หลักสูตรทอ้ งถ่นิ การจักสาน ผลติ ภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ จดั ทำโดย นางสาวปยิ ะนชุ โพธิสัย รหัสนิสิต 61105010068 นิสิตเอกการประถมศกึ ษาชนั้ ปีท่ี 3 คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ
2 คำนำ สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาบึงกาฬ เขต ๑ มนี โยบายให้นักเรียนทุกคนทีจ่ บ การศึกษาภาคบงั คบั ในเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา ได้เรยี นรู้ภูมิหลัง วิถกี ารดำรงชีวิต เศรษฐกิจ สงั คม ศลิ ปวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละทรพั ยากรของจงั หวัดอุดรธานีเพอ่ื ปลูกฝังให้เยาวชน มีความรัก ความภาคภูมิใจในฐานะพลเมืองจังหวดั บงึ กาฬ เขต ๑ และเปน็ กำลงั สำคัญในการ บำรงุ รกั ษาให้ย่งั ยนื ต่อไป จงึ ไดก้ ำหนดกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน ซ่ึงครอบคลุมเนือ้ หาสาระท่ี นักเรยี นโรงเรียนในสังกดั ควรตระหนกั รู้ ภาคภมู ิใจ หวงแหน และร่วมอนุรกั ษ์ใหค้ งอยู่ในวถิ ี ชีวติ สบื ทอดเป็นมรดกตลอดไปกรอบสาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่นฉบบั น้ี ไดป้ รบั ปรุงข้ึนจากกรอบหลักสตู ร ระดับท้องถ่ิน สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาบึงกาฬ เขต ๑ เพ่ือให้ สถานศกึ ษาระดบั การศึกษาภาค บังคับในส านกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา นำเน้ือหาสาระไปจัดการเรียนการสอนตง้ั แต่ ระดับประถมศกึ ษาตอนปลาย เพอ่ื ให้เหมาะสมกับการเปลย่ี นแปลงของหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาบงึ กาฬ เขต ๑ จงึ ได้ปรบั ปรงุ ขอขอบคณุ ผจู้ ดั ทำ ตลอดท้ังผู้มีสว่ นเก่ยี วข้องท่ไี ดใ้ หข้ อ้ มูลอันเปน็ ประโยชนใ์ นการจดั ทำ เอกสารฉบบั น้ีใหส้ ำเร็จลลุ ว่ งด้วยดี ผจู้ ัดทำ นางสาวปยิ ะนชุ โพธสิ ัย
3 สารบัญ เรือ่ ง หน้า ๑. บทนำ………………………………………………………………………………………….4 ๒. องคป์ ระกอบสำคัญของกรอบสาระการเรียนรู้ทอ้ งถิน่ ………………………6 - เป้าหมาย / จุดเน้น - ตัวช้ีวดั สำคัญ ๓. สาระการเรยี นรู้ท้องถนิ่ ………………………………………………………………...8 - ประวัติความเป็นมาของจงั หวัดบงึ กาฬ - สภาพภมู ิศาสตร์ ๔. แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น……..10 - หลักการ - แนวทางการวัดและประเมินผล ๕. กรอบสาระการเรยี นรูท้ ้องถ่ินทสี่ ำคัญสำหรบั ผู้เรียนควรไดเ้ รียนรู้…………12 ๖. โครงสรา้ งรายวชิ า ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4……………………………………..….13 ๗. โครงสรา้ งรายวชิ า ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5…………………………………….…..14 ๘. โครงสรา้ งรายวิชา ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6…………………………………….…..15 ๙. แหลง่ อา้ งองิ ขอ้ มลู …………………………………………………………………………………………..17
4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาบงึ กาฬ เขต ๑ บทนำ เขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามบี ทบาทสำคัญในการพฒั นาหลกั สตู รในส่วนท่สี อดคลอ้ งกบั สภาพและความต้องการของ ท้องถิน่ ดงั นัน้ สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาจะตอ้ งเป็นตัวกลางในการประสานความร่วมมอื กบั โรงเรียน ชมุ ชน ท้องถิน่ ในการร่วมกนั คดิ และจดั ทำกรอบสาระการเรยี นร้ทู ้องถิ่น เพื่อใหส้ ถานศึกษาภายในเขตพนื้ ที่การศึกษาใช้ เปน็ แนวทางในการจัดการเรยี นการสอนในเรื่องเกย่ี วกับทอ้ งถน่ิ ในแงม่ มุ ต่าง ๆ ทงั้ ในดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม อื่น ๆเพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นได้มโี อกาสเรยี นรเู้ รือ่ งราวของชุมชน ท้องถิ่น ซึง่ เป็นสภาพแวดล้อมในชวี ิตจริงของ ตนเอง ทำใหเ้ กดิ ความรัก ความผูกพนั กับท้องถิ่น มคี วามภาคภูมิใจในบา้ นเกิดเมอื งนอน เป็นสมาชิกทด่ี ีของชมุ ชน ตลอดจนสามารถแกป้ ัญหา พัฒนาชีวติ ตนเอง พัฒนาอาชพี และสงั คมของตนเองได้ สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาบึงกาฬ เขต ๑ ได้จัดทำกรอบสาระการเรียนร้ทู ้องถน่ิ ดังกล่าว โดยมกี ารวางแผนในการจดั ทำเพอื่ ให้เหน็ ภาพตลอดแนวดว้ ยกระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วม เรม่ิ ตั้งแต่แตง่ ตงั้ คณะทำงาน ซ่งึ ไดร้ วบรวมขอ้ มลู เอกสารในการจดั ทำกรอบสาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ และได้เชิญผู้เชี่ยวชาญดา้ นต่าง ๆ รว่ มแสดงความคิดเห็น เพอ่ื นำไปปรับปรงุ กรอบสาระการเรยี นรู้ท้องถ่ินใหม้ ีความเหมาะสมและชดั เจนยง่ิ ขนึ้ การพัฒนาผู้เรยี นใหบ้ รรลุเปาหมายดา้ น ดงั กลา่ วได้นนั้ ตอ้ งอาศยั คุณภาพในการจัดการศกึ ษา ตั้งแตร่ ะดับพื้นนฐานคือระดับประถมศกึ ษา โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการปลูกฝงั กระบวนการคดิ เจตคติทีด่ มี ี ทักษะในการแสวงหาความรู้และทักษะการแกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง สามารถปรบั ตัวใหย้ ืดหย่นุ เหมาะสม กบั สถานการณ์ตลอดจนสามารถรับมอื กบั การเปลี่ยนแปลงตา่ ง ๆ ทอ่ี าจเกิดขึ้นไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ แต่อยา่ งไรก็ตามจากการดาํ เนินงานท่ีผา่ นมาพบว่า การจัดการเรียนการสอนวชิ าสงั คมศกึ ษาไดม้ งุ่ เนน้ การถ่ายทอดเน้อื หาวิชา ไม่เน้นทกั ษะ กระบวนการคิด การพิจารณาไตร่ตรอง การแสวงหาความร้ดู ้วย ตนเองและขาดการบูรณาการเชือ่ มโยงระหว่างภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ินกบั เทคโนโลยที ี่ทันสมยั อย่างไรก็ตาม ครูกําลงั เผชญิ ความทา้ ทายและมักกลา่ วโทษวา่ มีสังคมศึกษามเี น้ือหาที่ตอ้ งเรยี นมากเกนิ ไป การเรยี นรู้ จึงใช้เวลาสว่ นใหญก่ ับการถ่ายทอดความร้แู บบอธิบายและทาํ ใบงาน ไม่มีการใช้ทกั ษะการใช้เหตุผลเชงิ วพิ ากษห์ รือแกป้ ัญหา นักเรยี นขาดโอกาสเรียนรู้เชิงลกึ และเช่อื มโยงหัวขอ้ กับระดับช้นั อ่ืน นอกจากนี้ สังคมศกึ ษายังนาํ วธิ กี ารศึกษาแบบตะวนั ตกมาใชเ้ พ่ือใหเ้ กดิ การบูรณาการโดยนาํ วิชากลมุ่ สงั คมศาสตร์ ท้งั ประวตั ิศาสตร์ภมู ิศาสตรเ์ ศรษฐศาสตร์ศาสนาและหนา้ ทพี่ ลเมอื งรวมเปน็ วิชาเดียวคือสังคมศึกษา ครูสังคมศกึ ษาจึงขาดความรู้ท่ลี ึกในวชิ าเฉพาะ พร้อมไมเ่ ข้าใจลักษณะการบรู ณาการแบบสหวทิ ยาการ ของสังคมศึกษา ทําให้ขาดวธิ คี ดิ แนวทางของวิชา และความลึกซงึ้ มากเพียงใด สิ่งนนี้ าํ ไปสกู่ ารเรยี นรู้ แบบทอ่ งจาํ ในท่ีสดุ (ทวศี ิลป์สบื วฒั นะ. 2554 : คาํ นําผู้เขียน)
5 เพ่อื แก้ปัญหาดังกลา่ วจงึ ตอ้ งมีการปฏิรปู กระบวนการเรยี นรเู้ พื่อใหน้ ักเรยี นเกดิ การเรียนรู้ อย่างแทจ้ ริง โดยใช้กระบวนการเรียนรูท้ หี่ ลากหลายใหสอดคลอ้ งกับรปู แบบการเรียนของนกั เรียนตาม หลกั พหุปญั ญาหรอื ความหลากหลายทางปญั ญา การสอนท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สําคญั เป็นรูปแบบท่สี ่งเสริม ให้นกั เรยี นไดพ้ ัฒนาทุกด้านตามความสามารถ ความตอ้ งการ ความถนัดความสนใจ และศักยภาพของ แต่ละคนที่สร้างความรู้ความเข้าใจด้วยตนเอง โดยการมีส่วนรว่ มด้านกระบวนการคิด และลงมอื ปฏิบตั ิ ตามประสบการณ์จรงิ วธิ กี ารเรยี นรูไ้ มแ่ ยกออกจากวิถชี วี ติ มีความสุขการเรยี นรู้มปี ฏิสมั พนั ธร์ ะหว่าง ผู้เรียนดว้ ยกนั การใช้ส่อื และการค้นคว้าจากแหล่งเรียนรูท้ ี่หลากหลาย ไดท้ ุกสถานการณท์ ้งั นเี้ พ่อื การเรยี นรู้ตลอดชีวิต ท้งั นี้สอดคล้องกับการประกาศใชพ้ ระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาตพิ ุทธศักราช 2542 ทีส่ ่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลาย ๆ ด้านไมว่ ่าจะเปน็ เน้ือหา กระบวนการเรยี นรูก้ ารจัดการ ศึกษาท่เี น้นความสําคัญท้งั ดา้ นความรู้ความคิด ความสามารถ คณุ ธรรมและกระบวนการเรยี นรู้เพ่ือให้ ผู้เรยี นเรียนรจู้ ากประสบการณจ์ รงิ ทาํ ได้คิดเป็น ทาํ เปน็ สามารถจัดการเรยี นร้ใู หเ้ กิดขนึ้ ไดท้ ุกสถานที่ ทกุ เวลา การแก้ปญั หาอย่างเปน็ กระบวนการ และเรยี นรู้อย่างมีความสขุ (กรมวชิ าการ. 2545 : 3) ครู ผูส้ อนต้องต่นื ตวั เปดิ ใจใหก้ ว้าง พัฒนาตนเองให้รเู้ ท่าทนั เหตุการณ์การเปลีย่ นแปลงทีอ่ าจเกดิ ข้นึ การ จดั บทเรยี นตอ้ งคํานึงถงึ ผู้เรียนเปน็ สําคัญ การท่ผี ู้เรียนเปน็ ศูนยก์ ลางจะทาํ ให้เกดิ การเรียนรทู้ ่สี มบูรณ์ โดยครเู ป็นผจู้ ัดการให้เกดิ การเรยี นรูม้ ีการทํากจิ กรรมกลมุ่ การแสดงออกตามความสนใจของผู้เรียน ผู้เรยี นสามารถเชอื่ มโยงการเรยี นรู้ภายใต้สังคมแห่งการเรียนร้เู ปิดโอกาสใหเ้ รียนรแู้ ละพัฒนาศกั ยภาพ ไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี จากความสําคัญดังกลา่ ว สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน และกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถ่นิ เป็นหน่วยงานหลกั ทม่ี หี นา้ ทใี่ นการจดการศกึ ษาภาคบังคับและมีโรงเรยี นในสังกัด ตั้งอยูใ่ นทุกภมู ภิ าคของประเทศ แตล่ ะพ้ืนทม่ี ีความหลากหลายจึงได้สนบั สนนุ ใหม้ กี ารเรยี นรเู้ ก่ียวกับ ท้องถน่ิ โดยจดั ทํานโยบายและจัดทําหลักสตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ไดม้ กี ารกาหนดจดุ มงุ่ ดหมาย หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 ให้ผเู้ รียนเรยี นรู้เกีย่ วกับทอ้ งถน่ิ กาํ หนดคณุ ลักษณะ อันพงึ ประสงค์ใหร้ กั ประเทศชาตริ ักท้องถ่นิ มงุ่ ทําประโยชนแ์ ละสรา้ งสิ่งดีงามให้แก่สงั คม มจี ิตสํานึก ในการอนรุ ักษ์ภาษาไทย ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณีกฬี า ภมู ปิ ัญญาไทย ทรพั ยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (สานํ ักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน. 2549 : 4) อย่างไรกต็ าม เกิดความสับสน ของผปู้ ฏบิ ัติระดบั สถานศกึ ษาในการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา รวมทง้ั ปัญหาคณุ ภาพของผู้เรยี น ทาํ ให้เกิดการปรบั ปรุงเป็นหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ท่ีมีความเหมาะสม ชัดเจน ทงั้ ดา้ นเปา้ หมายของหลักสูตรในการพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน และกระบวนการนําหลักสูตรไปสู่ การปฏิบตั ขิ องสถานศึกษา (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2553 : 1-2) ทัง้ น้ยี งั คงบทบาทของท้องถน่ิ ในการ พัฒนาหลักสูตรใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการของทอ้ งถ่ินดงั เดมิ
6 องคป์ ระกอบสำคัญของกรอบสาระการเรยี นรู้ทอ้ งถนิ่ ๑. เป้าหมาย/จดุ เนน้ ๑.๑ พฒั นาผู้เรียนให้มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกับทอ้ งถน่ิ ของตนในทกุ ๆ ด้าน ๑.๒ พัฒนาผเู้ รยี นให้มคี วามสำนึกทด่ี ี มคี วามรักและหวงแหนท้องถ่นิ ๑.๓ ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นสามารถนำภูมิปญั ญาท้องถิ่นมาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ ๑.๔ พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม ๑.๕ มที กั ษะการดำรงชีวติ อย่ใู นสังคมอยา่ งมีความสขุ ตัวช้ีวัดสำคญั ๑.๑ พัฒนาผู้เรยี นให้มีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั ท้องถิน่ ของตนในทกุ ๆ ด้าน • มีความรู้ ความเข้าใจในท้องถิน่ ของตนทงั้ ในระดบั หมบู่ า้ น ตำบล อำเภอ จังหวดั • ดแู ลสภาพแวดลอ้ มท้องถิน่ ของตนให้สะอาด ปลอดภยั นา่ อยู่ • มีความรู้ ความเขา้ ใจ และเจตคติที่ดีต่อการทำงานอาชีพในท้องถน่ิ • มที ักษะพ้ืนฐานในการทำงาน และการประกอบอาชีพในทอ้ งถิน่ • มสี ว่ นร่วมในการปอ้ งกนั แกไ้ ขปญั หาของทอ้ งถน่ิ ๑.๒ พัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีความสำนึกที่ดี มีความรักและหวงแหนท้องถิ่น • มคี วามเข้าใจในการสอ่ื สารภาษาถนิ่ • มีส่วนรว่ มในการทะนบุ ำรุงโบราณสถาน โบราณวัตถุ และศิลปวตั ถุของท้องถ่ิน • มีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษ์ และสืบทอดศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรีนาฏศิลป์ของทอ้ งถน่ิ • มจี ติ สาธารณะท่ีมงุ่ ทำประโยชนแ์ ละสร้างส่งิ ที่ดีงามในสงั คมและทอ้ งถ่นิ • นำผลิตภัณฑ์ในอดีตของทอ้ งถนิ่ มาประยุกตใ์ ช้ประโยชน์ใหส้ อดคลอ้ งกบั วถิ ีชวี ติ และสงั คมปัจจุบัน ๑.๓ สง่ เสริมให้ผ้เู รยี นสามารถนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ มาประยกุ ต์ใชใ้ น ชวี ิตประจำวนั ได้ • มีการสง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญในการศกึ ษา ค้นคว้า และสบื ค้นความรจู้ ากปรัชญาต่าง ๆ • มกี ารสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นเห็นความสำคัญในการศึกษา คน้ คว้า และสบื คน้ ความร้จู ากแหลง่ เรียนรู้ • ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น
7 • มีการนำภูมิปญั ญาของทอ้ งถิ่นมาประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั • นำผลิตภัณฑ์ในอดตี ของท้องถน่ิ มาประยกุ ตใ์ ช้ประโยชน์ให้สอดคลอ้ งกับวถิ ีชีวิตและสงั คมปจั จุบนั ๑.๔ พฒั นาผเู้ รียนให้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม • เปน็ คนใจบุญ เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา มีจติ ใจเอื้อเฟื้อเผอ่ื แผ่ มเี มตตากรุณา ช่วยเหลอื ผ้อู ื่นตามความ เหมาะสม • นำหลักธรรมทางศาสนามาใช้ในการดำรงชีวติ • มีสัมมาคารวะ ออ่ นน้อมถอ่ มตน • มีความเสยี สละเพ่อื ส่วนรวม • มวี ินยั มจี ติ สาธารณะ ๑.๕ มที กั ษะการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอยา่ งมีความสุข • ดำรงชีวิตภายใต้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง • มีวิจารณญาณในการดำรงชวี ติ • มที ักษะในการแกป้ ัญหา • มที กั ษะในการปฏเิ สธ • ปรบั ตัวเขา้ กับสภาพแวดลอ้ ม • มที ักษะในการใชเ้ ทคโนโลยี • มที กั ษะในการรวมกลมุ่ สร้างเครอื ขา่ ยสัมพนั ธก์ บั บคุ คลอื่น • ดูแลสุขภาพของตนเองอย่างสมำ่ เสมอ รกั การออกกำลงั กาย • รับประทานผกั พน้ื บา้ น อาหารทอ้ งถิน่ ที่เปน็ ประโยชนต์ อ่ รา่ งกาย • ร่าเรงิ ยิ้มแยม้ แจม่ ใส มองโลกในแงด่ ี มคี วามม่ันคงในอารมณ์
8 ๒. สาระการเรยี นรู้ท้องถ่ิน สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาบงึ กาฬ เขต ๑ กำหนดขอบเขต ประเดน็ สำคัญเพอ่ื ให้ครผู สู้ อน ใช้เปน็ แนวทางในการจดั การเรียนรใู้ หผ้ ู้เรยี นได้เรียนรู้เกี่ยวกับท้องถ่นิ ดังนี้ ๒.๑ ประวตั คิ วามเปน็ มาของจังหวัดบึงกาฬ ประวัตคิ วามเปน็ มาของจงั หวัดบึงกาฬ จังหวัดบงึ กาฬเดิมเปน็ อำเภอบึงกาฬ และเป็นตำบลหน่งึ ในเขตการปกครองของอำเภอชยั บรุ ี จงั หวดั นครพนม ซง่ึ มีท่วี า่ การอำเภอ ตงั้ อยู่ท่บี ริเวณปากนำ้ สงคราม ตอ่ มาไมท่ ราบชัดว่าปีใด ทางราชการได้ย้าย ท่วี า่ การอำเภอมาต้งั ท่ีบึงกาญจน์รมิ ฝ่ัง ตรงขา้ มเมอื งปากซนั แขวงบลิคำไซ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ปี พ.ศ.2459 ทางราชการ ก่อสร้าง ท่วี า่ การอำเภอข้นึ ใหม่ และโอนการปกครองอำเภอชยั บรุ มี าขนึ้ กับจงั หวดั หนองคาย ส่วนบริเวณท่ีต้ัง ท่ีว่าการอำเภอชัยบรุ ีเดมิ นนั้ ทางราชการยุบมาเปน็ ตำบลอยู่ในเขตการปกครอง ของ อำเภอทา่ อเุ ทน จงั หวัดนครพนมปี พ.ศ.2475 ข้าราชการกระทรวงมหาดไทยทา่ นหนึ่งเดินทางมาตรวจราชการที่ อำเภอชยั บุรี พบว่า หมูบ่ า้ นบงึ กาญจน์ มหี นองนำ้ ใหญแ่ หง่ หน่ึง กว้างประมาณ 160 เมตร ยาวประมาณ 3,000 เมตร ชาวบ้าน เรยี ก “บึงกาญจน์” เป็นที่รจู้ กั โดยท่วั ไป ทางการจึงเปลี่ยนช่ืออำเภอชัยบุรเี ป็น “อำเภอบงึ กาญจน์” ตัง้ แต่ นนั้ มา ต่อมาปี พ.ศ.2477 ทางการได้เปลีย่ นช่อื อำเภอบงึ กาญจน์ เป็น”อำเภอบงึ กาฬ” เพ่อื ความสะดวกและ เขา้ ใจงา่ ย ต่อมาได้แยกอำเภอเซกา อำเภอพรเจรญิ อำเภอศรีวไิ ล และ อำเภอบงุ่ คล้า ออกจากอำเภอบึงกาฬ ตามลำดบั จงั หวดั บงึ กาฬ จัดตงั้ ขน้ึ ตาม พระราชบัญญัตติ ั้งจงั หวัดบึงกาฬ พ.ศ. 2554 อนั มผี ลใช้บงั คบั ตั้งแต่วันท่ี 23 มนี าคม 2554 เปน็ ตน้ ไป โดยแยกอำเภอจำนวน 8 อำเภอ ไดแ้ กอ่ ำเภอบงึ กาฬ อำเภอเซกา อำเภอโซพ่ สิ ยั อำเภอ บ่งุ คลา้ อำเภอบงึ โขงหลง อำเภอปากคาด อำเภอพรเจริญ และอำเภอศรวี ไิ ล ออกจากการปกครองของจงั หวดั หนองคาย จงั หวดั บงึ กาฬ เปน็ จังหวัดท่ีมีการรอ้ งขอให้จดั ต้งั ขน้ึ เมอื่ ปี พ.ศ. 2537แต่ไม่ผ่านกระบวนการพจิ ารณาใน ขณะนนั้ และได้มกี ารนำสู่กระบวนการพิจารณาอกี คร้งั โดยผ่านมติเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ในวนั ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553 โดยปัจจุบันอยู่ระหว่างการพิจารณาของสภาผ้แู ทนราษฎร วฒุ สิ ภา และคณะกรรมการกฤษฎกี า เพอ่ื นำ ทลู เกล้าฯ เพ่อื ทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาต่อไป โดยจะตอ้ งออกเปน็ พระราชบญั ญตั ิ การจัดตง้ั จงึ จะมผี ลโดยสมบูรณก์ ารรอ้ งขอจดั ตง้ั ถูกขอตามข้อเสนอของนายสเุ มธ พรมพันห่าว สมาชกิ สภาผ้แู ทน ราษฎรพรรคเสรธี รรม จงั หวัดหนองคาย โดยแยกพน้ื ทอ่ี ำเภอบึงกาฬ อำเภอปากคาด อำเภอโซ่พิสยั อำเภอพรเจรญิ อำเภอเซกา อำเภอบึงโขงหลง อำเภอศรวี ิไล และอำเภอบุ่งคล้า ออกจากจงั หวดั หนองคาย
9 ๒.๒ สภาพภูมศิ าสตร์ ลักษณะภูมิประเทศ จงั หวดั บึงกาฬท่ีเสนอใหจ้ ดั ต้งั มพี นื้ ทท่ี งั้ หมด 4,305.746 ตารางกโิ ลเมตร ประกอบด้วย 8 อำเภอคอื อำเภอ บงึ กาฬ อำเภอปากคาด อำเภอโซพ่ ิสัย อำเภอพรเจรญิ อำเภอเซกา อำเภอบงึ โขงหลง อำเภอศรีวิไล และอำเภอบุ่ง คลา้ ท่ีต้ังและอาณาเขตจังหวัดบึงกาฬ • ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงบอลิคำไซ (สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว) • ทิศตะวันออก ติดตอ่ กบั แขวงบอลิคำไซ (สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว) • ทิศใต้ ติดตอ่ กบั อำเภอนาทม (จงั หวดั นครพนม) อำเภออากาศอำนวย และอำเภอคำตากลา้ (จังหวดั สกลนคร) อำเภอเฝ้าไร่ จังหวดั หนองคาย • ทิศตะวันตก ติดตอ่ กบั อำเภอรัตนวาปี และแขวงบอลคิ ำไซ (สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว)
10 แนวทางการวดั และประเมินผลการเรยี นรสู้ าระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ (จงั หวดั บงึ กาฬ) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ******************* หลกั การ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนร้ทู อ้ งถ่นิ (จังหวดั บงึ กาฬ) เป็นการประเมนิ คุณภาพผ้เู รียน ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ เพ่อื ใชเ้ ป็นขอ้ มลู พืน้ ฐาน ใน การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา มแี นวทางการประเมินโดยดำเนนิ การประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นของผู้เรยี นดว้ ยขอ้ สอบมาตรฐานท่จี ัดทำขึ้นโดยเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาท้ัง ๔ เขตพืน้ ที่ และสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และอาจมกี ารตรวจสอบข้อมูลจากการประเมิน ระดบั สถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาด้วยกไ็ ด้ แนวทางการวดั และประเมินผล การวดั และประเมินผลการเรียนรูส้ าระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน (จังหวดั บงึ กาฬ) ตามหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มีแนวทางการดำเนนิ งานดงั นี้ ๑. กำหนดมาตรฐานการศกึ ษาระดบั เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา เพิ่มเติมจากมาตรฐานการศกึ ษาระดบั ชาติท่มี อี ยู่ แลว้ ๑๘ มาตรฐาน หากมีมาตรฐานเพม่ิ อกี ก็กำหนดเพ่มิ เติมใหค้ รบ ๒. กำหนดมาตรฐานและตัวชีว้ ัด/เป้าหมาย ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ท่สี อดคลอ้ งกับกรอบสาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่นิ ท่ีแทรกอยใู่ นสาระการเรียนรู้แกนกลางทง้ั ๘ สาระ โดยทำการ วเิ คราะหม์ าตรฐานและตัวชวี้ ดั /เปา้ หมาย เป็น ๕ ด้าน ประกอบดว้ ย ๒.๑ ตวั ชว้ี ดั /เปา้ หมายดา้ นความรู/้ ความเข้าใจ (Knowledge and Understanding Targets) เปน็ เป้าหมายทเ่ี ก่ยี วกับความรู้ ความเขา้ ใจในเนื้อหา ไดแ้ ก่ ขอ้ เท็จจริง เหตุการณ์กรอบความคิด กฎเกณฑ์ หลกั การตลอดความรู้ว่า กระบวนการ วิธีการ ข้ันตอน กลา่ วไว้วา่ อย่างไร คำสำคญั ท่ีบ่งบอกเปา้ หมายดา้ นน้ี ไดแ้ ก่ อธิบายเข้าใจ พรรณนา ระบุ บอก บอกช่อื บอกรายการ นิยาม จับคู่ เลอื ก จำ ระลึกได้ เป็นตน้ ๒.๒ ตวั ช้ีวัด/เป้าหมายด้านการคิดอยา่ งเป็นเหตุเปน็ ผล (Reasoning Targets) เป็นเป้าหมายท่ี เกย่ี วกบั ความสามารถในความคดิ โดยกำหนดให้ต้องใช้ความรูม้ าแกป้ ัญหาความรู้นจ้ี ะไดม้ าจากการคิดอย่างลึกซึ้ง คดิ ด้วยรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ การวิเคราะห์ เปรยี บเทียบความเหมอื นความแตกต่าง สังเคราะห์ จดั ประเภท อุปนัย นิรนยั ตดั สิน ประเมนิ คา่ เม่ือคิดแล้วต้องแสดงออกมาใหเ้ ห็นวา่ รู้โดยผลผลิตที่เปน็ ไดท้ ง้ั ชิ้นงานหรือการกระทำ
11 ผลผลติ ทเ่ี ปน็ ช้นิ งาน เช่น ประเดน็ คำถามปลายเปิดทีผ่ ู้เรยี นสร้างขึ้นเพอื่ สอบถามความคิดเห็น หรือการทำหรือ สาธติ ให้ดู ฉะนน้ั เคร่ืองมอื ประเมินประเภทเลือกตอบ เช่น ขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ ไม่เพยี งพอทจี่ ะบอกได้ถงึ กระบวนการคิดรปู แบบต่าง ๆ ข้างต้น ๒.๓ ตวั ช้ีวดั /เป้าหมายด้านทักษะปฏบิ ัติ เปน็ เปูาหมายท่ีเกีย่ วกบั ความสามารถในการปฏบิ ัตหิ รือใช้ วิธีการตา่ ง ๆได้ดี เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ย่ังยืน การประเมนิ การปฏบิ ตั ิ มกั ประเมนิ ผ่านการเหน็ หรือได้ยิน คำสำคญั ทบี่ ง่ บอกเปา้ หมายด้านน้ี ได้แก่ สังเกต ทดลอง แสดง ทำ ตงั้ คำถาม ประพฤตทิ ำงาน ฟงั อ่าน พดู ประกอบ ปฏิบตั ิ ใช้ สาธิต วดั สำรวจ เป็นแบบอย่าง รวบรวม การจะมีทักษะการปฏบิ ตั ิได้ จะตอ้ งผ่านเป้าหมายด้านความรู้มากสอน เสมอ และในหลายกรณี ต้องผ่านเป้าหมายด้านการใช้เหตุผลดว้ ย ๒.๔ ตวั ชี้วดั /เป้าหมายดา้ นผลผลิต เป็นเป้าหมายทเี่ กย่ี วกบั ความสามารถในการใช้ความรู้ การคิด ทักษะเพอื่ การสร้างผลผลติ สุดท้ายทม่ี ีคุณภาพและเปน็ รปู ธรรม เช่น งานเขยี น ช้นิ งานศลิ ปะ รายงาน แผน แบบจำลอง เปน็ ต้น คำสำคญั ทีบ่ ง่ บอกเปา้ หมายด้านน้ี ได้แก่ ออกแบบ ทำ สร้าง ผลติ พฒั นา เขียน วาด จัดแสดง จดั นทิ รรศการ ทำแบบจำลอง เป็นต้น ๒.๕ ตวั ช้ีวดั /เป้าหมายดา้ นจิตพสิ ยั (Disposition Targets) เป็นเป้าหมายทม่ี ิใช้ผลสมั ฤทธท์ิ าง วชิ าการ แต่เป็นสถานะทางอารมณ์ ความรู้สึก เช่น ทัศนคตติ ่อสิง่ ต่าง ๆ ความมัน่ ใจในตนเอง แรงจงู ใจ เปน็ ต้น
12 กรอบสาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่นที่สำคัญสำหรับผูเ้ รยี นควรไดเ้ รยี นรู้ ******************* สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาบึงกาฬ เขต ๑ ได้พิจารณาตรวจสอบเน้อื หาสาระท้องถ่ินท่ี ระบุไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชีว้ ดั ทุกกลุม่ สาระการเรยี นรู้และทกุ ระดบั ช้ัน พบวา่ มเี น้อื หาสาระทเี่ ปน็ ท้องถิ่นบางส่วน ซึ่งมีความสำคญั และจำเป็นท่ีผู้เรียนควรได้เรยี นรู้ แตไ่ ม่ได้ถูกบรรจุไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชวี้ ัดตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ึ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ดงั น้นั สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาบึงกาฬ เขต ๑ จงึ ได้เสนอตัวอย่างสาระการเรยี นรู้ ทอ้ งถิ่นเพมิ่ เติม สำหรบั โรงเรยี นใช้เปน็ แนวทางในการจดั ทำรายวชิ าสาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่นเพิม่ เตมิ ตัวอย่างเร่ือง อาชพี ในชมุ ชน สามารถจัดทำเปน็ รายวชิ า เช่น - การจกั รสานจากไมไ้ ผ่ ซง่ึ ในการจดั ทำรายวิชาสาระการเรยี นรู้ทอ้ งถนิ่ เพม่ิ เติม โรงเรียนควรพิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ ของการนำมาสู่การเรยี นรู้ของนกั เรยี น รายวชิ าสาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่ินเพ่ิมเตมิ ควรมีองคป์ ระกอบ ดงั น้ี • คำอธิบายรายวชิ า • โครงสรา้ งรายวิชา • เน้อื หา • การจดั กระบวนการเรยี นรู้ หมายเหตุ - ผลการเรียนรู้ ใชส้ ำหรับการจัดท สาระการเรียนรู้เพิม่ เติม - กรอบสาระการเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ ในเอกสารฉบบั น้ี ใช้เป็นแนวทางให้โรงเรียนนำไปจดั กิจกรรมการเรียนการ สอน ซ่งึ โรงเรียนสามารถพจิ ารณาเพ่ิมเตมิ สาระเรยี นรู้ทอ้ งถ่ิน นอกจากทีป่ รากฏในเอกสารได้ตามความเหมาะสม
13 คำอธบิ ายรายวิชาเพม่ิ เตมิ หลักสตู รทอ้ งถ่ิน “การจกั สาน” ง14102 การงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 เวลา 10 ชั่วโมง/ปี ศกึ ษา วิเคราะห์ อธบิ ายเหตุผล รวมถึงความรเู้ บื้องต้นในการทำผลิตภัณฑจ์ ากจกั สานจากไมไ้ ผ่ การจัดเครื่องมอื เครอื่ งใช้ ในการจบั ปลา การประกอบอาชีพ การซอ่ มแซมอปุ กรณ์ เครอื่ งมือและ เครือ่ งใช้ การประดษิ ฐ์ของใช้ ของตกแต่งจากไมไ้ ผ่ เครื่องประดับจากไมไ่ ผ่ ผลิตภณั ฑ์ และ อธบิ าย ความหมายและความสำคัญของอาชีพ ซ่อมแซมอปุ กรณ์ เครอื่ งมือและเคร่ืองใช้ ประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่งจากไม้ไผ่ โดยใช้ทักษะกระบวนการทำงานอย่างเปน็ ขน้ั ตอน การจดั การกระบวนการ แกป้ ัญหา การทำงานรว่ มกนั และการแสวงหาความรู้ มีความรู้ความเข้าใจในการทางาน และรู้จัก สรา้ งองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง เพื่อใหผ้ เู้ รียนเกิดเจตคติทด่ี ตี อ่ การทำงาน มมี ารยาท ขยนั อดทน รับผิดชอบ และซื่อสัตยใ์ นการทำงาน รู้จกั ใชพ้ ลังงานและทรพั ยากรในการทางานอยา่ งประหยัดและคุ้มคา่ ตลอดจนนำความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ โครงสร้างรายวชิ า ท่ี เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนอ้ื หา การจดั กระบวนการ จำนวน/ เรยี นรู้ ชว่ั โมง ความรูเ้ บอ้ื งตน้ ใน ๑ ศกึ ษาขอ้ มลู จากเอกสาร การทำผลติ ภณั ฑ์จาก ใบ ๑ เพือ่ ให้ผเู้ รยี นสามารถบอก จักสานจากไม้ไผ่ ความรู้เพือ่ น าข้อมลู การคิด ความรู้ทวั่ ไป ความหมายวิธกี าร และ 1 ความหมายของ วิเคราะหแ์ ละใชใ้ นการ เกย่ี วกับการจกั ประโยชนข์ องการทำ การทำผลิตภัณฑ์จาก ประกอบอาชีพ สาน ผลิตภณั ฑจ์ ากจกั สานได้ จักสานจากไม้ไผ่ ๒ แลกเปล่ียนเรยี นรูร้ ่วมกนั ๓ 2 วิธีการทำ เร่อื งการทำผลติ ภณั ฑจ์ ากจัก ผลติ ภณั ฑ์ สานจากไมไ้ ผ่ จากจกั สาน ๓ ครู ผูเ้ รยี น และผู้รู้ รว่ มกัน 3 ประโยชนข์ อการ อภิปรายเกยี่ วกับความเปน็ มา ทำผลิตภณั ฑจ์ าก ของทำผลิตภัณฑจ์ ากจกั สาน จกั สาน จากไม้ไผ่
14 คำอธบิ ายรายวชิ าเพิม่ เตมิ หลักสูตรท้องถิ่น “การจักสาน” ง15102 การงานอาชีพ กลุม่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา 10 ชั่วโมง/ปี ศกึ ษา วเิ คราะห์ อธิบายเหตุผล รวมถงึ ความร้เู บ้ืองต้นในการทำผลติ ภณั ฑจ์ ากจกั สานจากไมไ้ ผ่ การจัดเครอื่ งมือเคร่ืองใช้ ในการจบั ปลา การประกอบอาชีพการทำผลติ ภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ เปน็ ชะลอม การซ่อมแซมอปุ กรณ์ เคร่อื งมอื และเครอ่ื งใช้ การประดษิ ฐข์ องใช้ ของตกแต่งจากไม้ไผ่ เครื่องประดับจากไม่ไผ่ ผลติ ภณั ฑ์ และ อธิบายความหมายและความสำคัญของอาชีพ ซ่อมแซม อปุ กรณ์ เครือ่ งมือและเคร่อื งใช้ ประดษิ ฐข์ องใช้ ของตกแตง่ จากไม้ไผ่ โดยใช้ทักษะกระบวนการ ทำงานอย่างเปน็ ข้นั ตอน การจัดการกระบวนการแก้ปัญหา การทำงานรว่ มกนั และการแสวงหา ความรู้ มคี วามร้คู วามเขา้ ใจในการทางาน และรูจ้ กั สรา้ งองคค์ วามร้ดู ้วยตนเอง เพื่อให้ผเู้ รยี นเกิดเจตคตทิ ่ีดีต่อการทำงาน มีมารยาท ขยนั อดทน รับผดิ ชอบ และซื่อสตั ยใ์ นการทำงาน รจู้ กั ใชพ้ ลังงานและทรัพยากรในการทางานอย่างประหยดั และค้มุ คา่ ตลอดจนนำความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ โครงสรา้ งรายวชิ า ท่ี เรอื่ ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนอ้ื หา การจดั กระบวนการ จำนวน/ เรียนรู้ ชวั่ โมง ๑. การทำผลติ ภณั ฑ์ นกั เรียนลงพืน้ ที่จรงิ ทม่ี อี ยูใ่ น จากไม้ไผ่ เปน็ ชะลอม ชมุ ชน ๓ ๒. การทำผลติ ภัณฑ์$ ๑ วทิ ยากรบรรยายและสาธติ - ความสำคัญใน การ ๓. จากไม้ไผ่ เป็น การท าชะลอมและตะกร้า ตะกร้า แนวโนม้ ๒. ผู้เรยี นเรยี นรแู้ ละฝึกทำ ๑ ทกั ษะการ ประกอบอาชพี ประกอบ - เพื่อใหผ้ ู้เรยี นฝกึ ความ เปน็ ไปได้ใน ชะลอมและตะกร้า อาชีพ ปฏิบัติ ได้ การ ประกอบอาชีพ จักร สาน ๔. แหลง่ เรยี นรู้ เกีย่ วกบั การ ประกอบอาชีพจัก สาน
15 คำอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเตมิ หลกั สูตรทอ้ งถน่ิ “การจกั สาน” ง16102 การงานอาชพี กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 เวลา 10 ช่ัวโมง/ปี ศึกษา วเิ คราะห์ อธบิ ายเหตุผล รวมถึงความร้เู บ้อื งตน้ ในการทำผลิตภัณฑ์จากจักสานจากไม้ไผ่ การจัดเครือ่ งมือเคร่อื งใช้ ในการจบั ปลา การประกอบอาชีพ การซ่อมแซมอปุ กรณ์ เครือ่ งมือและ เครื่องใช้ การประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่งจากไมไ้ ผ่ เครอ่ื งประดับจากไมไ่ ผ่ ผลติ ภณั ฑ์ และ อธิบาย ความหมายและความสำคัญของอาชีพ ซอ่ มแซมอปุ กรณ์ เครือ่ งมอื และเครอื่ งใช้ ประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่งจากไม้ไผ่ โดยใชท้ กั ษะกระบวนการทำงานอยา่ งเปน็ ขั้นตอน การจดั การกระบวนการ แก้ปญั หา การทำงานรว่ มกนั และการแสวงหาความรู้ มีความร้คู วามเข้าใจในการทำงาน การ บรหิ ารจดั การ ดา้ นบัญชี กำไร คมุ้ ทนุ และรจู้ ักสร้างองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง เพื่อให้ผเู้ รยี นเกดิ เจตคติที่ดตี อ่ การทำงาน มมี ารยาท ขยนั อดทน รับผิดชอบ และซ่อื สัตย์ในการทำงาน รู้จักใชพ้ ลงั งานและทรัพยากรในการทางานอยา่ งประหยัดและค้มุ ค่า ตลอดจนนำความร้ไู ปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ โครงสรา้ งรายวิชา ท่ี เร่อื ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา การจดั กระบวนการ จำนวน/ เรียนรู้ ช่ัวโมง ๑. การบริหารจัดการ ๑. วิทยากรบรรยายใหค้ วามรู้ กลมุ่ ในเร่ืองการบริหารจัดการ ๓ ๒. การบริหารจดั การ กล่มุ เพื่อให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรใู้ นการ ดา้ น ๒. ผู้เข้ารว่ มจัดการวางแผน ด้านการตลาด การทำบัญชี ๑ การบริหาร บรหิ ารจดั การด้าน การตลาด จัดการอาชีพ การตลาด ชอ่ งทางการ ๓. การบริหารจัดการ จำหน่ายสนิ คา้ ด้านบญั ชี กำไร คุม้ ทุน
16 ฃ
17 แหล่งอ้างองิ ขอ้ มูล ๑. แนวทางการจัดทำสาระการเรียนรทู้ อ้ งถิน่ ๒๕๔๙ ปีแห่งการปฏิรูปการเรยี นการสอน : สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ๒. แนวทางในการจัดทำกรอบหลกั สตู รระดับท้องถน่ิ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พน้ื ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ : สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ๓. กรอบสาระการเรยี นรรู้ ะดับท้องถิ่น : ส านกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาบึงกาฬ เขต ๑ ๔. http://www.buengkan.go.th ๕.https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B 8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%9A%E0%B8%B6%E0% B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%AC
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: