1. อาณาจักร MONERA โดย ครูสกุ ฤตา โสมล ชีววทิ ยา ชน้ั ม.6 1 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
สิง่ มชี ีวิตในอาณาจกั รมอเนอรา เป็นสิง่ มชี ีวติ เซลล์ เดยี วทมี่ ีโครงสรา้ งเซลล์แบบโพรคารโิ อต (prokaryote) ในขณะท่ีสิ่งมีชีวติ อน่ื ๆ ทุกอาณาจักรมี โครงสร้างเซลลแ์ บบยคู าริโอต (eukaryote ลักษณะของเซลล์โพรคาริโอตเปน็ เซลลแ์ บบงา่ ยทไ่ี มม่ นี ิวเคลยี สเดน่ ชัด 2 (ไม่มเี ยอ่ื หุ้มนวิ เคลียส และ DNA ไมไ่ ดจ้ ับกับโปรตนี เปน็ โครโมโซม ดังน้ัน DNA จึงมลี กั ษณะเปน็ วงแหวนเสน้ คู่ (circular double strand of DNA) อยูภ่ ายในเซลล์ บางชนดิ ยงั มี DNA วงเลก็ ๆ เรียกวา่ พลาสมิด (plasmid) ทถ่ี ่ายทอดไปใหแ้ บคทเี รยี อ่ืนได้โดยวธิ ี conjugation และไม่ มอี อร์แกเนลลต์ ่างๆ เหมอื นเซลลย์ ูคาริโอต จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
3 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
4 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
5 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
จากการศึกษาสายวิวฒั นาการของแบคทเี รีย ทาใหจ้ าแนกแบคทเี รยี ออกเปน็ กลุ่มๆ ได้ดังนี้ 1. อาณาจักรย่อยอารเ์ คยี แบคทีเรีย (Subkingdom Archaebacteria) คอื แบคทเี รียโบราณ : ผนังเซลล์ไมม่ ี peptidoglycan เป็นองค์ประกอบ (เป็น พวก polysaccharide กับโปรตีนหลายชนดิ แทน) คล้าย กบั พวกยคู าริโอตมากกว่ากลุ่มแบคทีเรียเองหลายประการ เช่น ลกั ษณะของไรโบโซมโปรตนี และการถอดรหสั พนั ธุกรรม tRNA อาศัยอยใู่ นสภาพแวดล้อมทีร่ นุ แรง แบง่ เป็น 2 กลุม่ 6 จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
1.1 กลมุ่ ยรู ิอารเ์ คยี โอตา (Euryarchaeota) – สรา้ งแกส๊ มีเทนและชอบความเค็มจดั - กลมุ่ เมธาโนเจน (Methanogen) : กลุ่มแบคทีเรียที่สามารถผลิตมีเทนได้ อาศัย 7 อย่ใู นทที่ ่ีไมม่ ี O2 เชน่ พรุ - กลุ่มชอบความเค็มจัด (Halophile) : สามารถทนกับความเข้มข้นของเกลือสูง มากๆ ได้ โดยดึงพลังงานแสงมาเพ่ือกาจัด Cl- ให้ออกนอกเซลล์ และช่วยใน การสรา้ ง ATP ได้ พบในทะเลเดดซี ทะเลสาบเกรทซอล์ทเลค - กลุ่มชอบความร้อนและภาวะกรด (Thermoacidophile) : ทนอยู่ในสภาวะท่ี pH 1-2 ทนอุณหภูมิได้สูงสุด 105oC โดยแบคทีเรียสามารถถ่ายทอด e ให้ กามะถนัจดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล กลายเปน็ ซลั ไฟด์ เกดิ การสร้างกรดกามะถันได้
1.2 กลุม่ คลนี ารเ์ คยี โอตา (Crenarchaeota) –ชอบอณุ หภมู ิสูงและมคี วามเปน็ กรดจดั - กลุ่มชอบความร้อนและกรดจัด (Hyperthermophile) : ชอบความร้อน มาก โดยทนความร้อนและกรดได้ดีกว่าพวก Thermoacidophile คือ ทนอุณหภมู ิไดส้ งู ถึง 121 oC และอยู่ในสภาวะ pH 1 ได้ 8 จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
2. อาณาจักรย่อยยูแบคทเี รีย (Subkingdom Eubacteria) ไฟลมั ชิโลไฟตา (Schizophyta) แบคทีเรียมีขนาดประมาณ 1-5 µm (0.001-0.005 mm) มี ผนังเซลล์ (cell wall) เป็นสาร peptidoglycan หุ้มเย่ือหุ้มเซลล์ และบางชนิดยังสร้างแคปซูลเป็นสารเมือกหุ้มภายนอกอีกชั้นหน่ึง บางชนิดเคล่ือนที่ได้เพราะมี flagellum ช่วยในการเคลื่อนท่ี (flagellum มโี ครงสร้างเป็นเส้นใยโปรตีนที่แตกต่างจากในเซลล์ยู คาริโอต ท่ีมีโครงสร้างเป็นโปรตีน ไมโครทูบูลเรียงตัวแบบ 9+2) บางชนดิ มีคลอโรฟิลล์ (แบคเทอรโิ อคลอโรฟิลล์) แบคทีเรียมักจะถูกแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ โดยใช้ลักษณะต่างๆ เป็นเกณฑ์ เช่น รูปร่าง โครงสรา้ ง ผนังเซลล์ การย้อมตดิ สแี กรม (Gram’s stain) การใชห้ รอื ไมใ่ ชอ้ อกซิเจน 9 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
ชนดิ ของแบคทเี รีย แบ่งโดยใชร้ ูปร่างของเซลล์เป็นเกณฑ์ มี 3 กลุ่ม -พวก coccus แบคทเี รียรปู ทรงกลม (sphere) -พวก spirillum หรอื spirochete แบคทีเรยี รปู เกลียว (spiral) -พวก bacillus แบคทีเรยี รปู แท่ง (rod) 10 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
พวก coccus 11 จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
พวก spirillum 12 หรอื spirochete จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
พวก bacillus 13 จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
ชนิดแบคทเี รีย แบง่ โดยใชโ้ ครงสรา้ งผนงั เซลลเ์ ป็นเกณฑ์ ไดแ้ ก่ - พวกที่มีผนังบาง ย้อมติดสีแกรมลบ เ รี ย ก ว่ า แ บ ค ที เ รี ย แ ก ร ม ล บ ( gram negative bacteria) ย้อมติดสีแดงของ safranin O มี 3 กลุม่ ดังน้ี 14 จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
(gram negative bacteria) 1) กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria) เช่น purple sulfur bacteria เป็น แบคทีเรียท่ีใช้ไฮโดรเจนซัลไฟต์ (H2S) และให้ซัลเฟอร์ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง , ไรโซเบียม (Rhizobium)ช่วยตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศมาสร้างเป็นสารประกอบ ไนโตรเจนในดิน 15 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล ภาพ Rhizobium ภาพ purple sulfur bacteria
(gram negative bacteria) 2) กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias) เป็นปรสิตท่ีพบในเซลล์สัตว์ ทาให้เกิดโรคติดต่อทาง เพศสัมพนั ธ์ เชน่ โรคโกโนเรียหรอื หนองใน ภาพ Chlamydias 16 จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
(gram negative bacteria) 3) กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes) บางชนดิ เปน็ สาเหตุของโรคฉ่ีหนู โรคซิฟิลิส 17 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
- พวกท่ีมีผนังหนา ย้อมติดสีแกรมบวก เรียกว่าแบคทีเรียแกรมบวก (gram positive bacteria) ย้อมติดสีม่วงของ crystal violet เช่น Lactobacillus sp. สามารถผลิตกรด แลกติกได้ , Steptomyces sp. ใช้ทายา ปฏิชีวนะพวกสเตร็บโตมัยซินและยาเตตรา ไซคลนิ 18 จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
(gram positive bacteria) ตวั อยา่ งแบคทีเรียแกรมบวก Lactobacillus sp. Steptomyces sp. 19 จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
ขั้นตอนการยอ้ มตดิ สีแกรม (Gram’s stain) ในแบคทเี รยี 20 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
ตัวอยา่ งผลการยอ้ มตดิ สแี กรม (Gram’s stain) 21 จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
สรุปการเปรยี บเทยี บโครงสรา้ งของผนงั เซลลแ์ บคทเี รยี 22 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
- พวกที่ไมม่ ผี นงั เซลล์ - พวกทมี่ ผี นังเซลล์เป็นสารอื่นทีไ่ มใ่ ช่ peptidoglycan ท่พี บตามปกติ (คือพวก Archaeabacteria) 23 จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
ชนดิ แบคทีเรีย แบ่งโดยใช้การใชอ้ อกซิเจนเปน็ เกณฑ์ ได้แก่ -พวกทห่ี ายใจแบบใชอ้ อกซิเจน (aerobic bacteria) 24 -พวกที่หายใจแบบไม่ใช้ออกซเิ จน (anaerobic bacteria) เชน่ แบคทเี รียทท่ี าใหเ้ กดิ โรคบาดทะยกั (Clostridium tetani) จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล -พวกที่หายใจแบบใช้หรือไม่ใชอ้ อกซิเจน (facultative aerobic bacteria)
การดารงชีวติ ของแบคทีเรีย 25 - ส่วนใหญ่สร้างอาหารเองไม่ได้ (heterotroph) ซึ่งมีทั้งพวกที่ดารงชีวิต แบบปรสติ และแบบย่อยสลาย - หลายพวกสรา้ งอาหารเองได้ (autotroph) ซึ่งมี 2 พวก ไดแ้ ก่ 1)พวกสังเคราะห์ด้วยแสงได้(photosynthesis or photoautotroph) มีแบคเทอริโอคลอโรฟิลล์ , การสังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรียบางชนิด เช่น purple sulfur bacteria ใช้ไฮโดรเจน ซลั ไฟต์ (H2S) เป็นวัตถดุ บิ แทน H2O จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
2) พวกสังเคราะห์เคมี (chemosynthesis or chemoautotroph) ใช้พลังงาน จากการออกซิเดชันสารอนินทรีย์บางชนิดในการสร้างอาหาร เช่น H2S (sulfur bacteria บางชนิด) , H2 (hydrogen bacteria) , NH3 (Nitrifying bacteria) และ Fe (iron bacteria) เป็นตน้ 26 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
การสบื พนั ธุ์ของแบคทีเรยี - สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดยการแบ่งตัวเป็นสอง ส่วน (binary fission) ซึ่งเกิดข้ึนในสภาวะแวดล้อมที่ เหมาะสม โดยแบคทีเรียอาจแบ่งตัวทุกๆ 20-40 นาที สมมติว่าแบคทีเรียแบ่งตัวทุก 30 นาที ภายใน 15 ช่ัวโมง แบคทีเรีย 1 เซลล์สามารถเพ่ิมจานวนถึงหน่ึง พันล้านเซลล์ กลายเป็นกลุ่มท่ีเรียกว่าโคโลนี (colony) ที่อาจมองเห็นด้วยตาเปลา่ 27 จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
แบคทีเรยี บางชนิดเมอ่ื อยู่ในสภาวะแวดล้อมท่ีไม่เหมาะสม : สามารถเปลย่ี นแปลงกระบวนการแบง่ ตวั ให้สร้าง... endospore ขึ้ น ภ า ย ใ น เซ ล ล์ มี ผนั ง หุ้ม หน า ท น ท า น ไ ด้ ต้ัง แ ต่ อุณหภูมิ -250 ถึงมากกวา่ 100 oC (ไม่จัดเป็นการสืบพันธ์ุเพราะหนึ่ง เซลล์สร้างเพียงหน่ึง endospore ไม่มีการเพ่ิมจานวนขึ้น เป็นเพียง กระบวนการเพ่ือความอยู่รอด) มี ตัวอย่างรายงานว่าก่อให้เกิดโรค แอนแทรก็ ซ์ (Anthrax) จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 28 บางชนิดสร้าง capsule อยู่นอกผนังเซลล์ เพ่ือให้ทนต่อ การทาลายของเมด็ เลือดขาว และมกั ก่อโรครนุ แรง
ประโยชนข์ องแบคทีเรยี นอกจากจะมบี ทบาทเปน็ ผู้ยอ่ ยสลายในระบบนเิ วศ (ทาให้เกดิ การหมุนเวียนของ สารไปในสิง่ แวดล้อม) มนษุ ยย์ งั นาแบคทเี รยี มาใช้ประโยชน์ตา่ งๆ อีกมาก เช่น - ผลิตอาหารหมัก : น้าปลา ปลารา้ ปลาสม้ กุ้งจ่อม ผกั ดอง นา้ บดู ู นมเปร้ยี ว เนยแข็ง น้าส้มสายชู - ผลิตยาปฏชิ วี นะ : สเตรปโตมยั ซิน (Streptomyces griseus) คลอแรมฟินคิ อล (Streptomyces venezuelae) ออรีโอมัยซิน (Streptomyces aureofacien) - ใช้ฟอกหนงั : แบคทเี รยี ทาให้ขนร่วง เนื้อเปอื่ ยยุ่ยออกจากหนงั 29 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
- ใช้เป็นปุ๋ย :แบคทีเรียที่ตรึงไนโตรเจนในอากาศได้ (เปลี่ยน N2NO3) เช่น ไรโซเบียม (Rhizobium sp.) อะโซโทแบคเตอร์ (Azotobactor sp.) , ไนตริไฟอิงแบคทเี รยี (เปลย่ี น NH3NO3) Rhizobium sp. 30 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
- ใช้เพ่ือรักษาสภาพแวดล้อม : ใช้กาจัดขยะ ใช้ ใช้สลายคราบนา้ มันบริเวณชายฝ่ัง สลายคราบนา้ มันบริเวณชายฝั่งและในทะเล ช่วย กาจดั สารเคมีตกค้างจากการเกษตร 31 - ใช้ในการผลติ สารเคมี : แอซิโตน กรดแลกติก - ใช้ในการศึกษาวิจัยชีววิทยาพ้ืนฐาน ประยุกต์ และพันธุวิศวกรรม : แบคทีเรียถูกใช้เป็นตัวอย่าง เซลล์สาหรับทดลองเพราะมีโครงสร้างเซลล์ไม่ ซับซ้อน วัฏจักรชีวิตส้ัน สืบพันธ์ุเร็ว นา DNA อื่น เขา้ ไปใสไ่ ดโ้ ดยใชพ้ ลาสมดิ - ใ ช้ใ น เ ท ค โ น โ ล ยี ชีว ภ า พ :ใช้ เทค นิค พัน ธุ วิศวกรรมสร้างแบคทีเรียท่ีผลิตฮอร์โมนอินซูลิน วคั ซนี และเอนไซมบ์ างชนดิ จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
32 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
โทษของแบคทเี รยี แบคทีเรียบางชนิดทาให้เกิดโรค เรียกว่า pathogenic bacteria เชน่ - โรคในคนและสัตว์ : ไทฟอยด์ อหิวาตกโรค ปอดบวม วัณโรค คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ซิฟลิ ิส โกโนเรยี แอนแทรกซ์ - โรคในพชื : โรครากเน่า โรคใบไหม้ของสาล่ี โรคขอบใบแหง้ ในข้าว - ทาใหอ้ าหารบดู เนา่ - ทาให้ฟนั ผุ (เปลีย่ นนา้ ตาลใน ปากใหเ้ ป็นกรดแลกติกกัดกร่อนฟัน) 33 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
โรคซฟิ ิลสิ 34 จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
การทดสอบแบคทีเรยี ในอาหาร สามารถทาไดโ้ ดย - หยดเมทิลีนบลูลงไปนจานเพาะเช้อื ที่มอี าหารวนุ้ ผ่านการฆา่ เชื้อ (จาน 1 และจาน 2) ทง้ั สองจานมีสีนา้ เงิน - ใช้หว่ งเข่ยี เชอื้ จุ่มนมสด ลากเปน็ ทางบนผวิ วุ้นในจาน 1 - ตั้งทิ้งไว้ 3-4 วัน จาน 1 เกิดกลุ่มของแบคทีเรียหลายกลุ่ม บริเวณท่ีมีแบคทีเรียสีอาหารวุ้นจะจางลงกลุ่ม แบคทเี รียขยายใหญข่ ึน้ บริเวณท่มี สี ีจางขยายขนาดขึ้นด้วย - อัตราเร็วของการจางของสีเมทลิ ีนบลูขนึ้ อยู่กับจานวนแบคทีเรีย แบคทีเรยี มากสขี องเมทลิ ีนบลูจางเร็ว * เมทิลีนบลูจะมีสีน้าเงิน เมื่ออยู่ในสภาพออกซิไดซ์ (อยู่ในอากาศหรือเติม NH4OH) เปล่ียนเป็นไม่มีสี เม่ืออย่ใู นสภาพรดี ิวซ์ (เม่ือเติม H2SO4 เจือจางหรือเติม Zn) ดังนั้นแบคทีเรียทาให้สีของเมทิลีนบลูจางลง 35 ได้เพราะผลติ สารท่ีเปน็ กรดปล่อยออกมา จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
อาณาจกั รยอ่ ยยแู บคทเี รยี (Subkingdom Eubacteria) 36 ไฟลมั ไซยาโนไฟตา (cyanophyta) ได้แก่ พวกสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน (Cyanobacteria หรือ blue green algae) เป็นสาหร่ายเซลล์เดียวท่ีพบใน แหล่งน้าจืดทั่วไป รวมท้ังบ่อน้าร้อน และพบตามพ้ืนดิน ก้อนหิน และเปลือกไม้ท่ีช้ืนแฉะ มีหลายชนิด มีลักษณะ สีเขยี วคล้า จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
- บางชนดิ อยูเ่ ปน็ เซลลเ์ ดยี ว เช่น โครโอคอคคัส (Chroococcus) - บางชนิดอยเู่ ป็นกลุ่ม (colony) เชน่ กลีโอเคปซา (Gleocapsa) - บางชนิดอยู่รวมเป็นสาย (filament) เช่น แอนาบีนา (Anabaena) ออสซิลลาทอเรีย (Oscillatoria) นอสตอก (Nostoc) และสไปรูไลนา (Spirulina) 37 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
(cyanophyta) สามารถตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศให้เป็นสารประกอบไนเตรตได้ เช่น แ อ น า บี นา ( Anabaena) อ อ ส ซิ ล ล า ท อ เ รี ย ( Oscillatoria) น อ ส ต อ ก (Nostoc) เปน็ ตน้ Anabaena พวกตรึงไนโตรเจนได้ : Rhizobium พบในพืช 38 ตระกูลถ่ัว , Nostoc พบในรากปรง , Anabena พบในแหนแดง จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
(cyanophyta) ลกั ษณะสาคญั ของ cyanobacteria - โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบโพรคาริโอต นิวเคลียสไม่เยื่อหุ้ม เชน่ เดยี วกบั แบคทีเรีย - สังเคราะห์ด้วยแสงได้ มีรงควัตถุชนิดเดียวกับท่ีพบในพืช แต่ กระจายอยู่ในไซโทพลาสซึมของเซลล์ ไม่ได้อยู่ในคลอโรพลาสต์ รงควัตถุส่วนใหญ่คือ คลอโรฟิลล์ เอ (สีเขียว) ไฟโคไซยานิน (สีน้าเงนิ ) ไฟโคอีริทรนิ (สีแดง) และรงควัตถุอ่ืนเล็กนอ้ ย - ผนงั เซลล์เป็นสารพวกเซลลูโลส และเพกตนิ 39 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
(cyanophyta) การสืบพนั ธ์ุ เปน็ แบบไม่อาศยั เพศ ไดแ้ ก่ - การแบ่งตวั (fission) พบในเซลลเ์ ดย่ี ว 40 - การหักเปน็ ท่อน (fragmentation) พบในพวกเปน็ สาย - สร้างสปอร์ ในบางชนิด จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
(cyanophyta) ประโยชนข์ อง Cyanobacteria นอกจากเป็นผู้ผลิตของระบบนิเวศแล้ว ยังมีประโยชน์แก่มนุษย์ใน ด้านอน่ื ๆ อีก ดังน้ี Spirulina Anabaena Nostoc - สไปรูไลนา (Spirulina) หรือสาหร่ายเกลียวทอง มีโปรตีนสูงมาก (55-65% ของ น้าหนักแหง้ ) ใช้เปน็ อาหารเสรมิ ของคนและสัตว์เลี้ยงได้ - แอนาบีนา (Anabaena) คาโลทริก (Calotric) และนอสตอก (Nostoc) ตรึง ไนโตรเจนได้ (เปล่ียน N2NO3)จึงมีการผลิตสาหร่ายเหล่านี้เพ่ือเป็นปุ๋ยชีวภาพ41 จดั ทสำโดยาครูสหุกฤตำรโสมบัล ใช้ในนาขา้ ว
ไลเคน (lichens) 42 ไ ล เ ค น เ ป็ น ก ลุ่ ม ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต ท่ี ประกอบด้วยราและสาหร่ายอยู่ร่วมกันแบบ ภาวะท่ีต้องการพึ่งพา (mutualism) โดย สาหร่ายได้รับการห่อหุ้มและความชุ่มชื้นจาก รา ส่วนราได้รับอาหารที่สาหร่ายสร้างขึ้น ซ่ึง ถ้าแยกกันอยู่สาหร่ายส่วนใหญ่จะดารงชีวิต อสิ รจดั ทะำโดยไครดูสุกฤต้ดำ โสมี ลแตร่ าเจรญิ ไดไ้ ม่ดี
- สาหร่ายอาจเป็นสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงนิ หรือสาหรา่ ยสเี ขียว - ราอาจเป็นพวก Penicillium หรอื Aspergillus การอยู่ร่วมกันเป็นไลเคนมี 2 แบบ คือ แบบสาหร่ายกระจายทั่วไปในไมซีเลียม ของรา และแบบสาหรา่ ยเรียงตวั เปน็ ระเบียบ มีไมซเี ลยี มของราห่อหุม้ ไว้ ไลเคนพบมากกว่า 15,000 ชนิด พบมาก 43 ในแหล่งท่ีอยู่ที่แห้งแล้ง เช่น บนก้อนหิน เปลจอื ดั ทำโกดย คไรูสกุ ฤมตำ โ้สมดล นิ ทขี่ าดความอดุ มสมบรู ณ์
ไลเคนแบง่ ตามรปู รา่ งและรปู แบบการเจรญิ เตบิ โต แบง่ ไดเ้ ปน็ 3 พวกใหญ่ๆ ไดด้ ังน้ี 1) ครัสโตสไลเคน (crustose lichens) มีลักษณะเป็นแผ่นแบน เจริญทาบติดอยู่บนก้านหิน หรอื เปลอื กไม้ เปน็ กลุ่มสิง่ มีชวี ติ บกุ เบกิ ทขี่ ึน้ ในท่แี ห้งแล้งมากๆ 2) โฟลิโอสไลเคน (foliose lichens) มลี กั ษณะคล้ายใบไม้ มีเฉพาะส่วนท่ีเรียกว่า ไรซอยด์ ยดึ ตดิ กบั ก้อนหนิ หรือต้นไม้ เช่น ฟองหนิ 3) ฟรูตโิ คสไลเคน (fruticose lichens) มลี ักษณะเปน็ พุ่มเตี้ยๆ แตกแขนงเป็นกงิ่ เล็กๆ เชน่ ฝอยลม 44 จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
45 จดั ทำโดย ครูสกุ ฤตำ โสมล
ประโยชน์ของไลเคน - เปน็ กลุ่มส่งิ มชี วี ิตบุกเบกิ ในการเปลีย่ นแปลงแทนท่ี 46 - ใช้เป็นอาหารของสัตว์ เช่น ไลเคนแถบขั้วโลก เช่น เรนเดียร์มอส เป็น อาหารของกวางคาริบูน กวางเรนเดยี ร์ บางชนดิ ใชเ้ ปน็ อาหารของคนได้ - ใชเ้ ป็นยารกั ษาบาดแผล - สารสีที่ไลเคนผลิตข้ึน ใช้เป็นสีย้อมผ้า สีผสมอาหาร เป็นสีลิตมัส (ใช้วัด ความเปน็ กรดเบส) - ใช้เป็นเครื่องช้ีมลภาวะของอากาศได้ ไลเคนไวมากต่อความเป็นพิษตะก่ัว และโลหะหนักทีม่ อี ยใู่ นไอเสียรถยนต์ จดั ทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล
Search
Read the Text Version
- 1 - 46
Pages: