื่อสตั ย์ เสียสละ อดทน มอี ดุ มการณ์ในส่งิ ที่ดงี ามเพ่ือส่วนรวม 2. ใฝ่หาความรู้ หมนั่ ศกึ ษาเลา่ เรยี นทงั้ ทางตรง และทางอ้อม 3. มศี ลี ธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดีต่อผอู้ ืน่ เผือ่ แผ่และแบง่ ปนั 4. มีระเบียบวินยั เคารพกฎหมาย ผู้นอ้ ยร้จู ักการเคารพผู้ใหญ่ กิจกรรมการเรียนการสอน รูปแบบการจดั การเรียนร้แู บบ Active Learning และจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ดา้ นสมรรถนะ ของผเู้ รียน โดยมอี งค์ประกอบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ Motivation Information Application และ Progress การ จดั การเรียนรู้โดย ใช้กระบวนการ MIAP กิจกรรมการเรียนการสอน (สอนครง้ั ท่ี 9-10 ) เวลา 12 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ การนาเข้าสู่บทเรยี น 1 ดา้ นภาคทฤษฎี 1.1 ขน้ั เตรียมการสอน 1. ครูผสู้ อนตรวจสอบรายชอื่ ผู้เรยี น แจ้งรายละเอียดของเนื้อหาสาระการเรียนรู้หน่วยที่ 5 เร่อื ง ขอ้ บกพร่องในงานเชอื่ มอารก์ ดว้ ยลวดเช่อื มหุ้มฟลกั ซ์และการปฏิบตั ติ นขณะเรียน 2. ครูใหผ้ ู้เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียนตามเวลากาหนดให้ผูเ้ รยี นสลบั เอกสาร ประกอบการเรยี นกบั เพ่ือนภายในห้องพรอ้ มฟงั ครเู ฉลยและแจ้งผลการประเมนิ แบบทดสอบก่อนเรียน 1.2 ขน้ั การสอน (ใชข้ น้ั ตอนการสอน MIAP)

142 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 5 ชอื่ วชิ าเช่อื มอาร์กด้วยลวดเชือ่ มหมุ้ ฟลกั ซ์ 2 เวลาเรยี นรวม 12 ชั่วโมง ชอ่ื หน่วย ขอ้ บกพรอ่ งในงานเชื่อมอาร์กดว้ ยลวดเชอ่ื มหมุ้ ฟลักซ์ สอนครงั้ ที่ 9-10 ชอ่ื เร่อื ง ขอ้ บกพร่องในงานเช่อื มอารก์ ดว้ ยลวดเช่ือมหมุ้ ฟลักซ์ จานวน 12 ช่วั โมง 1. ขน้ั นาเข้าสูบ่ ทเรยี น (M)ครูตง้ั คาถามสอบถามผู้เรยี น โดยคาถามใหส้ อดคล้องกับเน้ือหา สาระการเรียนรู้ 2. ขัน้ ใหเ้ นอ้ื หาความรู้ (I) ครูผสู้ อนดาเนนิ กิจกรรมการเรยี นการสอน ด้วยวิธที ี่ หลากหลาย เชน่ การถามตอบ การอธบิ ายการตงั้ คาถามระหว่างผูเ้ รยี นกบั ผเู้ รยี น เปน็ ตน้ 3. ขน้ั ให้แบบฝึกหดั (A) ครูผูส้ อนให้ผู้เรียนทาแบบฝึกหัดประจาหนว่ ยท่ี 5 เรอื่ ง ขอ้ บกพร่อง ในงานเช่อื มอาร์กดว้ ยลวดเชอ่ื มหมุ้ ฟลักซ์ จานวน 10 ข้อ ตามเวลาที่กาหนด และสลบั เอกสารประกอบการ เรียนการสอน ผเู้ รียนกับผเู้ รียนตรวจ โดยครเู ฉลยแบบฝึกหดั และให้ผูเ้ รยี นแจ้งผลการประเมนิ เพ่อื ให้ ครผู สู้ อนบันทกึ คะแนน 4. ขั้นสาเรจ็ (P) ครผู ู้สอนแจ้งผเู้ รียนใหท้ าแบบทดสอบหลังเรียนประจา หนว่ ยที่ 5 ข้อบกพรอ่ งในงานเช่ือมอารก์ ดว้ ยลวดเชอ่ื มหุ้มฟลักซ์จานวน 10 ขอ้ ตามเวลาท่ีกาหนด และสลับเอกสาร ประกอบการเรียนการสอนผูเ้ รียนกับผเู้ รียนตรวจ โดยครเู ฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น และให้ผเู้ รียนแจง้ ผลการ ประเมิน เพอ่ื ให้ครผู ูส้ อนบนั ทกึ คะแนน 1.3 ขน้ั สรปุ ครผู ู้สอนกับผู้เรยี นร่วมกันสรปุ เน้ือหาภาคทฤษฎเี ป็นแนวคิดสาคัญและสามารถให้ ผูเ้ รยี นได้ นาไปใช้งานในภาคปฏิบัติได้อยา่ งถกู ต้อง การสรปุ ครผู ู้สอนกับผู้เรียนร่วมกนั สรุปเนือ้ หาภาคทฤษฎเี พอื่ เป็นแนวคดิ สาคญั เพื่อให้ ผเู้ รียนไดน้ าไปใช้งานใน ภาคปฏบิ ตั ิไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งต่อไป 2 ด้านภาคปฏบิ ัติ 2.1 ขนั้ เตรยี มการสอน (ใบงานท่ี 6 งานเชอ่ื มต่อชนซึมลกึ บากรอ่ งวีตาแหน่งท่า 2G (PB)) ผูเ้ รียนเขา้ แถวครูผู้สอนตรวจสอบรายช่ือจัดกล่มุ ผู้เรียนเข้าสถานีปฏบิ ัติงานเชอ่ื ม อบรม ผเู้ รยี นด้านความปลอดภัยในการปฏบิ ตั งิ านเชอื่ มซึมลกึ ต่อชนบากร่องวตี าแหนง่ ทา่ 2G (PB)อยา่ งเคร่งครดั 2.2 ขนั้ การสอน 1. ครูผสู้ อนชแ้ี จงจุดประสงค์การเรียนรู้ของใบงานเช่ือมซึมลึกตอ่ ชนบากร่องวี ตาแหนง่ ทา่ 2G (PB)ตาม เนื้อหาใบงานท่ลี งฝึกภาคปฏิบตั ิ 2. ครูผู้สอนนาเข้าสู่บทเรียน โดยสอบถามจากผู้เรียนให้ผู้เรยี นตอบ เพือ่ ได้นาเขา้ สู่ บทเรียนชนดิ งานที่ได้ลงฝกึ ปฏบิ ัติใบงานที่ 6 งานเชือ่ มซึมลกึ ตอ่ ชนบากร่องวตี าแหนง่ ท่า 2G (PB) 2.3 ขั้นสาธติ ครูผูส้ อนแนะนาขนั้ ตอนการปฏิบัติงาน และทาการสาธติ การเช่ือมซึมลึกตอ่ ชนบาก รอ่ งวีตาแหนง่ ท่า 2G (PB)ตามลาดบั ข้นั ให้ผเู้ รียนไดส้ ังเกตด้วยความปลอดภัย (บนั ทึกคลิปวดี ีโอไวเ้ พื่อให้ นร. สามารถได้กลับมาดกู ารสาธิตได้ซา้ ๆหลายๆครัง้ ตามเน้ือหาสาระการฝึก)

143 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 ชอื่ วิชาเชอื่ มอาร์กดว้ ยลวดเชือ่ มหุ้มฟลักซ์ 2 เวลาเรยี นรวม 12 ชว่ั โมง ชอ่ื หน่วย ข้อบกพร่องในงานเช่อื มอาร์กด้วยลวดเชือ่ มห้มุ ฟลกั ซ์ สอนครงั้ ที่ 9-10 ช่ือเรอื่ ง ข้อบกพรอ่ งในงานเชือ่ มอาร์กดว้ ยลวดเช่ือมห้มุ ฟลักซ์ จานวน 12 ชัว่ โมง 2.4 ขนั้ การปฏบิ ัตงิ าน ผ้เู รยี นลงปฏบิ ตั ิ โดยครูผู้สอนกาชบั และควบคุมในการปฏิบตั งิ านด้วยความปลอดภยั ใหส้ วมใส่ชุดปอ้ งกันอนั ตรายขณะปฏบิ ตั ิงานทุกคน ซง่ึ ใบงานควรปฏิบัตดิ งั น้ี (1) จัดกลุ่มผู้เรยี นตามจานวนเคร่ืองเชอื่ มและแบ่งกลุม่ ผเู้ รยี นคละความสามารถ (เกง่ –ปานกลาง–ออ่ น)เป็นกลุ่มๆ เนน้ รูปแบบการจดั การเรียนรูแ้ บบรว่ มมือเทคนคิ STAD (เพอ่ื นชว่ ยเพอื่ น) ตามเหมาะสม (2) ครผู ูส้ อนแจกช้ินงานคนละจานวน 2 ชิ้น และเตรยี มช้นิ งานตาม แบบที่กาหนดไว้ (3) ผเู้ รยี นเชือ่ มยึดชนิ้ งานใหต้ ิดกนั ตามแบบงาน (4) ผเู้ รียนปฏบิ ตั งิ านงานเชอ่ื มซมึ ลกึ ต่อชนบากร่องวตี าแหนง่ ทา่ 2G (PB) (5) ครผู ู้สอนควบคมุ ดแู ลผเู้ รียน และสงั เกตพฤติกรรมในการปฏิบัติงาน 2.5 ข้นั ตรวจผลการปฏิบัติงาน เมือ่ ผู้เรยี นไดล้ งปฏิบตั ิใบแตล่ ะใบงานไดค้ รบทุกคน ครผู สู้ อนเรียกตามเลขที่ หรอื ให้ ผเู้ รียน จบั ฉลากเพ่ือทาการสอบปฏิบตั ิ โดยครูผู้สอนใช้ใบประเมินผลการปฏิบัติงานของใบงานที่ 6 ตรวจประเมิน พรอ้ มชแี้ จงใหผ้ เู้ รียนได้ทราบ และให้ผู้เรียนปฏิบัตกิ ารสอบตามเวลากาหนด 2.6 ขนั้ สรปุ และประเมนิ ผล 1. ครผู ้สู อนแจ้งผลการปฏบิ ัติงานของผเู้ รยี นใบงานท่ี 6 ใหผ้ ูเ้ รยี นทุกคนทราบ 2. ครปู ระเมินและแจ้งผลด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์เพ่ือ เปน็ แนวทางให้ผุ้เรยี นได้ปรบั ปรุงตนเองได้อย่างเหมาะสม 2.1 ขน้ั เตรยี มการสอน ใบงานท่ี 7 ผูเ้ รยี นเขา้ แถวครูผู้สอนตรวจสอบรายช่ือจัดกลุม่ ผู้เรยี นเข้าสถานีปฏบิ ัตงิ านเชื่อม อบรม ผเู้ รยี นดา้ นความปลอดภัยในการปฏบิ ตั ิงานเชอ่ื มอาร์กด้วยลวดเชือ่ มหมุ้ ฟลักซ์ ต่อชนตาแหนง่ ทา่ 3G (PF)อย่างเคร่งครัด 2.2 ขั้นการสอน 1. ครผู ู้สอนชีแ้ จงจุดประสงค์การเรียนรู้ของใบงานเชือ่ มอารก์ ดว้ ยลวดเช่อื มหุ้มฟลักซ์ ตอ่ ชนตาแหน่งท่า 3G (PF) ตาม เนื้อหาใบงานท่ีลงฝกึ ภาคปฏบิ ัติ 2. ครผู ู้สอนนาเข้าสู่บทเรียน โดยสอบถามจากผู้เรียนให้ผเู้ รยี นตอบ เพ่ือได้นาเขา้ สู่ บทเรียนของท่ไี ด้ลงฝกึ ปฏบิ ัติ ใบงานท่ี 7 งานเชือ่ มอาร์กดว้ ยลวดเชือ่ มหุ้มฟลกั ซ์ ตอ่ ชนตาแหนง่ ทา่ 3G (PF) 2.3 ข้นั สาธิต ครูผสู้ อนแนะนาขน้ั ตอนการปฏบิ ัติงาน และทาการสาธติ การเช่อื มอาร์กด้วยลวดเชอื่ ม หมุ้ ฟลกั ซ์ ต่อชนตาแหนง่ ทา่ 3G (PF) ตามลาดับข้ันให้ผู้เรยี นได้สังเกตดว้ ยความปลอดภัย (บันทึกคลปิ วดี โี อไว้ เพื่อให้ นร.สามารถไดก้ ลับมาดูการสาธิตไดซ้ ้าๆหลายๆคร้ังตามเนื้อหาสาระการฝกึ

144 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5 ช่ือวชิ าเชอ่ื มอาร์กด้วยลวดเชือ่ มหมุ้ ฟลกั ซ์ 2 เวลาเรยี นรวม 12 ชว่ั โมง ชอ่ื หนว่ ย ขอ้ บกพร่องในงานเชอ่ื มอารก์ ด้วยลวดเชอ่ื มห้มุ ฟลักซ์ สอนครง้ั ที่ 9-10 ช่อื เร่ือง ข้อบกพร่องในงานเช่ือมอารก์ ดว้ ยลวดเชอื่ มหุ้มฟลักซ์ จานวน 12 ชวั่ โมง 2.4 ข้นั การปฏิบัตงิ าน ผเู้ รียนลงปฏบิ ัติ โดยครผู ู้สอนกาชบั และควบคุมในการปฏบิ ตั ิงานด้วยความปลอดภยั ใหส้ วมใสช่ ุดปอ้ งกันอันตรายขณะปฏบิ ตั งิ านทุกคน ซง่ึ ใบงานควรปฏิบัติดังนี้ (1) จัดกลุม่ ผู้เรียนตามจานวนเครอื่ งเชอ่ื มและแบ่งกลมุ่ ผูเ้ รยี นคละความสามารถ (เกง่ –ปานกลาง–ออ่ น)เป็นกลมุ่ ๆ เนน้ รปู แบบการจดั การเรยี นรู้แบบร่วมมือเทคนคิ STAD (เพือ่ นชว่ ยเพ่ือน) ตามเหมาะสม (2) ครูผู้สอนแจกช้นิ งานคนละจานวน 2 ช้นิ และเตรียมช้ินงานตาม แบบทกี่ าหนดไว้ (3) ผู้เรียนเช่ือมยึดช้นิ งานให้ตดิ กัน ตามแบบงาน (4) ผ้เู รียนปฏิบัติงานเชื่อมอาร์กดว้ ยลวดเชอื่ มห้มุ ฟลักซ์ ตอ่ ชนตาแหนง่ ท่า 3G (PF) (5) ครผู สู้ อนควบคุมดแู ลผเู้ รียน และสงั เกตพฤตกิ รรมในการปฏบิ ตั ิงาน 2.5 ขน้ั ตรวจผลการปฏิบตั ิงาน เมอ่ื ผู้เรยี นไดล้ งปฏบิ ัตใิ บแตล่ ะใบงานได้ครบทกุ คน ครูผ้สู อนเรียกตามเลขท่ี หรือให้ ผู้เรียน จับฉลากเพือ่ ทาการสอบปฏบิ ตั ิ โดยครูผสู้ อนใช้ใบประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของใบงานท่ี7 ตรวจประเมิน พรอ้ มชแี้ จงใหผ้ ้เู รยี นได้ทราบ และให้ผู้เรียนปฏิบัตกิ ารสอบตามเวลากาหนด 2.6 ขนั้ สรุปและประเมินผล 1. ครผู ู้สอนแจง้ ผลการปฏบิ ัติงานของผูเ้ รยี นใบงานท่ี 7 ให้ผ้เู รยี นทกุ คนทราบ 2. ครปู ระเมินและแจ้งผลด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์เพอ่ื เปน็ แนวทางให้ผุ้เรยี นได้ปรบั ปรงุ ตนเองได้อย่างเหมาะสม งานท่ีมอบหมายหรอื กิจกรรม 1. ก่อนเรียน เตรยี มเอกสารประกอบการเรยี นการสอนผู้เรียน และทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ 2. ขณะเรียน ผู้เรยี นทาแบบฝึกหัดในเอกสารประกอบการเรยี นการสอน จานวน 10 ขอ้ 3. หลังเรยี น ผูเ้ รียนทาแบบทดสอบหลงั เรียนเอกสารประกอบการเรยี นการสอน จานวน 10 ข้อ ส่อื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน ใบงาน/ใบความรู้ 2. สื่อนาเสนอ Power Point 3. รปู ภาพเก่ียวกับ เคร่ืองเชือ่ ม ไฟฟ้าMMA 4. หนงั สือเรยี น เชื่อมอารก์ ดว้ ยลวดเช่ือมหมุ้ ฟลกั ซ์ 2 รหัสวชิ า 20103-2002 5. เคร่อื งคอมพิวเตอรพ์ ร้อมทั้งเคร่ืองฉายโปรเจคเตอร์

145 ชื่อเรื่อง แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 5 ช่ือวิชาเช่อื มอาร์กดว้ ยลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์ 2 เวลาเรียนรวม 12 ชวั่ โมง ชือ่ หนว่ ย ขอ้ บกพร่องในงานเช่ือมอารก์ ด้วยลวดเชือ่ มหุ้มฟลกั ซ์ สอนครั้งที่ 9-10 ขอ้ บกพร่องในงานเช่ือมอาร์กดว้ ยลวดเชอ่ื มหุม้ ฟลักซ์ จานวน 12 ช่วั โมง การวัดและประเมนิ ผล 1 แบบทดสอบกอ่ นเรียน (แบบปรนัย) 2 แบบฝกึ หัด (แบบอัตนยั ) 3 แบบทดสอบหลงั เรียน (แบบปรนัย) 4 การวัดและประเมินผลพฤตกิ รรม คุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เกณฑ์การประเมินผล 1 ด้านทฤษฎี 1.1 แบบทดสอบก่อนเรยี น มจี านวน 10 ข้อ ไม่นา ผลมาประเมิน แต่นา มาเปรียบเทียบ ผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี นก่อนเรยี นกับหลงั เรยี นของเอกสารประกอบการเรียนการสอนเทา่ น้ัน 1.2 แบบฝึกหัด มีจานวน 10 ข้อ ผ้เู รียนต้องผา่ นเกณฑไ์ ม่น้อยกว่าร้อยละ 70 1.3 แบบทดสอบหลงั เรยี น มีจานวน 10 ข้อ ผู้เรยี นตอ้ งผ่านเกณฑ์ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 70 2 ดา้ นทกั ษะ ใบงานที่ 6 งานเชอ่ื มต่อชนซมึ ลึกบากร่องวบี ากรอ่ งวตี าแหนง่ ท่า 2G (PB) ใบงานที่ 7 งานเชือ่ มอารก์ ดว้ ยลวดเช่อื มหุม้ ฟลกั ซ์ ต่อชนตาแหนง่ ท่า 3G (PF) 3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ผู้เรยี นทกุ คนตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมินจากตารางประเมินผลด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคโ์ ดยเป็นการสังเกตพฤตกิ รรมของผ้เู รยี นเปน็ รายบคุ คล ช่วงก่อนเรยี น ขณะเรียน และหลังเรยี น ซง่ึ เปน็ ตารางการประเมนิ แบบตรวจสอบรายการ จานวน 10 ข้อๆละ 1คะแนน ซง่ึ ใชเ้ กณฑ์ การประเมนิ ดงั นี้ คะแนน 9 – 10 หมายถึง ระดบั การประเมินพฤติกรรม ดมี าก คะแนน 7 – 8 หมายถึง ระดับการประเมินพฤตกิ รรม ดี คะแนน 5 – 6 หมายถงึ ระดบั การประเมินพฤติกรรม พอใช้ คะแนน 0 – 4 หมายถงึ ระดับการประเมนิ พฤติกรรม ต้องปรบั ปรุง

146 เนอ้ื หา รหสั วิชา 20103-2002 ช่ือวชิ าเชื่อมอารก์ ด้วยลวดเช่ือมหมุ้ ฟลกั ซ์ 2 หน่วยท่ี 5 ชือ่ หนว่ ย ข้อบกพรอ่ งในงานเชอ่ื มอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ ชือ่ เรอ่ื ง ข้อบกพรอ่ งในงานเชอื่ มอารก์ ด้วยลวดเชอื่ มหมุ้ ฟลักซ์ จานวน 6 ชว่ั โมง 5.1การตรวจสอบงานเช่ือมดว้ ยการพินจิ ในกระบวนการเช่อื มอารก์ โลทะแกส๊ คลมุ การตรวจสอบงานเชือ่ มดว้ ยการพนิ จิ หรือการตรวจสอบ ด้วยสายตาเป็นกรรมวิธีการตรวจสอบงานเชือ่ มเบ้ืองต้น เพอื่ ประเมินลักษณะของโครงสร้างหรือชน้ิ งานเช่อื ม โดยประเมินผลจากการตรจสอบคา่ การยอมรบั หรือไมย่ อมรับ โดยใชส้ ายตาทาการตรวจสอบ การตรวจสอบ สามารถกระทาได้บ่อยครั้ง และกระทาไดท้ กุ ชว่ งเวลาของการปฏิบัตงิ าน กระบวนการตรวจสอบงานเชือ่ มด้วยการพนิ ิจ เปน็ การทดสอบโดยไม่ทาลาย หมายถงึ วธิ รี วจ สอบ งานเชอ่ื มหรอื งานอ่ืน โดยไม่ทาลายสภาพเดมิ ของาน โดยทวั่ ไปเรียกว่า NDT ซ่ึงยอ่ มาจาก Non Destructive Testing เปน็ วธิ ีทดสอบท่ไี มท่ าลายทาไดง้ า่ ยทสี่ ดุ นอกจากนสี้ ามารถทดสอบแนวเชอ่ื มโดยการไมท่ าลาย สภาพงานไดอ้ กี หลายวธิ ี เมือ่ ทาการทดสอบแบบไม่ทาลาย ไมไ่ ดห้ มายความว่าจะใชแ้ ทนการทดสอบแบบทาลายไดท้ ง้ั หมด ปกตกิ ารทดสอบสมบัตเิ ชงิ กลต้องใชว้ ธิ แี บบทาลายสภาพ บางครง้ั ตอ้ งอาศยั ผลการทดสอบแบบทาลายนามา ยืนยันผลการทดสอบแบบไมท่ าลาย ดังนัน้ การทดสอบทง้ั แบบทาลายและไมท่ าลายยงั คงมคี วามจาเป็นแต่ ตอ้ งเลือกใชใ้ ห้ถกู วิธีการและความเหมาะสม 5.1.1 จุดประสงคก์ ารตรวจสอบด้วยการพินจิ การตรวจสอบด้วยการพินิจมีจุดประสงค์ เพือ่ ตรวจสอบเรื่องความปลอดภัยและความคงทน ถาวรของผลิตภัณฑ์ ซงึ่ มีหนว่ ยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชนเปน็ ผูร้ ว่ มกาหนดมาตรฐานการตรวจสอบ โดยการ ตรวจสอบมจี ุดประสงค์ ดงั ต่อไปนี้ 1. เป็นการประเมินคณุ ภาพของผลติ ภัณฑ์ของงานเชื่อมวา่ มีคณุ ภาพระดับใด ซึง่ ก่อให้เกดิ การพฒั นาปรบั ปรงุ กระบวนการผลติ ให้ดีข้นึ เป็นลาดับ 2. ลดต้นทุนการผลติ โดยการตรวจสอบคุณภาพของวัสดกุ อ่ นที่จะมาผลติ ตรวจสอบข้นั ตอน ก่อนเตรยี มงาน ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติงาน และขั้นตอนการผลติ จะทาใหง้ านเสียหายนอ้ ยลง 3. เปน็ การประกนั คุณภาพและรองรบั คุณภาพของผลิตภัณฑ์งานเช่อื มโลหะ 4. เพือ่ ความปลอดภัยของผบู้ ริโภคทีน่ าผลิตภณั ฑ์งานเชื่อมโลหะไปใช้ มาตรฐานที่กาหนดขอบเขตการยอมรบั ของการตรวจสอบดว้ ยการพนิ จิ ท่เี ปน็ ทีย่ อมรับและเป็นท่ีคุ้นเคยใน วงการตรวจสอบงานเชอื่ ม มีดงั ตอ่ ไป 1. มาตรฐานสากล ISO 5817 ใช้สาหรับเปน็ ขอบเขตการทดสอบชา่ งเชือ่ มเหล็กกล้า 2. มาตรฐาน AWS D1.1 Section 6 Part C ใช้สาหรับงานเชื่อมโครงสร้าง 3. มาตรฐาน ASME Section IX Article 28 ใชส้ าหรบั งานเชือ่ มหม้อนา้ และถังความดัน 4. มาตรฐาน API 1104 Section 6 ใช้สาหรบั งานเชือ่ มทอ่ ส่งน้ามัน ทอ่ ส่งแกส๊

147 5.1.2 เครอ่ื งมอื และอุปกรณก์ ารตรวจสอบด้วยการพนิ จิ อุปกรณ์เบือ้ งตนั ในการตรวจสอบงานเช่ือมด้วยการพนิ ิจ ต้องเตรียมเคร่ืองมอื และอุปกรณ์การ ตรวจสอบงานเชอื่ ม เชน่ เกจวดั แนวเชื่อม เวอร์เนียรค์ าลเิ ปอร์ บรรทดั เหลก็ แวน่ ขยาย ไฟฉาย กลอ้ งบนั ทกึ ภาพ กลอ้ งบอรส์ โคป เป็นต้น รปู ท่ี 5.1 ลักษณะการใชเ้ คร่ืองมือและอุปกรณก์ ารตรวจสอบด้วยการพินจิ 5.1.3 ขัน้ ตอนการตรวจสอบด้วยการพนิ ิจ ในลาดบั ขน้ั ตอนการตรวจสอบดว้ ยสายตา มไี ว้ศึกษาวธิ ีการหรอื เปน็ แนวทางการปฏิบัตติ าม ลาดับข้นั ตอนทนี่ ิยมปฏบิ ัติกันอย่างกว้างขวางมีลาดบั ขัน้ ตอนการตรวจสอบ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ทาความสะอาดบรเิ วณแนวเชื่อมและบรเิ วณใกล้เคยี งอย่างน้อย 25 มลิ ลิเมตร โดยบริเวณ ทาการตรวจสอบตอ้ งแห้ง และปราศจากสิ่งสกปรก นา้ มัน จาระบี สะเกด็ โลหะ สี เปน็ ต้น 2. ตรวจสอบด้วยสายตาห่างจากผวิ ช้นิ งานไม่เกนิ ระยะ 300 มลิ ลิเมตร และมมุ ไมน่ ้อย 30 องศา หรืออาจใชแ้ ว่นขยาย กลอ้ งบอรส์ โคป หรือกล้องวดิ โี อ เพื่อตรวจสอบดว้ ยสายตาภายใต้แสงสว่าง อยา่ งนอ้ ย 350 ลกั ซ์ แต่ทแี่ นะนาอยใู่ นระดับแสงสว่าง 500 ลักซ์ รูปท่ี 5.2 ลักษณะมุมและระยะห่างการตรวจสอบด้วยการพนิ ิจ 3. การตรวจสอบด้วยสายตาในระยะทหี่ ่าง กรณีชนิ้ งานอยไู่ กลจากสายตา ภายในท่อลึกกส็ ามารถใช้ เครื่องชว่ ยในการตรวจสอบ เช่น กระจกเงา แว่นขยาย กลอ้ งขยาย กลอ้ งบอรส์ โคป เป็นต้น

148 รปู ท่ี 5.3 ลกั ษณะการใชก้ ล้องบอร์สโคป (ท่ีมา : https:/www.tonanasia.com/tag/V3-060-1500) 4. ผู้ตรวจสอบควรทาเครอื่ งหมาย ท่ีตาแหนง่ พบจุดบกพร่อง พรอ้ มทง้ั ระบุผตู้ รวจสอบ และ เวลาในการตรวจสอบ เพอ่ื เปน็ แหลง่ ทมี่ าของขอ้ มูล 5. การตรวจสอบแนวเช่อื มด้วยสายตา สามารถกระทาไดท้ ันทีหลังจากชิ้นงานมคี วามเย็นตัว ลงเทา่ กบั อณุ หภูมปิ กติ ยกเว้นเหลก็ ตามมาตรฐาน ASTM A514, ASTM A517, ASTM A709 เกรด 100 W และเหลก็ มาตรฐานอ่ืนทเ่ี ทยี บเทา่ จาเปน็ ตอ้ งรอภายหลังจากเช่อื มสาเรจ็ อยา่ งน้อย 48 ชว่ั โมง 5.2 สัญลักษณ์การตรวจสอบพื้นฐาน การบอกสัญลักษณ์งานเชื่อม ในเน้ือหาหนว่ ยการเรยี นนี้จะเปน็ ไปตามมาตรฐานของ สมาคมงาน เชอ่ื ม(AWS) การตรวจสอบในรปู แบบองคก์ รหรือบรษิ ทั ผ้ทู าการตรวจสอบ สญั ลักษณ์การตรวจสอบ จะถา่ ยทอดรายละเอยี ดของการเชอ่ื ม การตรวจสอบมีรายละเอียดเพ่ิมเตมิ ดงั ตอ่ ไปนี้ 5.2.1 ตาแหน่งมาตรฐานสัญลักษณก์ ารตรวจสอบ การระบรุ ายละเอียดหรอื คา่ ท่ีเกยี่ วขอ้ งของการตรวจสอบงานเชอ่ื ม ต้องมีตาแหนง่ ที่มีความ เปน็ มาตรฐานสากลนิยมใช้กนั ในงานอตุ สาหกรรมงานเชือ่ ม ดังแสดงในรูปท่ี 5.4 รปู ท่ี 5.4 สว่ นประกอบตาแหนง่ มาตรฐานสญั ลักษณ์การตรวจสอบพ้ืนฐาน (ท่มี า : สมบรู ณ์ เต็งหงษเ์ จริญ. 2540) 5.2.2 สว่ นประกอบสญั ลักษณ์การตรวจสอบ การท่จี ะทาการระบุการตรวจสอบงานเชอ่ื มโดยการใชส้ ญั ลักษณ์การตรวจสอบ ผเู้ ก่ียวข้อง จะต้องทราบสว่ นประกอบสญั ลักษณก์ ารตรวจสอบใหเ้ ข้าใจในทิศทางเดยี วกัน ตามมาตรฐานสัญลักษณ์ การตรวจสอบ มีดังตอ่ ไปนี้ 1. เสน้ อา้ งองิ (Reference Line) 2. หัวลูกศร (Arrow)

149 3. สัญลักษณก์ ารตรวจสอบพ้ืนฐาน (Basic Testing Symbol) 4. ตวั อักษร N คือ จานวนครั้งของการตรวจสอบ (Number of Tests) 5. การตรวจสอบในสนาม หรอื นอกสถานที่ผลิต (Test in Field) 6. สว่ นหาง (Tail) 7. รายละเอียดจาเพาะหรือข้อมูลอ้างอิง (Specification or Other Reference) 8. ตัวอักษร L คือ ความยาวของการตรวจสอบ 9. สัญลักษณ์การตรวจสอบโดยรอบงาน (Test-all-around Symbol) 10. ในวงเลบ็ บนและลา่ งแกนเสน้ อา้ งอิงเป็นการระบดุ ้านทจ่ี ะทาการตรวจสอบ ถ้ามีสองด้าน เหมือนกนั ใช้ Both Side และถา้ ตรวจสอบแตล่ ะด้านไมเ่ หมอื นกนั ดา้ นลา่ งลูกศรใช้ Arrow Side ส่วนดา้ น ตรงขา้ มหวั ลูกศรใช้ Other Side 5.2.3 การระบตุ าแหน่งการตรวจสอบ 1. การตรวจสอบทีก่ ระทาดา้ นบนทลี่ ูกศรขี้ (Arrow Side) ของช้นิ งานตรวจสอบจะเป็น สัญลักษณ์ทีม่ ีตัวอกั ษรเขยี นไว้ด้านล่างเส้นอา้ งองิ ดังแสดงในรูปที่ 5.5 รูปที่ 5.5 การระบุสัญลกั ษณก์ ารตรวจสอบด้านเดียวกบั ลูกศรชี้ 2. การตรวจสอบทก่ี ระทาดา้ นตรงข้ามลกู ศรชี้ (Other Side) ของช้นิ งานตรวจสอบจะเป็นสัญลักษณ์ทีม่ ี ตวั อักษรเขียนไว้ด้านบนเส้นอา้ งองิ ดังแสดงในรปู ท่ี 5.6 รปู ที่ 5.6 การระบุสญั ลกั ษณ์การตรวจสอบด้านตรงข้ามกับลกู ศรช้ี 3. การตรวจสอบที่กระทาเหมือนกันบนดา้ นท้งั สอง (Both Side) ของชิน้ ตรวจสอบจะเป็นสัญลักษณ์ทม่ี ี ตวั อกั ษรเขยี นไว้เหมือนเดมิ อยูด่ ้านบนและลา่ งของเสน้ อา้ งองิ ดงั แสดงในรปู ท่ี 5.7 รปู ท่ี 5.7 การระบสุ ญั ลักษณ์การตรวจสอบบนดา้ นทงั้ สอง 4. การตรวจสอบท่ไี ม่ได้กาหนดด้านของหัวลกู ศร (No Arrow or Other Side) ซึ่งเมอ่ื สญั ลกั ษณก์ าร ตรวจสอบแบบไมท่ าลายจะทาการกาหนด ดังแสดงในรปู ที่ 5.8 รปู ที่ 5.8 การระบุสญั ลกั ษณก์ ารตรวจสอบไมได้กาหนดด้านของหวั ลูกศร 5.2.4 วิธีการระบขุ อบเขตการตรวจสอบ การระบุขอบเขตการตรวจสอบน้ี ต้องมมี าตรฐานการวัดคา่ ความกวา้ งความยาวของค่าขนาด ที่วัดคา่ ได้ โดยระบเุ ป็นหน่วยวัดเปน็ มลิ ลเิ มตรหรือนิ้วลงในแบบใหช้ ัดเจน 1. การระบุความยาวการตรวจสอบ

150 (1) การตรวจสอบชน้ิ สว่ นหรือแนวเชื่อมท่ตี ้องวดั ค่าดว้ ยความยาว ต้องพิจารณาการกาหนดสัญลกั ษณ์พ้ืนฐาน ท่ถี กู ตอ้ ง ดังแสดงในรูปท่ี 5.9 รปู ที่ 5.9 การระบคุ วามยาวการตรวจสอบในสญั ลักษณ์ (2) การตรวจสอบชนิ้ ส่วนหรอื แนวเช่ือมที่ต้องการตาแหน่งและความยาวจริง สาหรับงานทีม่ คี วามยาว และ ตอ้ งการตรวจสอบเปน็ เพยี งบางส่วน ดงั แสดงในรปู ที่ 5.10 รูปท่ี 5.10 การกาหนดและความยาวขึน้ งานตรวจสอบบางสว่ น (3) การตรวจสอบชน้ิ สว่ นหรอื แนวเช่อื มที่ความยาวตา่ กว่า 100% ตอ้ งระบวุ ิธีการตรวจสอบใหค้ ิดเป็น เปอร์เซ็นต์ของความยาวทงั้ หมด ดงั แสดงในรปู ท่ี 5.11 รูปท่ี 5.1 1 การกาหนดความยาวทตี่ รวจสอบคิดเปน็ เปอรเ์ ซน็ ต์ 2. การระบจุ านวนครง้ั การตรวจสอบ การตรวจสอบช้ินส่วนหรือแนวเช่อื ม ซึ่งสามารถทาการระบจุ านวนครง้ั การตรวจสอบทาได้ โดยกาหนดตัวเลขลงในช่องวงเลบ็ ด้านล่างหรือด้านบนสญั ลักษณ์ ดังแสดงในรูปท่ี 5.12 รปู ที่ 5.12 การระบจุ านวนครัง้ การตรวจสอบลงในสญั ลกั ษณ์ 3. การระบกุ ารตรวจสอบโดยรอบของรอยเช่ือม การตรวจสอบช้นิ ส่วนหรือแนวเชื่อม ซึ่งสามารถทาการระบใุ หม้ กี ารตรวจสอบโดยรอบ ของรอยเชือ่ ม ซึง่ การเขยี นวงกลมล้อมรอบจุดหักที่เสน้ อ้างอิง ดังแสดงในรปู ท่ี 5.13

151 รปู ที่ 5.13 การระบกุ ารตรวจสอบโดยรอบรอยเชื่อมลงในสัญลกั ษณ์ 5.2.5 ตัวอยา่ งการอ่านสญั ลักษณก์ ารตรวจสอบ การอ่านสญั ลกั ษณ์การตรวจสอบงานเช่อื ม จากที่ผทู้ ีม่ สี ว่ นเก่ียวข้องในการออกแบบงานท่ี สรา้ งขน้ึ จะต้องศกึ ษาทาความเขา้ ใจใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานท่ีระบุไวใ้ ห้เปน็ ไปตามทิศทางเดียวกัน ดงั น้นั หนว่ ยเรียนนจี้ ะยกตวั อย่างเพื่อความแม่นยาในการระบุและการอ่านสญั ลกั ษณก์ ารตรวจสอบงานเชื่อม แบบไม่ทาลายสภาพ มีดังต่อไปนี้ 1. รูปและสัญลักษณก์ ารตรวจสอบแบบ Visual Test รูปท่ี 5.14 สัญลักษณ์การตรวจสอบแบบ Visual Test จากรูปที่ 5.14 อ่านสัญลักษณ์การตรวจสอบ คอื วธิ ีการตรวจสอบ : ใช้การตรวจสอบแบบ Visual Test ตาแหนง่ ระบุ : ด้านหวั ลูกศร (Arrow Side) 2. รปู และสัญลักษณก์ ารตรวจสอบแบบ Magnetic Particle Test รปู ที่ 5.15 สัญลกั ษณ์การตรวจสอบแบบ Magnetic Particle Test จากรูปที่ 5.15 อ่านสญั ลกั ษณก์ ารตรวจสอบ คือ วิธกี ารตรวจสอบ : ใชก้ ารตรวจสอบแบบ Magnetic Particle Test ตาแหน่งระบุ : ด้านตรงขา้ มหวั ลกู ศร (Other Side) 3. รูปและสัญลักษณก์ ารตรวจสอบแบบ Visual Test และ Dye Penetrant Test

152 รูปท่ี 5.16 สญั ลักษณ์การตรวจสอบแบบ Visual Test และ Dye Penetrant Test จากรปู ท่ี 5.16 อ่านสญั ลกั ษณ์การตรวจสอบ คอื วธิ กี ารตรวจสอบ : ใช้การตรวจสอบแบบ Visual Test และ Dye Penetrant Test ตาแหน่งระบุ : กาหนดอ้างอิง 50-C ทิศทางไม่ระบุของดา้ นการตรวจสอบ (No Side Significance) 4. รปู และสัญลกั ษณ์การตรวจสอบแบบ Penetrant Test และ Ultrasonic Test รูปท่ี 5.17 สญั ลักษณก์ ารตรวจสอบแบบ Penetrant Test และ Ultrasonic Test จากรปู ที่ 5.17 อ่านสัญลักษณ์การตรวจสอบ คอื วิธีการตรวจสอบ : ใช้การตรวจสอบแบบ Penetrant Test ด้านตรงข้ามหวั ลูกศรและ Ultrasonic Test ดา้ น หวั ลูกศร ตาแหน่งระบุ : การตรวจสอบท้ัง 2 วิธี กระทาชว่ งระยะ 50% ของความยาวรอยเชอ่ื มท้ังหมด โดยการตรวจสอบแบบ Penetrant Test ให้ตรวจสอบจานวน 4 ครง้ั สว่ นการตรวจสอบ แบบ UItrasonic Test ใหต้ รวจสอบจานวน 2 ครั้ง 5. รปู และสัญลกั ษณ์การตรวจสอบแบบ Penetrant Test รูปที่ 5.18 สญั ลกั ษณ์การตรวจสอบแบบ Penetrant Test จากรปู ท่ี 5.18 อ่านสัญลักษณก์ ารตรวจสอบ คอื วธิ ีการตรวจสอบ : ตรวจสอบ Penetrant Test ท้ังสองด้านหวั ลกู ศร ตาแหนง่ ระบุ : ทาการตรวจสอบทัง้ 2 ด้าน กระทาชวงระยะความยาวรอยเช่ือม 5 นิว้ เวน้ ระยะ15 น้ิว โดยจานวนครงั้ ใหต้ รวจสอบ 2 ครง้ั

153 5.2.6 ตัวอยา่ งใบตรวจสอบงานเชื่อมดว้ ยวธิ พี นิ จิ เพือ่ เปน็ แนวทางในการตรวจสอบงานเชอ่ื มด้วยวธิ ีพนิ ิจ (V/T) มีตวั อย่างแบบฟอรม์ ท่ใี ช้สาหรบั การตรวจสอบงานเชื่อมโครงสรา้ งเหลก็ รูปพรรณด้วยวธิ ีพินิจ ดงั แสดงตารางที่ 5.1 ตารางที่ 5.1 ตวั อย่างแบบการตรวจสอบงานเชือ่ มด้วยวิธพี นิ ิจ จุดบกพรอ่ งในงานเชื่อมอาร์กโลหะแกส๊ คลุม กระบวนการเชอื่ มอาร์กโลหะแกส๊ คลมุ จะพิจารณาขอ้ บกพรอ่ ง ในสงิ่ ท่ีไมพ่ ึงปรารถนาในแนวเช่อื ม ซึ่งอาจทาให้เกิดการไม่ยอมรับหรือการเช่อื มซอ่ ม ในท่นี ีจ้ ะขีถ้ งึ ผู้รบั ผิดชอบของจุดบกพรอ่ งแต่ละชนิด เช่น จดุ บกพร่องท่ีเกดิ จากการเชือ่ ม เกิดจากปัญหาของเทคนิควิธเี ชอื่ ม ความผดิ พลาดจากการออกแบบเนื่องจาก แบบผิดพลาดจากการออกแบบ ความผิดพลาดจากกระบวนการผลติ ซึ่งจุดบกพร่องในงานเชื่อมอาร์กโลหะ แกส๊ คลุม สามารถแบง่ ได้จานวน 4 กลมุ่ มีดงั ต่อไปน้ี 5.3.1 จดุ บกพร่องของการเปล่ียนรปู ทรงช้นิ งาน จุดบกพร่องชนดิ นจ้ี ะเกดิ จากชิน้ งานเชือ่ มสามารถแบ่งได้ตามลักษณะ ดงั ตอ่ ไปนี้

154 1. การหดตวั ตามทศิ ทางของการเชอ่ื ม จุดบกพรอ่ งชนิดนี้ เปน็ การเกิดท่รี อยตอ่ งานเชือ่ ม ทยี่ ังไมไ่ ด้เชือ่ ม จะเกดิ การบีบตัวหรอื แคบลงตามความก้าวหน้าของงานเชอ่ื มในการปฏิบัติงานเช่ือม เม่อื ทาการเช่ือมวสั ดทุ ่ีใชก้ ารเช่อื มแบบการอาร์ก การหดตัวจะเกดิ ขึ้นทาใหช้ อ่ งวา่ งรอยตอ่ ติดกันทาใหเ้ กดิ การ หลอมลึกไม่ดี รปู ท่ี 5.19 ลกั ษณะการหดตัวตามทิศทางของการเชื่อม 2. การบดิ งอทเ่ี กิดจากการโก่งงอ จดุ บกพร่องชนิดน้ี เกิดจากการใช้วัสดบุ างมากไป จงึ เปน็ จดุ สาคญั ของ การเปลี่ยนรปู ทรงทีเ่ กิดจากการโก่งงอ เมอ่ื เช่อื มโลหะบางโครงสร้างนาความแตกต่างของทศิ ทางการกระจาย ความรอ้ น ขณะเดียวกนั จะเกดิ ความเคน้ คงเหลือทาใหเ้ กิดอัตราความเคน้ มาก รูปท่ี 5.20 ลักษณะการบดิ งอท่เี กิดจากการโกง่ งอ 3. การโก่งงอของงานเชอื่ ม งานเช่อื มทีพ่ บจุดบกพร้องชนิดนี้ สว่ นมากจะเกดิ กับขึ้นรานท่มี คี วามหนาตา่ กว่า 12 มิลลิเมตร ซึง่ เป็นการเชอ่ื มรอยตอ่ ตัวทีและรอยตอ่ ชน จุดบกพร่องนเี้ กดิ จากแรหดตัวมารวมอยู่ตรง กลางสว่ นของรอยต่อ ทาให้ชิ้นงานมีการเปลยี่ นรูปและเกดิ ตามทศิ ทารส่วนสงู วัสดุ ทาให้ชิน้ งานโก่งงอ รปู ที่ 5.21 ลักษณะการโกง่ งอของงานเชอ่ื ม 4. การหดตัวตามยาวของแนวเช่ือม จดุ บกพรอ่ งชนดิ น้ี จะเกิดตามทิศทางชนานกบั แนวเซอี ม ลักษณะเหมอื นกบั การหดตัวตามแนวขวาง จงึ ไมม่ ีความแตกต่างกัน เม่ือเปรียบเทยี บกบั การหดตวั ตามขวาง ทิศทางของการเกิดการหดตัวไมเ่ หมอื นกนั เทา่ นั้น

155 รูปท่ี 5.22 ลักษณะการหดตวั ตามยาวของแนวเชื่อม 5. การหดตวั ตามขวางของแนวเชอื่ ม จุดบกพรอ่ งชนิดนี้ เป็นการหดตวั ทเ่ี กดิ จากทิศทางมุมฉากกบั แนว เช่ือม เมื่อวสั ดุชิ้นงานได้ทาการเชอื่ มชนิดรอยต่อชนจะเกิดการหดตัวตามขวางของแนวเชื่อมไดง้ า่ ย ช่วงของ การเช่อื มชนิดรอยตอ่ ชนจะมอี ิทธพิ ลตอ่ ปรมิ าณการเกดิ การหดตวั ไดม้ าก สาเหตเุ กดิ จากการเตรยี มมมุ บาก รอยต่อใหญม่ าก เลอื กใช้ลวดเช่ือมไม่เหมาะสม และความเรว็ การเช่อื มช้าทาใหป้ ริมาณความรอ้ นชิ้นงานสงู รปู ท่ี 5.23 ลักษณะการหดตวั ตามขวางของแนวเชื่อม 6. การบิดตวั เชงิ มมุ จดุ บกพรอ่ งชนิดนี้ เกิดจากการเชือ่ มท่มี ปี ริมาณความร้อนสงู จนถงึ จดุ หลอมละลายของลวดเชอ่ื มและขึ้นงานเชือ่ ม จึงทาใหช้ นั้ งานขยายตวั และหดตัวขณะทาการเช่อื มและหลัง ทาการเช่ือม ทาใหเ้ กดิ ความเคน้ สงู ไมว่ า่ ชิน้ งานเช่ือมจะเย็นตัวก็จะมคี วามเคน้ บางสว่ นตกค้างอย่ใู นแนวเชือ่ ม ซ่ึงความเค้นตกค้างสว่ นน้ีสง่ ผลให้เกิดการบดิ ตวั เชิงมุม (ก) งานเช่ือมตอ่ ชน (ข) งานเชื่อมตอ่ ตัวที รปู ที่ 5.24 ลักษณะการบิดตัวเชงิ มุม 5.3.2 จุดบกพรอ่ งจากการแตกร้าว ปกติแนวเชื่อมสามารถตา้ นทานการแดกรา้ วชว่ งเวลาขณะเชอื่ มได้ จะขึน้ อย่กู ับสว่ นผสมและ โครงสร้างแนวเชอื่ ม แตห่ ากต้องเช่ือมทับกันหลายชนั้ แนวเช่อื มช้นั แรกมีโอกาสเกดิ การแตกรา้ วได้ ถา้ ไม่แกไ้ ข ก่อนเช่ือมแนวเชอ่ื มช้ันต่อไป รอยแตกร้าวเดิมจะขยายไปยังรอยเช่อื มบริเวณที่เช่อื มข้อนภายหลงั ได้ และ จดุ บกพรอ่ งจากการแตกร้าวแบ่งได้ 3 ชนดิ มดี งั ต่อไปนี้ 1. รอยรา้ วตามยาวแนวเช่ือม (Longitudinal Weld Crack) รอยรา้ วชนดิ นี้ โดยปกติจะ เกิดข้ึนภายในแนวเชอ่ื ม ที่บริเวณตรงกลางแนวเช่ือม ซ่งึ อาจตอ่ เนอื่ งจากรอยรา้ วทีบ่ ริเวณปลายของแนวเชอื่ ม

156 หรอื อาจจะมาจากการร้าวแนวเช่ือมชั้นแรกก็เปน็ ได้ ควรทาการแก้ไขกอ่ นทาการเชื่อมแนวเชือ่ มชน้ั ตอ่ ไป รอยรา้ วตามแนวยาว รูปท่ี 5.25 ลักษณะรอยร้าวตามยาวแนวเช่อื ม 2. รอยร้าวตามขวางแนวเชื่อม (Transverse Weld Crack) รอยร้าวชนิดนี้ เป็นรอยร้าว ท่ตี ง้ั ฉากกับแนวแกนของแนวเช่ือม และอาจจะกินลกี เข้าไปถงึ โลหะชิน้ งาน สามารถที่จะเกิดขึน้ ภายใน แนวเชอ่ื ม หรอื แตกรา้ วออกมาถึงโลหะชน้ิ งาน รอยรา้ วตามแนวขวาง รปู ที่ 5.26 ลักษณะรอยร้าวตามขวางแนวเช่ือม 3. รอยรา้ วทีป่ ลายของแนวเช่ือม (Crater Cracks) รอยรา้ วชนดิ น้ี เป็นรอยรา้ วเกิดขนึ้ บริเวณปลายของแนว เชือ่ ม ส่วนมากเกดิ ขนึ้ จากชว่ งเวลาหยุดการเชอ่ื มบอ่ ยครัง้ ซึง่ รอยแตกร้าวชนิดนีจ้ ะมีลกั ษณะคล้ายกับ ดาวกระจาย ซ่ึงรอยร้าวนีจ้ ะแผข่ ยายไปบรเิ วณขอบของปลายแนวเชอ่ื ม หรอื บริเวณ บ่อหลอมละลายส้ินสุดแนวเชอื่ ม รปู ที่ 5.27 ลักษณะรอยรา้ วทปี่ ลายของแนวเชือ่ ม 5.3.3 จดุ บกพรอ่ งบนผวิ แนวเชอ่ื ม จากกระบวนการเชอ่ื มอาร์กโลหะแก๊สคลมุ มีจดุ บกพรอ่ งคล้ายกบั บางกระบวนเชอื่ มทเี่ กิดจาก การอารก์ ดว้ ยแรงดนั ไฟฟา้ และจุดบกพร่องบนผิวแนวเชอ่ื มแบง่ ได้ 4 ชนิด มดี ังต่อไปนี้ 1. แนวเชอื่ มนูน (Excessive Convexity) จดุ บกพรอ่ งชนดิ น้ี มีลักษณะหนา้ ตัดแนวเชื่อมนนู สูงเกนิ ไป ซง่ึ จะกอ่ ใหเ้ กิด Notch Effects ของแนวเช่ือมซ้อนแนว และจะเกดิ จดุ บกพรอ่ งชนดิ อนื่ ตามมาดว้ ย

157 วิธีการป้องกันทาไดโ้ ดยใช้เทคนิคการเช่อื มให้เหมาะสม เช่น ความเร็วการเชอ่ื มช้าลง มุมหวั เชอื่ ม และลวดเชอ่ื มเตมิ ถกู ตอ้ ง ขนาดลวดเชอื่ มเตมิ เหมาะสมกับความหนาช้นิ งาน เป็นตันแนวเชื่อมนูน (ก) งานเชื่อมต่อชน (ข) งานเชือ่ มตอ่ ตวั ที รปู ที่ 5.28 ลกั ษณะจดุ บกพร่องชนดิ แนวเชื่อมนนู 2. แนวเชือ่ มเว้า (Concave) จุดบกพรอ่ งชนิดน้ี มีลักษณะหนา้ ตัดแนวเชือ่ มโค้งเวา้ เข้ามาก เกดิ จากการเตรยี มงานตอ่ ชนของช่องวา่ ง (Root) และแนวเชอ่ื มตอ่ ฉาก ในแบบงานทไ่ี ม่สามารถระบวุ ่าเป็น ข้อบกพรอ่ งให้เรียกวา่ Concave Fillet Welds ซึง่ ขนาดของแนวเช่อื มต่อฉากหาไดจ้ ากระยะคอแนวเช่อื ม ไม่สามารถหาระยะขาของแนวเช่อื มได้ เนอื่ งจากแนวเชื่อมมลี กั ษณะโคง้ เวา้ ซึ่งไมใชข่ นาดที่แทจ้ ริงของแนว เช่ือม และทาให้แนวเชือ่ มมีความแขง็ แรงน้อยลง วธิ ีการปอ้ งกนั ทาได้โดยเตรยี มงานมมี มุ รวมนอ้ ย ใชเ้ ทคนิคการสา่ ยหวั เช่อื ม และความเร็ว การเช่ือมเหมาะสม ถา้ แนวแรกโค้งเว้าควรเจียระนใหเ้ ปน็ รอ่ งแล้วทาการเช่อื มเตมิ ใหเ้ ต็มแนวเช่อื มเวา้ (ก) งานเชอื่ มตอ่ ชน (ข) งานเช่ือมต่อตัวที รปู ท่ี 5.29 ลักษณะจดุ บกพร่องชนิดแนวเชอ่ื มเวา้ 3. รอยกดั ลึก (Undercut) จดุ บกพรอ่ งชนิดน้ี เป็นจุดบกพร่องมลี กั ษณะขอบรอยเช่ือมแหว่งหายไป ซง่ึ ลักษณะนีม้ สี าเหตุจากงานเชอ่ื มไมเ่ หมาะสม เชน่ การใช้กระแสไฟเชอ่ื มมาก ระยะอารก์ หา่ ง ถ้าเกดิ รอยกดั ลึก มากเกนิ ไปความแข็งแรงของแนวเช่ือมจะลดลง วิธกี ารปอ้ งกันทาได้โดยวธิ แี รกลดกระแสไฟเช่ือม ลดความเร็วการเชอ่ื ม ลดขนาดของลวดเช่ือม เปลี่ยนมุมหวั เช่ือมทาให้ควบคุมนา้ โลหะท่ีขอบขึ้นงานรอบกัดลกึ (ก) งานเชื่อมตอ่ ชน (ข) งานเชื่อมตอ่ ตวั ที รูปที่ 5.30 ลักษณะจุดบกพรอ่ งชนดิ รอยกดั ลกึ

158 4. รอยเกย (Overlap) จดุ บกพร่องชนิดน้ี เปน็ จดุ บกพรอ่ งมลี ักษณะสภาพแนวเชอื่ มมขี อบดา้ นขา้ งเกย ลน้ จากแนวหลอมละลายของแนวเชอ่ื มปกติ ทาใหม้ ีลกั ษณะคล้ายรอยบากบริเวณขอบแนวเชอื่ มทาใหเ้ ปน็ จุด รวมความเค้นช่วงของการรับแรง กรณีแนวเชือ่ มต่อฉากจะทาให้แนวเชือ่ มมขี นาดคอแนวเชอื่ มรอยเกย ตามปกติจะไมห่ ลอมละลายตดิ กบั เนือ้ งาน จะเกิดมาจากสาเหตอุ นื่ ซึ่งมวี ิธกี าร แกไ้ ขการเกดิ รอยเกยของแนวเชื่อม เช่น ใช้เทคนิคการเช่ือมให้เหมาะสม ปรบั กระแสไฟเชอ่ื ม พรอ้ มท้ังปรับอัตราป้อนลวดเชื่อมให้สอดคล้อง และทาความสะอาดรอยต่อก่อนทาการเชอื่ มทกุ คร้ัง (ก) งานเช่อื มตอ่ ชน (ข) งานเช่อื มต่อตัวที รปู ท่ี 5.31 ลักษณะจดุ บกพร่องชนิดรอยเกย 5.3.4 จดุ บกพร่องภายในแนวเชอ่ื ม ในกระบวนการเชอ่ื มอารก์ โลหะแกส๊ คลุม จะมีจุดบกพร่องภายในแนวเชือ่ มทจี่ ะสง่ ผลต่อโครงสร้าง แนวเชื่อมเป็นอยา่ งยิ่ง โดยจดุ บกพร่องภายในแนวเชอ่ื ม มีดังต่อไปนี้ 1. รพู รนุ ในแนวเชอ่ื ม (Porosity) จดุ บกพร่องชนิดนี้มีลักษณะเป็นจุดตามด เปน็ ขอ้ บกพร่อง ที่เกดิ จากสนิม ฝนุ่ ละออง และความชนื้ ทีเ่ กาะอยู่ตามผวิ ของโลหะงานหรือเกิดจากลวดเชื่อมเติมและแกส๊ ปกคลมุ หรืออาจเกิดจากอปุ กรณ์การเชือ่ ม เชน่ ระบบระบายความรอ้ นและลกู กลิ้งในระบบขบั ดนั จุดตามด จะมลี กั ษณะเป็นโพรงแกส๊ ทรงกลม ซึ่งมีความแตกตา่ งจากสแลกฝังในแนวเช่ือม วธิ ีการป้องกนั ทาไดโ้ ดยเลือกใชว้ สั ดุทส่ี ะอาด และอปุ กรณท์ อ่ี ยู่ในสภาพดี ไม่ควรใช้กระแส ไฟเชื่อมมาก ปรับระยะการอารก์ ใหถ้ กู ตอ้ ง ใชช้ นิดแกส๊ ปกคลมุ ให้ถูกต้องกบั วัสดุเชอื่ มรูพรุน รปู ท่ี 5.32 ลักษณะรูพรุนในแนวเช่อื ม 2. สแลกฝังในแนวเชอื่ ม (Slag Inclusion) จุดบกพร่องชนิดนี้ มีลกั ษณะที่เกิดจากลวดเช่อื มไส้ฟลกั ซ์ หลอมละลายเป็นสแลกฝังในระหวา่ งการอาร์ก ซงึ่ จะเกดิ ขน้ึ ในงานเชือ่ ม Flux core wire หรือกระบวนการ เชอื่ มชนิดท่ีใช้สารพอกหุ้มร่วมในงานเช่ือม หรือเกิดจากการรวมตวั สารท่ีไม่ใชโลหะฝงั ท่รี อยเช่ือม วิธกี ารปอ้ งกนั ทาได้โดย ใช้แกส๊ ปกคลมุ ที่ถกู ตอ้ งกบั โลหะงานเชื่อม ปรับอัตราการไหลของ แก๊สปกคลุม ทาความสะอาดรอยต่องานเช่ือม และปรบั ชนดิ การถา่ ยโอนน้าโลหะใหเ้ หมาะสม รูปท่ี 5.33 ลักษณะสแลกฝงั ในแนวเชอื่ ม

159 3. การหลอมละลายไม่สมบรู ณ์ (Incomplete Fusion) จุดบกพรอ่ งชนดิ นี้ เปน็ ลักษณะการหลอม ละลายไม่ติด หรือเรยี กว่า การซึมลกึ ซึ่งเกิดข้นึ จากแนวเช่ือมแต่ละช้ันมีการหลอมละลายไมส่ มบูรณ์หรือการ อาร์กของลวดเชอ่ื มหลอมติดกับเนโ้ื ลหะงานไมด่ ี โดยอาจจะเกดิ ข้นึ ที่บรเิ วณใดกไ็ ด้ในรอ่ งของแนวเชอ่ื ม วิธกี ารปอ้ งกันทาไดโ้ ดยเพ่มิ กระแสไฟเช่อื มมากขน้ึ และใช้เทคนิคการเชื่อมแบบไม่ส่าย หวั เช่ือม ทาความสะอาดขอบรอยต่อช้นิ งาน และการเตรียมช่องรอยต่อใหม้ ขี นาดนอ้ ยลง รปู ท่ี 5.34 ลักษณะการหลอมละลายไม่สมบูรณ์ (ที่มา : https://www.facebook.com/lertvilai/photos/pcb.) 4. การหลอมละลายลกึ ไม่สมบูรณ์ (Inadequate Joint Penetration) จุดบกพร่องชนิดน้ี เป็นลักษณะ การหลอมลกึ ของแนวเชื่อมไมส่ มบูรณ์ที่เกดิ บริเวณกนั รอยเชือ่ มจากความร้อนการอาร์กสูงไม่ถึงจุดหลอม ละลาย การหลอมละลายลึกนอ้ ยเป็นอันตรายกบั งานท่ีต้องรบั แรงดงี หรอื ตอ้ งทนต่อแรงดดั งอจะมคี วามเคน้ ที่ ชิ้นงานทาให้เกิดการฉกี ขาดของแนวเชื่อมได้ วธิ กี ารป้องกนั รอยเชอื่ มซมึ ลกึ ไม่สมบูรณ์ ทาได้โดยใชก้ ระแสไฟเชื่อมสงู ข้ึนหรือลดความเร็ว ในการเช่ือม เตรยี มชอ่ งว่างระหว่างชิ้นงานใหม้ ากขน้ึ และลดขนาดของสวดเชอื่ มเติมเลก็ ลง รปู ที่ 5.35 ลกั ษณะการหลอมละลายลกึ ไม่สมบูรณ์ (ท่ีมา : https://www.facebook.com/lertvilai/photos/pcb.) จดุ บกพร่องในงานเชอื่ มอารก์ โลหะแก๊สคลุม จะมอี งคป์ ระกอบมากกว่าทไ่ี ด้กล่าวมา โดย ผูป้ ฏิบัติงานเชื่อมต้องศกึ ษาค้นควา้ เพิ่มเตมิ เน่ืองจากองค์ประกอบ และเทคโนโลยีในการเชือ่ มมีการพัฒนา ข้นึ อย่างตอ่ เน่ือง ดงั นนั้ จะมีจดุ บกพรอ่ งานเช่ือมอารก์ โลหะแก๊สคลุมเพิม่ เติมตลอดเวลา 5.4 ขอ้ แนะนาในงานเชอ่ื มอารก์ โลหะแก๊สคลมุ กระบวนการเชือ่ มอาร์กโลหะแกส๊ คลุม สาหรบั ผู้ศึกษาหรอื ผปู้ ฏบิ ตั งิ านเช่อื มใหม่ จาเปน็ ตอ้ งทราบ ถึงข้อแนะนาในงานเชื่อมอารก์ โลทะแก๊สคลมุ ศึกษาภาคทฤษฎีใหเ้ ขา้ ใจ เพอื่ เปน็ แนวทางก่อนทาการเช่อื ม ซง่ึ มี ขอ้ แนะนาจากผู้ทีไ่ ดป้ ฏบิ ตั ิมาก่อนสามารถสรปุ พอเปน็ พน้ื ฐาน มดี งั ต่อไปนี้

160 1. ในกระบวนการเช่อื มอารก์ โลหะแก๊สคลุม เปน็ งานเชื่อมท่ีง่ายกวา่ งานเชอ่ื มอาร์กดว้ ยลวดเชอื่ ม หุม้ ฟลกั ซ์ แตม่ ีระบบการควบคุมแบบอตั นมตั ิ จาเป็นต้องศกึ ษาเคร่อื งมือและอุปกรณก์ ่อน เม่ือเกดิ ความ ชานาญก็สามารถพฒั นาทกั ษะหรือเทคนิคในการเช่อื มได้มากข้ึนตามลาดับ 2. ชนิดการส่งถา่ ยนา้ โลหะแบบละออง (Spray Arc Transfer) เป็นการส่งถ่ายทม่ี ลี กั ษณะหยดนา้ เล็กๆ จานวนมากพน่ เขา้ สูบ่ อ่ หลอมละลายบนรอยตอ่ ช้นิ งาน เหมาะกบั เช่ือมเหล็กกล้าคาร์บอนขนาดหนา 3. ชนิดการสง่ ถ่ายน้าโลหะแบบลดั วงจร (Short Circuit Transfer) เป็นการส่งถา่ ยทม่ี ีลักษณะ หยดนา้ ขนาดใหญพ่ ่นเข้าสู่บอ่ หลอมละลายบนรอยตอ่ ช้ินงาน เหมาะกับเชอื่ มเหล็กกล้าคารบ์ อนขนาดบาง 4. ชนดิ ของกระแสไฟเชือ่ มกลบั ข้วั (DCEP) ในกระบวนการเช่ือมอารก์ โลหะแก๊สคลุมเป็นทน่ี ิยมใช้ และมีประสทิ ธภิ าพสงู 5. กระบวนการเช่ือมอารก์ โลหะแก๊สคลมุ ใชเ้ ครื่องเชอ่ื มชนดิ แรงดันคงท่ี โดยมีสมบตั ิระหวา่ งโวลต์- แอมแปร์ที่เหมาะสม ส่งผลใหป้ ระสิทธิภาพในแนวเชื่อมมีสงู ขึ้น 6. การเลือกใช้ชนิดของหวั เชอื่ มอารก์ โลหะแก๊สคลุม กระแสไฟเชอื่ มไมเ่ กนิ 200 แอมแปร์ ควรใช้ หวั เช่ือมชนิดระบายความร้อนดว้ ยอากาศ มากกว่า 200 แอมแปร์ ใช้ชนิดระบายความรอ้ นด้วยน้า 7. การเชือ่ มเหล็กกล้าคาร์บอนหรอื เหลก็ เหนยี ว มักนยิ มใชแ้ ก๊สคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ป็นแกส๊ ปก คลมุ แนวเช่ือม เพราะใหป้ ระสิทธิภาพดีและมีราคาถูก 8. การเชอื่ มอารก์ โลหะแก๊สคลุมจะใชแ้ ก๊สอาร์กอน หรอื แก๊สอาร์กอนผสมออกชเิ จน มกั นามาเป็น แกส๊ ปกคลมุ แนวเชือ่ มกลมุ่ เหล็กกลา้ ไรส้ นิม และอะลมู ิเนียม 9. การเลอื กใช้ลวดเชอื่ มไม่ว่าจะเปน็ งานเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลมุ และงานเชือ่ ม Flux core wire ควรทาการตรวจสอบก่อนทาการเชื่อมให้ถกู ต้องตามชนดิ ของรอยตอ่ ในงานเชอื่ มทีก่ าหนด 10. การปรบั อตั ราการไหลของแก๊สปกคลมุ ปกตใิ ช้อตั ราไหลแกส๊ ปกคลมุ ระหว่าง 10-15 ลิตรตอ่ นาทีแตข่ ้ึนอยูก่ บั ชนาดของลวดเช่อื มที่ใช้ การส่งถ่ายน้าโลทะ และขนาดความหนาของวสั ดุเชอื่ ม 1 1. การปรบั ระยะการอาร์กเพ่อื ใหแ้ นวเชือ่ มมีประสทิ ธิภาพตามสมบตั ิงานเชื่อม ควรมีระยะ ระหว่างหัวฉดี แกส๊ ปกคลุมไม่ห่างมากเกนิ ไป 12. ควรทาการตรวจสอบระบบชดุ ควบคมุ ปอ้ นลวด (Wire feeder) เชน่ ชุดลกู กลิ้งใหเ้ หมาะสม กบั ขนาดลวดเชือ่ ม ท่อนากระแสให้ทาการตรวจสอบว่าขนาดความโตของรูทอ่ นากระแสเทา่ กับความโตของ ลวดเช่ือมทีใ่ ช้หรือไม่ และขณะใชง้ านควรตรวจสอบรเู กิดสึกหรอไปมากใหท้ าการเปลย่ี นทนั ที

161 แบบฝกึ เสริมทักษะหนว่ ยการเรยี นที่ 5 รหัสวชิ า 20103-2002 ชอ่ื วิชาเชื่อมอารก์ ด้วยลวดเช่อื มหุม้ ฟลกั ซ์ 2 หน่วยท่ี 5 ช่อื หนว่ ย ขอ้ บกพรอ่ งในงานเช่ือมอาร์กด้วยลวดเช่อื มหมุ้ ฟลกั ซ์ ชอื่ เรือ่ ง ขอ้ บกพรอ่ งในงานเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชอื่ มหุ้มฟลักซ์ จานวน 12 ช่วั โมง แบบทดสอบ คาสั่ง จงเลอื กคาตอบที่ถกู ตอ้ งที่สดุ เพียงคาตอบเดยี ว 1. ข้อใดเป็นจดุ ประสงค์การตรวจสอบดว้ ยการพินจิ ได้ถูกต้อง ก. ลดต้นทุนการผลติ โดยการตรวจสอบคุณภาพ เพอื่ ทาใหง้ านเสยี หายนอ้ ยลง ข. ลดตันทนุ ด้านเวลาโดยการตรวจสอบคุณภาพ เพอ่ื ลดเวลาในการเชอื่ มน้อยลง ค. เปน็ การประเมนิ คณุ ภาพของผู้ผลิตสง่ ผลใหง้ านเชอื่ มว่ามีคณุ ภาพระดับใด ง. เป็นการประเมนิ คุณภาพของผู้ออกแบบของงานเชือ่ มว่ามคี ุณภาพระดบั ใด 2. ข้อใดไมใ่ ช่เคร่ืองมอื และอปุ กรณ์การตรวจสอบดว้ ยการพนิ จิ ก. ไฟฉาย ข. ดนิ สอสี ค. กล้องบอรส์ โคป ง. เวอรเ์ นยี รค์ าลิเปอร์ 3. ขอ้ ใดเป็นขนั้ ตอนบอกระบุระยะสายตาและระดบั แสงในการตรวจสอบไดถ้ ูกต้อง ก. ระยะสายตา 200 มิลลิเมตร และระดบั แสง 250 ลักซ์ ข. ระยะสายตา 200 มิลลเิ มตร และระดบั แสง 500 ลกั ซ์ ค. ระยะสายตา 300 มลิ ลิเมตร และระดับแสง 250 ลักซ์ ง. ระยะสายตา 300 มิลลิเมตร และระดบั แสง 500 ลกั ซ์ 4. ข้อใดเปน็ การระบุตาแหน่งการตรวจสอบไดถ้ ูกต้อง ก. การระบคุ วามยาวการตรวจสอบ ข. การตรวจสอบด้านบนทล่ี กู ศรช้ี ค. การระบุจานวนครง้ั การตรวจสอบ ง. การระบกุ ารตรวจสอบโดยรอบของรอยเช่ือม 5. ขอ้ ใดเปน็ วธิ กี ารระบขุ อบเขตการตรวจสอบในขน้ั ตอนการตรวจสอบด้วยการพนิ จิ ไดถ้ กู ตอ้ ง ก. การตรวจสอบด้านบนท่ีลกู ศรช้ี ข. การตรวจสอบด้านตรงขา้ มลกู ศรช้ี ค. การระบุการตรวจสอบโดยรอบของรอยเช่ือม ง. การตรวจสอบเหมอื นกนั บนด้านทั้งสอง 6. ขอ้ ใดอา่ นสญั ลกั ษณ์การตรวจสอบจากรูปท่ีกาหนดถูกตอ้ ง ก. การตรวงสอบด้วยวิธีพินิจเพียงดา้ นเดียว ข. การตรวงสอบด้วยวธิ พี ินจิ ทง้ั สองดา้ น ค. การตรวจสอบดว้ ยน้ายาทดสอบเพียงดา้ นเดียว

162 ง. การตรวจสอบดว้ ยน้ายาทดสอบท้ังสองด้าน 7. ข้อใดบอกจานวนกลุ่มจดุ บกพรอ่ งในงานเช่ือมอารก์ โลหะแก็สคลุมถกู ต้อง ก. จานวน 2 กลุม่ ข. จานวน 3 กล่มุ ค. จานวน 4 กล่มุ ง. จานวน 5 กลมุ่ 8. ข้อใดเป็นจดุ บกพร่องของการเปลย่ี นรูปทรงขึ้นงาน ก. การบิดงอทีเ่ กิดจากการโก่งงอ ข. แนวเชอ่ื มนูน ค. สแลกฝังในแนวเช่อื ม ง. รอยร้าวตามขวางแนวเชอื่ ม 9. ข้อใดเปน็ จดุ บกพรอ่ งของการเปลย่ี นรปู ทรงช้นิ งานจากรปู ท่ีกาหนดถกู ต้อง ก. การโก่งงอของงานเชอ่ื ม ข. การหดตัวตามทศิ ทางของการเชื่อม ค. การหดตวั ตามยาวของแนวเชือ่ ม ง. การหดตัวตามขวางของแนวเชื่อม 10. ข้อใดไมใ่ ช่ข้อแนะนาในงานเช่อื มอาร์กโลหะแก๊สคลุม ก. เลือกลวดเช่ือมเติมชนดิ เปลือย ใชก้ ระแสไฟเช่ือมกระแสสลบั ข. เลือกลวดเชื่อมเติมชนดิ เปลือย ใชก้ ระแสไฟเชื่อมกระแสตรงขั้วตรง ค. ชนิดการส่งถา่ ยนา้ โลหะแบบสัดวงจร ใช้เช่ือมเหลก็ กลา้ คารบ์ อนขนาดบาง ง. ชนิดการส่งถา่ ยน้าโลทะแบบละออง ใชเ้ ชื่อมเหล็กกล้าคารบ์ อนขนาดหนา

ใบงานที่ 6 163 ช่อื รายวชิ า เช่ือมอารก์ ดว้ ยลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์ 2 สอนครั้งที่ 9 ชือ่ งาน : งานเช่ือมซึมลกึ ต่อชนบากร่องวตี าแหน่งท่า 2G (PB) รหัส 20103-2002 เวลา 6 ชั่วโมง แบบงาน วสั ดุ ขนาด จานวน / ชนิ้ เหลก็ St 37 200 X 10 X 10 มม. 2 ชน้ิ ลวดเชอ่ื มไฟฟา้ Ø 2.6 มม. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ 1 เตรียมเครื่องมอื และอุปกรณ์เชื่อมไฟฟา้ ได้ถูกต้อง 1. เครอื่ งเช่อื มไฟฟ้าAC หรือ DC 2 ปรบั กระแสเชือ่ มไฟฟา้ ได้ถกู ต้อง 3 เชื่อมเรม่ิ ตน้ อาร์คลงบนชนิ้ งานได้ถกู ตอ้ ง 2. หน้ากากเชื่อมชนิดสวมหวั 4 เคาะสแลกและทาความสะอาดชิ้นงานไดถ้ ูกตอ้ ง 5 ตรวจสอบความถกู ตอ้ งได้ 3. ค้อนเคาะสแลก 6 เก็บเครอ่ื งมือได้ 7 ทาความสะอาดได้ 4. คีมจับชน้ิ งานรอ้ น 8 ปฏิบตั งิ านเรม่ิ ต้นอาร์ค (เชือ่ มจุด)ได้ 9 นาประโยชนจ์ ากการศกึ ษาไปประยุกต์ใช้ในงาน 5. แปรงลวด 6. ตะไบแบน อาชพี ได้ 7. บรรทดั เหล็ก 8. ถุงมอื หนัง 9. เส้ือหนัง 10. แว่นตานิรภัย 11. เหล็กขีด 12.เคร่อื งเจยี ระไนมอื

164 ใบงาน (Job Sheet) หน่วยที่ 5 ชอื่ หน่วย สอนคร้งั ที่ 9 งานเชื่อมซึมลกึ ต่อชนบากร่องวีตาแหน่งทา่ 2G (PB) ชั่วโมงรวม 6 ลาดบั ข้นั การทางาน จานวนชัว่ โมง 6 1. เบิกเครือ่ งมอื และชุดอุปกรณป์ อ้ งกัน อนั ตราย ไดแ้ ก่ เครื่องมอื วัสดุ และอปุ กรณ์ การเชอ่ื ม 2. สวมชดุ ป้องกันอันตราย ขอ้ ควรระวัง ขณะปฏบิ ัติงานเชอ่ื มตอ้ งสวมอปุ กรณ์ป้องกัน อนั ตรายสว่ นบคุ คล และใช้เครือ่ งมือและอปุ กรณ์ ให้ถูกตอ้ ง จะทาให้การปฏบิ ตั งิ านเกดิ ความ ปลอดภัย 3. การเตรยี มขน้ึ งาน 3.1 ตดั ชนิ้ งาน แผน่ เหล็กกล้าคารบ์ อน ST 34 ขนาด 100 x 200 X 10 มม. จานวน 2 ชิน้ ตัด ด้วยเครือ่ งตดั แกส๊ 3.2 บากมุมชน้ิ งานดว้ ยเครื่องตัดแกส๊ แบบอตั โนมตั ิ โดยปรบั หัวตัดทามมุ 30 องศา ข้อควรระวงั ใช้เคร่อื งตดั แก๊สด้วยความระมดั ระวงั

165 ใบงาน (Job Sheet) หน่วยท่ี 5 ช่ือหนว่ ย สอนครง้ั ท่ี 9 งานเชือ่ มซมึ ลกึ ตอ่ ชนบากรอ่ งวีตาแหนง่ ทา่ 2G (PB) ช่วั โมงรวม 6 ลาดับข้นั การทางาน จานวนชวั่ โมง 6 4. การเตรยี มชืน้ งานก่อนเชอื่ มยึด (Tack) 4.1 เจียระไนปรับผิวหน้าชน้ิ งานบรเิ วณรอยตดั แกส๊ ข้อควรระวัง ใช้หนิ เจียระไนด้วยความระมัดระวงั 4.2 ตะไบปรบั มุมผวิ หนา้ งานใหไ้ ด้มุม 30 องศา พรอ้ ม ตะไบปรับความหนาของ (Root Face) 1.0-1.5 มม. และ ตะไบเกบ็ รายละเอียดบริเวณขอบของข้ึนงาน 4.3 เจียระไนเปิดผิวงานบริเวณขอบชิน้ งาน ด้านหน้าและดา้ นหลงั ข้อควรระวัง เจียระไนจากขอบช้นิ งานขา้ งละไมเ่ กนิ 1 เซนตเิ มตร

166 ใบงาน (Job Sheet) หนว่ ยท่ี 5 ช่ือหนว่ ย สอนครง้ั ที่ 9 งานเชือ่ มซึมลกึ ตอ่ ชนบากรอ่ งวีตาแหน่งท่า 2G (PB) ชว่ั โมงรวม 6 จานวนช่ัวโมง 6 ลาดบั ข้นั การทางาน 5. เตรยี มเครือ่ งเชอ่ื ม 5.1 เปดิ สวิตซเ์ ครือ่ งเชอื่ มใหพ้ ร้อม ใช้งาน 5.2 ปรบั กระแสไฟเชอ่ื มเหมาะสมกับความหนา ของข้นึ งาน และลวดเชื่อม 6. การจบั ยึดชนิ้ งาน 6.1 นาชนิ้ งานทีท่ าความสะอาดพรอ้ มทาการเชื่อม จานวน 2 ช้ิน วางลงบนเหลก็ รางตัววที เ่ี ตรยี มไว้ ตามแนวขวาง 6.2 ทาการเชือ่ มยึด (Tack) โดย เวน้ ระยะหา่ งระหว่างช้ินงานท่ี 1 และ 2 ใหม้ คี วามห่าง 3 มม. ทาการเชือ่ มยดึ จานวน 2 จดุ บรเิ วณปลายชนิ้ งานทง้ั 2 ด้าน

167 ใบงาน (Job Sheet) หนว่ ยท่ี 5 ชื่อหน่วย สอนคร้งั ท่ี 9 งานเช่ือมซมึ ลึกตอ่ ชนบากร่องวีตาแหนง่ ท่า 2G (PB) ชั่วโมงรวม 6 ลาดบั ข้นั การทางาน จานวนชว่ั โมง 6 6.3 สรา้ งระยะเผื่อของขึน้ งาน เมอื่ เชือ่ มยึดเสรจ็ นาชนิ้ งานทาระยะเผอ่ื ประมาณ 2-3 องศา เพ่อื ป้องกันการบิด งอเชงิ มมุ (Distortion) ของช้ิน งาน 7. ติดตง้ั ขึ้นงาน 7.1 วางช้ินงานใหอ้ ยู่ในตาแหน่งการเชือ่ มทา่ ระดับ 2G ตามแนวขวาง ทาการตรวจสอบชน้ิ งานว่า มั่นคงหรอื ไม่ 8. เช่ือมแนวฐานรากหลอมลกึ (Root Pass) 8.1 เริ่มต้นอาร์กจากขอบชน้ิ งาน โดยเทคนิคการสายลวดเชอ่ื ม 8.2 ทาการเชื่อมแนวฐานรากท่าระดับ 2G โดยทา มมุ ลวดเชอ่ื มกบั แนวเช่ือม 80-85 องศา (ดูจาก ตา้ นข้าง)

168 ใบงาน (Job Sheet) หน่วยท่ี 5 ช่ือหนว่ ย สอนคร้ังท่ี 9 งานเชอ่ื มซึมลกึ ต่อชนบากรอ่ งวตี าแหนง่ ทา่ 2G (PB) ชัว่ โมงรวม 6 จานวนชวั่ โมง 6 ลาดบั ข้นั การทางาน 8.3 ทาการเช่อื มแนวฐานรากทา่ ระดับ 2G โดยทา มุมลวดเชือ่ มกบั ชิ้นงาน 90 องศา (ดจู ากตา้ นหนา้ ) 8.4 ควบคุมการหลอมลกึ ของแนวเช่ือมฐานรากใน ตาแหนง่ เชือ่ มท่าระดบั 2G โดยใช้วิธกี ารสร้างคี โฮล (KeyHold) ด้วยการสายลวดเชือ่ มเลก็ นอ้ ย ข้อควรระวัง สร้างดโี ฮลให้มีขนาดเทา่ กันตลอดแนวเช่อื ม 9. การเช่ือมแนวเตมิ (Hot Pass) 9.1 เติมแนวเช่ือมทบั หนา้ ของแนวเชอ่ื มท่ี 1 หรอื แนวเชอ่ื มตอ่ จากแนวฐานราก ขอ้ ควรระวัง ทาความสะอาดแนวฐานรากก่อนทาการเช่อื มแนว ตอ่ ไปทุกครั้ง 9.2 ควบคมุ ความกวา้ งของแนวเช่ือม โดยการสา่ ย ลวดเชือ่ ม และการเคลอ่ื นท่ลี วดเชอ่ื มโดยรักษา ความเรว็ และระยะอารก์ ใหส้ ม่าเสมอ 9.3 ทาการเชอื่ มแนวเติมทา่ ระดบั 2G โดยทามุม ลวดเช่อื มกบั แนวเชือ่ ม 10-15 องศา (ดูจาก ดา้ นข้าง)

169 ใบงาน (Job Sheet) หนว่ ยท่ี 5 ช่ือหนว่ ย สอนครัง้ ท่ี 9 งานเชอ่ื มซมึ ลึกต่อชนบากรอ่ งวตี าแหนง่ ท่า 2G (PB) ชั่วโมงรวม 6 จานวนชัว่ โมง 6 ลาดบั ข้นั การทางาน 9.4 เช่อื มแนวเตมิ ท่าระดับ 2G มุมลวดเชอ่ื มกับ ช้ินงาน 80-85 องศา (ดูจากดา้ นหน้า) 10. การเชอื่ มแนวปกคลมุ (Cover Pass) 10.1 ทาการเชือ่ มแนวเชือ่ มปกคลุมแนวเชอื่ ม สุดท้าย ข้อควรระวัง ทาความสะอาดแนวเตมิ ก่อนทาการเช่อื มแนว ต่อไปทกุ ครง้ั 10.2 ควบคมุ ความกว้างของแนวเชอื่ มปกคลุม โดยการเชือ่ มซ้อนแนว และการเคล่ือนที่ลวดเชอ่ื ม โดยรักษาความเรว็ และระยะอาร์กใหส้ มา่ เสมอ โดยใช้การส่ายลวด 11. การปฏบิ ัตงิ านหลังทาการเชอื่ มเสร็จ 11.1 นาชิ้นงานทาการเชื่อมเสร็จมาทาความ สะอาดด้วยแปรงลวดและรอให้ชิ้นงานเยน็ ตัว ประมาณ 10 นาที นาช้นิ งานไปทาการตรวจสอบ งานเชือ่ มดว้ ยการพินจิ (Visual Testing) เบ้ืองตน้ ก่อนนาข้ึนงานเช่อื มสง่ ให้แกค่ รูผูต้ รวจตอ่ ไป

170 ใบงาน (Job Sheet) หนว่ ยท่ี 5 ชื่อหนว่ ย สอนคร้ังท่ี 9 งานเชื่อมซมึ ลึกต่อชนบากรอ่ งวตี าแหน่งท่า 2G (PB) ชัว่ โมงรวม 6 ลาดับข้นั การทางาน จานวนช่ัวโมง 6 11.2 ทาการ ปิดสวติ ช์เคร่อื ง เกบ็ ชุดป้องกัน อันตรายในการปฏิบตั ิงานเชอ่ื ม เคร่อื งมอื วัสดุ อปุ กรณ์ ท่ีใช้ในการปฏบิ ัติงาน สง่ คนื ท่หี อ้ ง เครื่องมอื และทาความสะอาดบริเวณพืน้ ท่ี ปฏบิ ัติงานเชือ่ ม ข้อควรระวัง 1. จุดส้ินสุดแนวเชือ่ มบริเวณขอบช้นิ งานและบรเิ วณขอบแนวเชอื่ มจะเกดิ การกดั แหวง่ 2. แนวหลอมลึก (Root Pass) อาจเกิดความไม่สมบูรณ์ จากการควบคุมระยะอารก์ ไม่สมา่ เสมอขณะ ปฏิบัติงานเชื่อมตอ้ งสวมอปุ กรณป์ ้องกนั อันตรายส่วนบคุ คล และใช้เครอื่ งมือและอปุ กรณ์ให้ถกู ตอ้ ง จะทาให้การ ปฏบิ ัติงานเกดิ ความปลอดภยั ขอ้ เสนอแนะ 1. เตรยี มชน้ิ งานใหถ้ ูกต้องตามขอ้ กาหนด 2. ปรับกระแลไฟฟา้ ใหถ้ กู ตอ้ ง ใหเ้ หมะสม

ใบงานที่ 7 171 ช่ือรายวิชา เช่ือมอาร์กดว้ ยลวดเชื่อมหุ้มฟลกั ซ์ 2 สอนครง้ั ที่ 10 ชือ่ งาน : งานเช่ือมอารก์ ดว้ ยลวดเช่ือมหุ้มฟลกั ซ์ ต่อชนตาแหนง่ ท่า 3G (PF) รหสั 20103-2002 เวลา 6 ช่ัวโมง แบบงาน วสั ดุ ขนาด จานวน / ชนิ้ เหล็ก St 37 200 X 10 X 10 มม. 2 ช้นิ ลวดเชือ่ มไฟฟา้ Ø 2.6 มม. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ 1 เตรยี มเครอื่ งมอื และอุปกรณเ์ ชอื่ มไฟฟ้าไดถ้ ูกต้อง 1. เครอื่ งเช่ือมไฟฟ้าAC หรอื DC 2. หนา้ กากเชอ่ื มชนดิ สวมหัว 2 ปรบั ขนาดกระแสเช่อื มไฟเชื่อมไดถ้ กู ตอ้ ง 3 เช่อื มเรม่ิ ตน้ อารค์ ลงบนชิน้ งาน ควบคุมระยะอาร์ก 3. คอ้ นเคาะสแลก 4. คีมจับช้ินงานร้อน และความโตแนวไดถ้ ูกตอ้ ง 5. แปรงลวด 6. ตะไบแบน 4 เคาะสแลกและทาความสะอาดชิน้ งานไดถ้ กู ต้อง 5 ตรวจสอบความถกู ต้องได้ 7. บรรทดั เหลก็ 8. ถุงมือหนงั 6 เก็บเครอ่ื งมือได้ 7 ทาความสะอาดได้ 9. เส้ือหนัง 10. แวน่ ตานริ ภยั 11. เหลก็ ขีด 12.เครอ่ื งเจยี ระไนมอื 8 ปฏิบัตงิ านเดินแนวตาแหน่งท่าเชอื่ ม 2G ไม่บากหน้า ชน้ิ งานได้ 9 นาประโยชนจ์ ากการศึกษาไปประยกุ ตใ์ ช้ในงาน อาชีพได้

172 ใบงาน (Job Sheet) หน่วยที่ 5 ช่ือหน่วย สอนครั้งท่ี 10 งานเชอ่ื มอาร์กดว้ ยลวดเช่ือมหมุ้ ฟลักซ์ ต่อชนตาแหนง่ ทา่ 3G (PF) ชวั่ โมงรวม 6 ลาดบั ข้นั การทางาน จานวนช่ัวโมง 6 1. เบกิ เครื่องมอื และชุดอุปกรณ์ป้องกัน อันตราย ไดแ้ ก่ เครือ่ งมือ วสั ดุ และอปุ กรณ์ การเชื่อม 2. สวมชุดปอ้ งกนั อันตราย ขอ้ ควรระวงั ขณะปฏบิ ตั งิ านเชื่อมตอ้ งสวมอปุ กรณ์ปอ้ งกัน อนั ตรายส่วนบุคคล และใชเ้ คร่อื งมอื และอปุ กรณ์ ให้ถูกต้อง จะทาให้การปฏบิ ัติงานเกิดความ ปลอดภัย 3. การเตรียมขน้ึ งาน 3.1 ตัดชิน้ งาน แผ่นเหลก็ กล้าคาร์บอน ST 34 ขนาด 100 x 200 X 10 มม. จานวน 2 ชิ้น ตัด ดว้ ยเคร่อื งตดั แก๊ส ข้อควรระวงั

173 ใบงาน (Job Sheet) หนว่ ยที่ 5 ช่อื หนว่ ย สอนครง้ั ที่ 10 งานเชื่อมอาร์กดว้ ยลวดเช่อื มหุ้มฟลักซ์ ต่อชนตาแหนง่ ท่า 3G (PF) ช่วั โมงรวม 6 ลาดับข้นั การทางาน จานวนช่วั โมง 6 4. การเตรียมชน้ื งานกอ่ นเชอ่ื มยดึ (Tack) 4.1 เจยี ระไนลบคมช้ินงาน และเปดิ ผวิ บรเิ วณขอบ ช้นิ งานด้านทท่ี าการเชื่อม ขอ้ ควรระวงั ใช้หินเจยี ระไนด้วยความระมัดระวัง 4.2 ใช้ตะไบเก็บรายละเอียดบรเิ วณขอบของขน้ึ งาน 5. เตรยี มเครอื่ งเช่อื ม 5.1 เปดิ สวติ ซ์เคร่ืองเชื่อมใหพ้ รอ้ ม ใชง้ าน 5.2 ปรบั กระแสไฟเชื่อมเหมาะสมกบั ความหนา ของขนึ้ งาน และลวดเช่ือม

174 ใบงาน (Job Sheet) หน่วยที่ 5 ชอื่ หนว่ ย สอนครง้ั ที่ 10 งานเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุม้ ฟลักซ์ ตอ่ ชนตาแหน่งทา่ 3G (PF) ชวั่ โมงรวม 6 จานวนชวั่ โมง 6 ลาดับข้นั การทางาน 6. การจับยึดชิ้นงาน 6.1 นาชิน้ งานท่ีทาความสะอาดพร้อมทาการเชือ่ ม จานวน 2 ช้ิน วางลงบนเหล็กรางตวั วีท่เี ตรียมไว้ ตามแนวขวาง 6.2 ทาการเชือ่ มยึด (Tack) โดย เวน้ ระยะห่างระหวา่ งชนิ้ งานท่ี 1 และ 2 ให้มคี วามห่าง 2 มม. ทาการเชอ่ื มยึด จานวน 2 จดุ บริเวณปลายช้ินงานท้งั 2 ดา้ น 6.3 สรา้ งระยะเผ่ือของขน้ึ งาน เมือ่ เชือ่ มยึดเสรจ็ นาชน้ิ งานทาระยะเผื่อประมาณ 2-3 องศา เพอ่ื ปอ้ งกนั การบดิ งอเชงิ มมุ (Distortion) ของชิ้น งาน 7. ตดิ ตง้ั ข้นึ งาน 7.1 จบั ยึดช้นิ งานใหอ้ ยู่ในตาแหน่งการเช่ือมท่า ระดับ 3G ตามแนวขวาง โดยใชอ้ ุปกรณจ์ ับยุด ชิ้นงานบรเิ วณมมุ บนดา้ นซา้ ยของช้ินงาน และทา การตรวจสอบชิน้ งานว่ามน่ั คงหรือไม่ กอ่ นทาการ เชื่อมชนิ้ งานตอ้ งไม่ขยับ

ใบงาน (Job Sheet) 175 ชือ่ หน่วย งานเชอ่ื มอารก์ ด้วยลวดเชอ่ื มหุม้ ฟลักซ์ ต่อชนตาแหนง่ ท่า 3G (PF) หน่วยที่ 5 สอนครง้ั ที่ 10 ลาดับข้นั การทางาน ชัว่ โมงรวม 6 จานวนช่วั โมง 6 8. การเช่อื ม 8.1 ทาการเช่ือมท่าตง้ั เช่ือมขน้ึ 3G โดยให้มมุ ลวด เชือ่ มทามมุ กับแนวเชอื่ มประมาณ 10-15 องศา 8.2 ให้มมุ ลวดเช่ือมทามุมกบั ขอบชิน้ งานประมาณ 90 องศา 8.3 ทาการควบคุมความกว้างของแนวเชือ่ มให้คงที่ ควรควบคมุ ระยะอาร์คและความเรว็ ในการเดนิ ลวด เช่ือมให้สมา่ เสมอตลอดแนวเชื่อม ควรสา่ ยลวดเชอ่ื มใหม้ ีความถอ่ี ยา่ งคงท่ี และเม่ือถึง จุดส้นิ สดุ ของแนวเชือ่ มให้เติมเต็มบอ่ หลอมละลาย ปลายแนวเชื่อมใหส้ มบูรณ์

176 ใบงาน (Job Sheet) หน่วยที่ 5 ช่อื หนว่ ย สอนครัง้ ที่ 10 งานเช่อื มอารก์ ดว้ ยลวดเช่ือมหุ้มฟลักซ์ ตอ่ ชนตาแหนง่ ทา่ 3G (PF) ชวั่ โมงรวม 6 ลาดับข้นั การทางาน จานวนช่วั โมง 6 9. เม่อื การเชื่อมเสร็จเรียบรอ้ ยแลว้ ให้ นร.ปิด สวติ ซ์เครอ่ื ง เก็บชุดอปุ กรณใ์ นการปฏบิ ัตงิ านท่ีใช้ นาส่งคนื หอ้ งเคร่ืองมอื และทาความสะอาดบริเวณ พ้ืนท่ี ปฏบิ ตั งิ านใหเ้ รยี บร้อย

177 แบบประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน ใบงานท่ี 6-7 ช่อื ผ้ปู ฏิบัตงิ าน.............................. ..........................สกลุ .....................................................เลขที่....................... ระดับชนั้ ชช.2 . ผลการประเมิน รายการ 432 1 ด้านความพร้อมการเตรยี มชิ้นงาน 1. ลบคมขอบช้นิ งานดว้ ยตะไบ 2. ความสมบูรณ์ของรอยเชอ่ื มร่อง (Groove welds) 3. การเชื่อมยึด (Tack) ชิ้นงาน ด้านทกั ษะงานเช่อื มตรวจสอบดว้ ยการพินจิ 1.แนวเชื่อมแนวหลอมลกึ (Root Pass) 1.1 การหลอมละลายสมบูรณ์ของแนวหลอมลกึ 1.2 ความสูงของแนวหลอมลึก 1.3 การยุบเว้าของแนวหลอมลกี 2. แนวเช่ือมด้านหนา้ (Groove Face) 2.1 ความสมบูรณ์ของจุดเริม่ ต้นและจุดสนิ้ สุด 2.2 ความกว้างของแนวเชือ่ มสม่าเสมอ 2.3 ความสงู ของแนวเชอื่ ม 2.4 รอยกดั แหวง่ (Undercut) 2.5 รพู รนุ (Porosity) s=ความหนาชิ้นงาน 10 มม. 2.6 รอยตอ่ แนวเชอื่ ม 2.7 การหดตวั เชิงมมุ (Distortion) 2.8 แนวเช่อื มเตมิ ไมเ่ ต็มร่องบาก 2.9 ต่อคอมงานเล้ยี ง (h)=ความสูง (t)= ความหนา ของชน้ิ งาน กิจนิสยั 1. ความปลอดภยั ในการปฏบิ ัตงิ าน 2. การใชแ้ ละการเกบ็ เคร่อื งมืออุปกรณ์ อย่างถกู วิธี 3. ความสะอาดของชิ้นงานทพี่ ร้อมสง่ เวลาทใ่ี ช้ปฏิบัตงิ าน 1. ปฏบิ ตั งิ านได้ตามเวลาทก่ี าหนด รวม

178 การคดิ คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนทไ่ี ด้ = คะแนน สรุป คะแนนรวมที่ได้ ..............คะแนน * จะผา่ นเกณฑต์ ้องปรบั ปรงุ งานหรือทาใบงานซ้า  ดมี าก (10 คะแนน)  ดี (9 คะแนน)  พอใช้ (8 คะแนน)  ปรับปรุง* (7) เกณฑก์ ารผ่านการประเมิน จะตอ้ งไดค้ ะแนนมากกวา่ 7 คะแนน ผลการตดั สนิ  ผ่านการประเมิน  ไม่ผ่านการประเมิน บันทกึ เพ่มิ เตมิ ............................................................................................................................. .......................................................................... ........................................................................................... ลงชอ่ื ..................................................ผู้ประเมิน (...............................................)

179 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนจากการตรวจสอบดว้ ยการพินิจ (Visual Testing) รหัสวิชา 20103-2002 ชื่อวชิ าเช่ือมอารก์ ด้วยลวดเชอื่ มหมุ้ ฟลักซ์ 2 หนว่ ยท่ี 5 ชอ่ื หนว่ ย ข้อบกพร่องในงานเชอ่ื มอารก์ ดว้ ยลวดเชือ่ มหุ้มฟลักซ์ ใบงานที่ 6-7 งานเชอื่ มซมึ ลึกตอ่ ชนบากร่องวีตาแหน่งทา่ 2G (PB) 1. ดา้ นความพร้อมการเตรียมขน้ึ งาน 1.1. ลูบคมขอบชนิ้ งานด้วยตะไบ 1) ลบคมขอบชน้ิ งานได้อยา่ งสมบรู ณ์ให้ 4 คะแนน 2) ลบคมชอบชนิ้ งานไม่สมบูรณ์มรี อยตาหนิไมเ่ กนิ 2 จุดให้ 3 คะแนน 3) ลบคมชอบชิน้ งานไม่สมบูรณ์มรี อยตาหนมิ ากกวา่ 2 จุดไม่เกิน 4 จดุ ให้ 2 คะแนน 4) ลบคมขอบชิ้นงานไมส่ มบูรณ์มตี าหนิมากกวา่ 5 จุดข้นึ ไปให้ 1 คะแนน 1.2 ความสมบรู ณข์ องรอยเชอ่ื มรอ่ ง (Groove welds) ประกอบด้วย 1.Root Opening 2.Root Face 3.Groove Face 4. Bevel Angle 5. Groove Angle 1) เตรียมรอยเช่อื มร่อง ไดอ้ ยา่ งสมบูรณใ์ ห้ 4 คะแนน 2) รอยเช่อื มร่อง ไม่สมบูรณม์ รี อยตาหนไิ มเ่ กนิ 2 จุดให้ 3 คะแนน 3) รอยเช่อื มรอ่ ง ไม่สมบรู ณ์มรี อยตาหนมิ ากกว่า 2 จดุ ไมเ่ กิน 4 จดุ ให้ 2 คะแนน 4) รอยเชือ่ มร่อง ไม่สมบูรณ์มีตาหนิมากกว่า 5 จุดข้นึ ไปให้ 1 คะแนน 1.3 การเชือ่ มยดึ (Tack) ชน้ิ งาน 1) เชอ่ื มยดึ ชน้ิ งานไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ให้ 4 คะแนน 2) เชอื่ มยดึ ชน้ิ งานส้ันกว่า 10 มม.และยาวกวา่ 15 มม. ให้ 3 คะแนน 3) เชื่อมยดึ ขนึ้ งาน ไมส่ มบูรณ์ ให้ 2 คะแนน 4) เชือ่ มยึดชนิ้ งานไม่สมบรู ณ์ ไม่เว้นชอ่ งรอยต่อชนิ้ งานเชือ่ ม 1 คะแนน 2. ดา้ นทกั ษะงานเชือ่ มตรวจสอบดว้ ยการพินิจ 2.1. แนวเช่ือมแนวหลอมลกึ (Root Pass) 2.1.1 การหลอมละลายสมบรู ณ์ของแนวหลอมลกึ 1) หล่อมละลายสมบูรณ์ตลอดท้ังแนวให้ 4 คะแนน 2) ไม่หลอมละลายมีความยาวตง้ั แต่ 0.5 - 1.5 มม. ให้ 3 คะแนน 3) ไมห่ ลอมละลายมีความยาวมากกวา่ 1.5 - 2.5 มม. ให้ 2 คะแนน 4) ไมห่ ลอมละลายความยาวมากกวา่ 2.5 มม. ให้ 1 คะแนน 2.1.2 ความสงู ของแนวหลอมลกึ 1) แนวหลอมสึกมคี วามสงู ต้ังแต่ 0.0 - 1.5 มม. ให้ 4 คะแนน 2) แนวหลอมลึกมคี วามสูงมากกว่า 1.5 - 2.5 มม. ให้ 3 คะแนน 3) แนวหลอมลกึ มีความสงู มากกวา่ 2.5 - 3.5 มม. ให้ 2 คะแนน 4) แนวหลอมลึกมีความสูงมากกวา่ 3.5 มม. ขน้ึ ไปให้ 1 คะแนน 2.1.3 การยุบเวา้ ของแนวหลอมลึก 1) แนวหลอมลึกสมบูรณไ์ มม่ ีการยุบตัวให้ 4 คะแนน 2) แนวหลอมสึกมรี อยยบุ ลึกต้ังแต่ 0.5 มม. แต่ไม่เกิน 1.0 มม. ให้ 3 คะแนน

180 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนจากการตรวจสอบดว้ ยการพนิ จิ (Visual Testing) รหสั วิชา 20103-2002 ชือ่ วิชาเช่ือมอาร์กดว้ ยลวดเชอ่ื มหมุ้ ฟลกั ซ์ 2 หน่วยท่ี 5 ช่อื หนว่ ย ขอ้ บกพร่องในงานเชือ่ มอารก์ ดว้ ยลวดเชอื่ มหุ้มฟลักซ์ ใบงานท่ี 6-7 งานเชอ่ื มซึมลกึ ตอ่ ชนบากร่องวีตาแหนง่ ทา่ 2G (PB) 3) แนวหลอมลกึ มีรอยยบุ ลกึ มากกวา่ 1.0 มม.แตไ่ ม่เกิน 1.5 มม. ให้ 2 คะแนน 4) แนวหลอมสึกมีรอยยุบลกึ มากกว่า 1.5 มม. ขนึ้ ไปให้ ให้ 1 คะแนน 2.2. แนวเชอื่ มต้านหนา้ (Groove Face) 2.1.1 ความสมบรู ณข์ องจดุ เรม่ิ ตน้ และจุดส้ินสุด 1) ไมม่ ขี ้อบกพร่องให้ 4 คะแนน 2) พบจุดบกพรอ่ ง 1 จุดให้ 3 คะแนน 3) พบจุตบกพร่อง 2 จุดให้ 2 คะแนน 4) พบจุดบกพรอ่ งมากกว่า 2 จุดให้ 1 คะแนน 2.1.2 ความกว้างของแนวเช่อื มสมา่ เสมอ 1) ขนาดของแนวเชอ่ื มกวา้ ง 15,16,17 มม. ให้ 4 คะแนน 2) ขนาดของแนวเช่ือมกวา้ ง 14,18 มม. ให้ 3 คะแนน 3) ขนาดของแนวเช่ือมกว้าง 13,19 มม. ให้ 2 คะแนน 4) ขนาดของแนวเช่ือมกว้าง 12,20 มม. ให้ 1 คะแนน 2.1.3 ความสูงของแนวเช่ือม 1) ความสูงของแนวเชื่อม 1.0 มม. แตไ่ ม่เกิน 2.5 มม. ให้ 4 คะแนน 2) ความสูงของแนวเช่ือมมากกว่า 2.5 มม. แต่ไมเ่ กนิ 3.5 มม. ให้ 3 คะแนน 3) ความสูงของแนวเชื่อมมากกว่า 3.5 มม. แต่ไมเ่ กนิ 4.5 มม. ให้ 2 คะแนน 4) ความสงู ของแนวเชอ่ื มต่ากว่า 1.0 มม. หรอื มากกวา่ 4.5 มม. ให้ 1 คะแนน 2.1.4 รอยกัดแหวง่ (Undercut) 1) ไมม่ ีรอยกดั ขอบแนวเชอ่ื ม ให้ 4 คะแนน 2) มีรอยกัดชอบแนวเชอ่ื มลกึ เกนิ 0.5 มม. แต่ไม่เกนิ 1.0 มม. ให้ 3 คะแนน 3) มีรอยกัดขอบแนวเชอ่ื มลกึ เกิน 1.0 มม. แต่ไม่เกนิ 1.5 มม. ให้ 2 คะแนน 4) มรี อยกตั ขอบแนวเชื่อมลึกเกนิ 1.5 มม. ข้ึนไป ให้ 1 คะแนน 2.1.5 รพู รุน (Porosity)s = ความหนาชิ้นงาน 5 มม. 1) ไม่มีข้อบกพรอ่ งของรพู รุน ให้ 4 คะแนน 2) มขี นาดไม่เกนิ 0.2 s. ให้ 3 คะแนน (ขนาด 1.0 มม.) 3) มีขนาดมากกว่า 0.2 ร. แตไ่ มเ่ กิน 0.3 s. ให้ 2 คะแนน (ขนาดมากกวา่ 1 มม. แตไ่ ม่เกนิ 1.5 มม.) 4) มีขนาดมากกวา่ 0.3 ร. ให้ 1 คะแนน (ขนาดมากกวา่ 1.5 มม.) 2.1.6 รอยตอ่ แนวเช่ือม 1) รอยตอ่ แนวเชอ่ื มสมบูรณ์ให้ 4 คะแนน 2) มีขนาดนูนจุดรอยต่อมากกว่า 2.0 มม. แตไ่ ม่เกนิ 3.0 มม. ให้ 3 คะแนน 3) มีขนาตนนู จดุ รอยตอ่ มากกว่า 3.0 มม. แต่ไม่เกิน 4.0 มม. ให้ 2 คะแนน

181 เกณฑ์การให้คะแนนจากการตรวจสอบด้วยการพนิ จิ (Visual Testing) รหสั วชิ า 20103-2002 ชอ่ื วชิ าเชื่อมอารก์ ด้วยลวดเช่ือมหุม้ ฟลกั ซ์ 2 หนว่ ยท่ี 5 ช่อื หน่วย ข้อบกพรอ่ งในงานเช่อื มอารก์ ด้วยลวดเช่อื มหุ้มฟลกั ซ์ ใบงานท่ี 6-7 งานเชอ่ื มซึมลกึ ต่อชนบากร่องวีตาแหน่งท่า 2G (PB) 4) มีขนาดนูนจดุ รอยตอ่ มากกวา่ 4.0 มม. ให้ 1 คะแนน 2.1.7 การหดตวั เชงิ มมุ (Distortion) 1) ไม่มกี ารหดตัวเชงิ มมุ ให้ 4 คะแนน 2) มกี ารหดตวั เชิงมุมมากกวา่ 5 องศา ไมเ่ กนิ 6 องศา ให้ 3 คะแนน 3) มกี ารหดตัวเชิงมุมมากกวา่ 7 องศา ไมเ่ กนิ 8 องศา ให้ 2 คะแนน 4) มีการหดตัวเชิงมมุ มากกวา่ 8 องศา ให้ 1 คะแนน 2.1.8 แนวเชื่อมเติมไมเ่ ตม็ ร่องบาก (ยกเว้นตาแหน่งรอยต่อ) 1) เติมเตม็ ร่องบากสมบรู ณ์ ให้ 4 คะแนน 2) ลกึ ต่ากวา่ ผวิ งาน 0.5 มม. แต่ไม่เกนิ 1.0 มม. ให้ 3 คะแนน 3) สึกต่ากว่าผวิ งาน 1.0 มม. แต่ไมเ่ กิน 1.5 มม. ให้ 2 คะแนน 4) ลกึ ต่ากวา่ ผวิ งาน 1.5 มม. ขึน้ ไป ให้ 1 คะแนน 2.1.9 ตอ่ คอมงานเยื้อง (h)-ความสงู , t=ความหนายงชิ้นงาน 1) ต่อคอมงานตรงกันสมบูรณ์ไม่เยือ้ งให้ 4 คะแนน 2) เย้ือง (h 0.1 แต่ไม่เกิน 0.2 t ให้ 3 คะแนน (ย้ือง 0.9 มม. แต่ไมเ่ กิน 1.8 มม.) 3) เยอ้ื งมากกวา่ (h) 0.2 t แตไ่ ม่เกนิ 0.3 t ให้ 2 คะแนน (เย้ือง 1.8 มม. แต่ไม่เกิน 2.7 มม.) 4) เยื้องมากกว่า (h) 0.3 t ขึ้นไป ให้ 1 คะแนน (เยอ้ื งมากกว่า 2.7 มม.) 3. ดา้ นความพรอ้ มของการส่งชนิ้ งาน 3.1. ความสะอาดของช้นิ งานทีพ่ ร้อมสง่ 1) ชิ้นงานสมบรู ณไ์ มม่ ีรอยขดี อารก์ สะเก็ดเช่อื ม รอยหินเจยี ระไนผิวหนา้ งานเชือ่ ม 2) ชิน้ งานมรี อยตาหนิอย่างใดอยา่ งหน่งึ 1 จุด ให้ 3 คะแนน 3) ชิ้นงานมรี อยตาหนอิ ย่างใดอย่างหนง่ึ มากกวา่ 2 จุด ไม่เกิน 3 จุด ให้ 2 คะแนน 4) ชิน้ งานมรี อยตาหนมิ ากกว่า 3 จดุ ขน้ึ ไป ให้ 1 คะแนนให้ 4 คะแนน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook