Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการเรียนการสอน (ppt) เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

สื่อการเรียนการสอน (ppt) เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

Published by suklittha24, 2023-06-25 08:06:59

Description: สื่อการเรียนการสอน (ppt) เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
รายวิชา ชีววิทยา ระดับชั้น ม.6
โดยครูสุกฤตา โสมล
โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี

Search

Read the Text Version

Unit 2 : การเคลอ่ื นทข่ี องสิง่ มีชวี ติ 1

องค์ประกอบของเซลล์ 1.สว่ นทีห่ ่อหมุ้ เซลล์ 2.Nucleus 3.Cytoplasm & Organelles -Cytoskeleton 2 1.Microfilament 2.Microtubule 3.Intermediate filament จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล

Movement หรือ Locomotion ▪ Motile animal ▪ Sessile animal ❑ การจาแนกกลมุ่ สตั วเ์ พอ่ื ศึกษา การเคลอื่ นท่ี 1.Unicellular - Skeleton? 2.Multicellular 3 2.1 Hydrostatic skeleton จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 2.2 Exoskeleton 2.3 Endoskeleton

จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 4

สัตว์เซลล์เดยี ว ▪ สัตว์เซลล์เดียวท่สี ร้างเท้าเทียม เช่น อะมบี า (Amoeba) การเคลอื่ นทแ่ี บบอะมบี า (amoeboid movement) - เคล่อื นท่ีโดยใชก้ ารไหลเวยี นของ cytoplasm ซง่ึ อาศยั การทางานของ microfilament - การไหลเวียนของ cytoplasm ทาใหเ้ กิดการสรา้ งสว่ นของเทา้ เทยี ม (pseudopodium) sol gel WBC Slime mold Slime mold จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล : The Movement of Life By Miss. Suklittha Somon 5

▪ สัตว์เซลล์เดยี วที่ใช้ซิเลยี (cilia) และแฟลเจลลมั (flagellum)ในการเคล่ือนท่ี Paramecium : cilia Euglena : flagellum Sperm cell : (flagellum - ความยาวแฟลเจลลัมยาวมากกว่าซิเลียถงึ 50 เท่า - จานวนซเิ ลียมจี านวนมากกว่าแฟลเจลลัม 3.1 ซเิ ลีย เช่น Vorticella sp. , Stentor sp. 3.2 แฟลเจลลัม เช่น Volvox sp. , Trichonympha sp. จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสม:ลThe Movement of Life Trichonympha Vorticella Stentor By Miss. Suklittha Somon 6

Comparison table • Cilia & Flagellum • Basal body , centriole • รหสั แบบ 9 + 2 (9 + 2 = 20) • รหสั แบบ 9 + 0 ( 9 + 0 = 27 ) (nine doublets and central pairs) (nine triplets) -ซเิ ลียและแฟลเจลลมั ประกอบขนึ้ จากท่อไมโครทบู ลู เรยี งตวั กนั แบบ 9+2 (เรยี งเป็นวง 9 มดั แต่ ละมดั มีไมโครทบู ลู 2 แทง่ และตรงกลางมีไมโครทบู ลู อีก 2 แท่ง) -บรเิ วณฐานหรอื โคนของซเิ ลียและแฟลเจลลมั เรยี กว่า basal body หรอื kinetosome มี การเรยี งตวั ของไมโครทบู ลู เป็นแบบ 9+0 (เรยี งเป็นวง 9 มดั แตล่ ะมดั มีไมโครทบู ลู 3 แท่ง และ ตรงกลางไม่มี) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสม:ลThe Movement of Life By Miss. Suklittha Somon 7

จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โส: Tมhลe Movement of Life By Miss. Suklittha Somon 8

จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล : The Movement of Life By Miss. Suklittha Somon 9

สัตวไ์ มม่ ีกระดกู สนั หลงั ▪ การเคลอื่ นทีข่ องไฮดรา จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล : The Movement of Life By Miss. Suklittha Somon 10

▪ การเคลอื่ นท่ีของดาวทะเล -การหดตวั ของเนือ้ เย่ือขอบกระด่งิ และผนงั ลาตวั สลบั กนั ทาใหเ้ กิด แรงดนั นา้ (jet repulsion) ผลกั ใหต้ วั ของแมงกะพรุนเคล่อื นท่ีไปขา้ งหนา้ ได้ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสม:ลThe Movement of Life By Miss. Suklittha Somon 11

▪ การเคลอื่ นท่ขี องหมึก -การเคล่ือนไหวของหมึกเกิดจากการหดตัวของ กลา้ มเนือ้ บริเวณลาตัว ทาใหน้ า้ ภายในลาตัวพ่น ออกมาทาง ทอ่ ไซฟอน (siphon) เกิดแรงดนั นา้ เช่นเดียวกับในแมงกะพรุน ทาให้หมึกสามารถ เคล่ือนท่ีไปไดใ้ นทิศทางตรงขา้ มกบั ทิศทางของนา้ ท่ี พ่นออก จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล : The Movement of Life By Miss. Suklittha Somon 12

การเคลอื่ นทขี่ องสตั ว์ไมม่ กี ระดกู สนั หลงั การทางานของกลา้ มเนือ้ แบบ antagonism คือ การทางานของกลา้ มเนือ้ สองชดุ ท่ีทางานตรง ขา้ มกนั เชน่ กลา้ มเนือ้ ชนิดหน่งึ เกิดการหดตวั กลา้ มเนือ้ อีกชนิดก็จะเกิดการคลายตวั ซง่ึ เป็นรูปแบบ การทางานของกลา้ มเนือ้ ในสตั ว์ ▪ การเคลอื่ นที่ของหนอนตัวกลม - มีกลา้ มเนือ้ ตามยาว (longitudinal muscle) เพียงอยา่ งเดียว - เคล่อื นไหวโดยงอตวั สา่ ยไปมา (สะบดั ไปมา) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 13

▪ การเคลอ่ื นท่ขี องหนอนตัวแบน -เคลือ่ นทโ่ี ดยใชก้ ล้ามเนอ้ื 2 ชุดคือ กล้ามเนอ้ื ตามยาว (longitudinal muscle) และกลา้ มเนื้อวง (circular muscle) ซึง่ ทางานแบบ antagonism กนั ทาให้ หนอนสามารถคบื คลานไปตามพนื้ ได้ มีกล้ามเน้อื แนวทแยง ทาให้ตวั แบน จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โส: มThลe Movement of Life By Miss. Suklittha Somon 14

▪ การเคลอื่ นที่ของไสเ้ ดอื นดนิ เคลื่อนที่โดยใช้กลา้ มเนอ้ื 2 ชดุ คือ ▪ กล้ามเนื้อตามยาว (longitudinal muscle) ▪ และกลา้ มเน้อื วง (circular muscle) ซ่ึงทางานแบบ antagonism กัน -ถา้ กลา้ มเนือ้ วงหดตวั กลา้ มเนือ้ ตามยาวจะคลายตวั บรเิ วณลาตวั จะยืดยาวออก -ถา้ กลา้ มเนือ้ วงคลายตวั กลา้ มเนือ้ ตามยาวจะหดตวั บรเิ วณลาตวั จะหดสนั้ โป่งออก ❑ ไสเ้ ดือนดินจะมีเดือย (setae) ช่วยในการยึดจิก ดินทาใหเ้ กิดการเคล่อื นท่ีไดม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากขนึ้ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โส: Tมhลe Movement of Life By Miss. Suklittha Somon 15

▪ การเคลอื่ นท่ขี องดาวทะเล จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 16

1.Madreporite ❑ การเคล่ือนไหวของดาวทะเลจะใช้ระบบนา้ เป็นหลัก 2.Ring canal 3.Radial canal -น้าจะเข้ามาทาง madreporite แล้วจึงต่อเขา้ ไปใน 4.Ampulla โครงสร้างของกระเปาะทเี่ รยี กวา่ ampulla จากนนั้ กลา้ มเนือ้ 5.Tube feet บริเวณ ampulla จะหดตวั ทาใหส้ ่วนของ tube feet ยืดไป (เทา้ ทอ่ /เทา้ หลอด) แตะพื้นใต้น้าได้ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล -เมอ่ื ดาวทะเลตอ้ งการจะหด tube feet กลบั คืนก็จะดดู นา้ กลับเขา้ ไปเกบ็ ใน ampulla ใหมอ่ ีกครงั้ หนง่ึ - ใช้แรงดันนา้ - เป็ นระบบทอ่ นา้ 17

สตั วก์ ลมุ่ Exoskeleton 1.เคล่ือนทีโ่ ดยการเหยียด-งอรยางคแ์ ขนขา อาศยั การทางานของกลา้ มเนอ้ื 2 ชดุ ทท่ี างานตรงขา้ มกนั 2.การบนิ ของแมลง อาศัยการทางานของกล้ามเน้อื 2 ชดุ ทท่ี างานตรงข้ามกัน จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 18

▪ การเคลอื่ นทข่ี องแมลง 1.เคลื่อนที่โดยการเหยียด-งอรยางค์ แ ข น ข า อ า ศั ย ก า ร ท า ง า น ข อ ง กลา้ มเนอื้ 2 ชดุ ทที่ างานตรงขา้ มกนั -กลา้ มเนือ้ flexor หดตวั จะทาใหเ้ กิดการงอเขา้ ของรยางค์ -กลา้ มเนือ้ extensor หดตวั จะทาใหเ้ กิดการเหยียด/ยืดของรยางค์ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 19

2.การบินของแมลง อาศัยการทางานของกลา้ มเนอื้ 2 ชดุ ทีท่ างานตรงขา้ มกนั -กลา้ มเนือ้ ยดึ เปลือกอกหดตวั กลา้ มเนือ้ ตามยาวคลายตวั ทาใหป้ ีกแมลงยกขึน้ - กลา้ มเนือ้ ยดึ เปลอื กอกคลายตวั กลา้ มเนือ้ ตามยาวหดตวั ทาใหป้ ีกแมลงหุบลง จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 20

การเคลอ่ื นท่ขี องสตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั ทใี่ ชก้ ลา้ มเนอ้ื ▪ โลมา และวาฬ - ใชก้ ารตวดั ขนึ้ ลงของสว่ นหวั และหางสลบั กนั ▪ เตา่ ทะเล แมวน้า สงิ โตทะเล - ใช้ flipper (ใบพาย) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 21

▪ เป็ด กบ (ส่วนเทา้ ) - ใช้ web ท่ีอยรู่ ะหวา่ งนิว้ เทา้ ▪ เสือชีตาร์ - กระดกู สนั หลงั ยาวและโคง้ งอคลา้ ยคนั ธนู - กระดกู ขาแขง็ แรงมาก (โดยเฉพาะขาหลงั ) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 22

▪ ปลา ลกั ษณะการเคล่ือนท่ีของปลา จะมีการว่ายนา้ ในลกั ษณะโคง้ ไปมา โดยการหดตวั และคลายตวั ของกลา้ มเนือ้ ท่ียดึ ติดกบั กระดกู สนั หลงั โดยการหดตวั ของกลา้ มเนือ้ จะเรม่ิ จากดา้ นหางไลข่ นึ้ มาดา้ นหนา้ ribbon eel (ปลาไหลริบบนิ้ ) 23 จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล

จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 24

Question : ปลามกี ารปรบั ตวั เพอื่ ลดแรงเสยี ดทานในนา้ อยา่ งไรบา้ ง? จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 25

▪ นก นกจะมีกระดูกท่ีกลวงเพ่ือลดนา้ หนักขณะเกิดการบิน แต่จะมีการ พัฒนาส่วนของกระดูกหนา้ อก (keel) และกระดูก Humerus เพ่ือใหก้ ลา้ มเนือ้ ยกปีกและกลา้ มเนือ้ กดปีกมายึดเกาะ และควบคมุ การบินได้ โดยกล้ามเนือ้ ทั้งสองชุดนีจ้ ะทางานตรงข้ามกันแบบ antagonism จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 26

-นกมีกล้ามเนื้อท่ีใช้ในการขยับปี กท่ีแข็งแรง โดย 27 กลา้ มเนือ้ จะยดึ อย่รู ะหวา่ งโคนปีกกบั กระดกู อก (keel หรอื sternum) - กล้ามเนื้อคู่หน่ึงทาหน้าท่ีเป็ นกล้ามเนื้อยกปี ก (levater muscle) คือกลา้ มเนือ้ pectoralis minor แ ล ะ ก ล้า ม เ นื้อ อี ก คู่มี ข น า ด ใ ห ญ่ ม า ก ท า ห น้ า ท่ี ใ น ก า ร หุ บ ปี ก ล ง ( depressors muscle) คอื กลา้ มเนือ้ pectoralis major จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล

ทาไมนกจงึ บนิ ไดด้ ี? จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 28

การเคล่อื นไหวของมนษุ ย์ ❑ การเคล่อื นไหวเกิดจากการทางานรว่ มกนั ของระบบโครงกระดกู (skeletal system), และระบบกลา้ มเนือ้ (musculoskeletal system) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 29

Human muscles; กลา้ มเนือ้ ของมนษุ ยส์ ว่ นใหญ่จะมีการทางานแบบ antagonism กนั เชน่ กลา้ มเนือ้ ไบเซฟ (bicep) และกลา้ มเนือ้ ไตรเซฟ (tricep) - ถา้ กลา้ มเนือ้ ไบเซฟหดตวั กลา้ มเนือ้ ไตรเซฟจะคลายตวั แขนจะ เกิดการพบั งอเขา้ - ถา้ กลา้ มเนือ้ ไบเซฟคลายตวั กลา้ มเนือ้ ไตรเซฟจะหดตวั แขนจะ เหยียดออก จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 30

ระบบโครงกระดกู ของมนษุ ย์ (Human skeletal system) หน้าทขี่ องระบบโครงกระดกู 1.เป็นโครงร่างทาให้คงรูปร่างอยู่ได้ นับเป็น หนา้ ทีท่ ี่สาคญั ที่สุด 2.เปน็ ท่ียดึ เกาะของกลา้ มเน้ือลาย รวมท้งั พังผืด 3.เป็นโครงร่างห่มหุ้มป้องกันอวัยวะภายใน ไม่ให้เป็นอันตราย เช่น กระดูกสันหลังป้องกัน ไขสันหลัง 4.เปน็ แหลง่ เก็บแคลเซยี มที่ใหญท่ ีส่ ุด 5.เป็นแหลง่ สรา้ งเมด็ เลือดชนิดต่างๆ 6.ชว่ ยในการเคล่อื นไหว โดยเฉพาะกระดกู ยาว ทาใหเ้ ราสามารถเคล่อื นไหวเปน็ มมุ ทีก่ ว้างขน้ึ 7.กระดูกบางชนิดยงั ชว่ ยในการนาคลื่นเสยี ง ช่วยในการได้ยนิ เชน่ กระดกู คอ้ น ทั่ง โกลน ซึ่งอยใู่ นหูสว่ นกลาง จะทาหน้าท่นี าคล่นื เสียงผ่านไปยังหสู ่วนใน จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 31

ข้อควรทราบเพิม่ เตมิ - กระดกู สันหลงั แตล่ ะช้ินจะเรยี งต่อกันโดยมแี ผ่นกระดูกออ่ นทเี่ รยี กวา่ หมอนรอง กระดกู (intervertebral disc) สาหรับรองและเชอ่ื มกระดกู สันหลงั แตล่ ะข้อเข้าดว้ ยกัน - นอกจากน้ีหมอนรองกระดูกยงั ทาหน้าทช่ี ว่ ยลดการเสียดสรี ว่ มกบั นา้ ไขขอ้ (synovial fluid) อีกด้วย Bone structure -red bone marrow : ไขกระดูกแดง (แหล่ง -periosteum ผลิตเซลล์เมด็ เลือดแดง เย่ือหุม้ กระดูก ท่ีสาคญั ) -compact bone -yellow bone marrow กระดูกทึบ : ไขกระดูกเหลอื ง (มี ไขมันเปน็ องค์ประกอบ -spongy bone อาจเปลยี่ นเป็นไข กระดูกพรนุ กระดูกแดงได้ถ้าเกดิ ภาวะฉุกเฉนิ ) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 32

Human bones จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 33

รา่ งกายของมนษุ ยท์ โ่ี ตเต็มวยั จะมกี ระดูกทง้ั หมดในร่างกาย 206 ชิ้น ซึ่งแบ่งออกได้เปน็ 2 ส่วน คอื 1. กระดกู แกน (axial skeleton) (80) - กลมุ่ ของกระดูกทอ่ี ยูใ่ นแนวกึ่งกลางของร่างกาย ได้แก่ กะโหลกศรี ษะ (skull) กระดูกสันหลงั (vertebrae) กระดูก หนา้ อก (sternum) และกระดูกซ่โี ครง (ribs) 2. กระดกู รยางค์ (Appendicular skeleton) (126) - กลุ่มของกระดกู ทอ่ี ยนู่ อกเหนือไปจากกระดกู แกน ไดแ้ ก่ กระดกู ไหปลารา้ (clavicle) กระดูกแขนขา ❑ ในทารกแรกเกิดจะมีกระดูกอ่อน 350 ช้ิน ต่อมาเมื่อ ร่างกายเจริญเติบโตข้ึนเมื่ออายุประมาณ 20-25 ปี กระดูกจะเชื่อมกันสมบูรณ์จนเหลือจานวน 206 ชิ้นซ่ึง เปน็ กระดกู ท่แี ข็งและอยอู่ ย่างถาวร จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 34

Axial Skeleton (80) 1. กระดกู กะโหลกศรี ษะ (skull) มี 29 ชนิ้ 2. กระดกู สนั หลัง (vertebrae) มี 26 ช้นิ โดยจะมแี ผ่น กระดูกออ่ น/หมอนรองกระดกู (intervertebral discs) ทาหน้าที่รองและเชื่อมกระดกู สันหลังแตล่ ะข้อ ปอ้ งกัน การเสียดสี จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 35

ลากระดกู สนั หลงั (Vertebral column) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 36

3. กระดกู ซโี่ ครง (ribs) มที ั้งหมด 12 คู่ โดยคู่ที่ 11 และ 12 จะมขี นาดสนั้ และไม่เชือ่ มต่อ กบั กระดูกหน้าอก เรยี กว่า ซีโ่ ครงลอย (floating ribs) ระหวา่ งกระดกู ซี่โครงจะมี กลา้ มเนือ้ 2 ชุดทางานแบบ antagonism ไดแ้ ก่ กล้ามเนอ้ื ยึดซโ่ี ครงแถบนอกและ กลา้ มเนื้อยดึ ซ่ีโครงแถบใน ทาให้ซ่โี ครงเคลอื่ ข้นึ และลงขณะหายใจ 4. กระดกู หนา้ อก (sternum) มี 1 ชน้ิ อยทู่ างด้านหน้าของช่วงอก เปน็ ทย่ี ึดของ กระดกู ซโ่ี ครงต้ังแต่คูท่ ี่ 1 ถึงคู่ที่ 10 จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 37

Appendicular skeleton (126) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 38

การแบง่ กระดกู ตามรปู รา่ ง ขอ้ ต่อ (joint) เป็นบริเวณรอยตอ่ ของ กระดกู ในรา่ งกาย ชว่ ยให้กระดกู แต่ละช้นิ สามารถเคล่ือนไหวได้ มีหลายชนดิ ชนิดของขอ้ ตอ่ (joint) 39 1.ข้อตอ่ ที่เคลือ่ นไหวไม่ไดเ้ ลย (immovable joint) พบบริเวณกะโหลกศรี ษะ เชอื่ มตอ่ กนั คลา้ ย jigsaw 2.ขอ้ ต่อทเ่ี คลอ่ื นไหวได้เล็กน้อย พบบริเวณ กระดูกสันหลงั จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล

3.ข้อทเี่ คลอ่ื นไหวไดม้ ากมีหลายชนิด ไดแ้ ก่ ▪ ข้อตอ่ แบบลกู กลมในเบ้ากระดกู (ball and socket joint) : พบ บรเิ วณหัวไหลท่ าให้การเหวยี่ งแขน เกิดได้รอบทศิ ทางแบบ 360������ ▪ ขอ้ ต่อแบบบานพบั (hinge joint) : พบบรเิ วณข้อศอก ทาใหเ้ กิดการ เคล่อื นไหวคลา้ ยบานพับประตู ▪ ขอ้ ตอ่ แบบเดอื ย (pivot joint) : พบ บริเวณรอยต่อระหว่างตน้ คอกับฐาน ของกะโหลกศีรษะ ทาให้สามารถกม้ เงย บิดซา้ ยและขวาได้ ▪ ข้อต่อแบบอานมา้ (saddle joint) : พบบรเิ วณข้อต่อของกระดูกน้วิ มือ กบั ฝา่ มอื มีลกั ษณะโคง้ นูนและเวา้ สอดคล้องกันพอดี ▪ ขอ้ ต่อแบบสไลด์ (gliding joint) : พบบริเวณขอ้ มอื หวั เข่า มีลักษณะเป็น 40 แผน่ แบนเรียงกนั ▪ ข้อตอ่ แบบ condyloid joint : พบบริเวณขอ้ ระหวา่ งกระดกู radius และ carpal สามารถเคล่ือนไหวได้สองทาง งอเข้าและเหยียดออก จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล

โครงสรา้ งบรเิ วณขอ้ ต่อ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 41

ประเภทของเสน้ เอน็ 1. The ligament : เอ็นที่ยึดกระดกู กับกระดกู 2. The tendon : เอ็นท่ียดึ ระหวา่ งกระดกู กับ กลา้ มเนื้อ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 42

Human Musculoskeletal system เนื้อเยอื่ กล้ามเนื้อในรา่ งกายแบง่ ออกได้เปน็ 3 ชนิดหลักคอื 1. Skeletal muscle 43 /Striated muscle 2. Smooth muscle 3. Cardiac muscle จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล

จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 44

ตารางสรปุ ความแตกตา่ งของเนื้อเยอ่ื กลา้ มเนอ้ื แตล่ ะชนดิ ลกั ษณะ กล้ามเนือ้ ยดึ กระดูก กล้ามเนือ้ เรียบ กล้ามเนือ้ หวั ใจ เปรยี บเทยี บ ทรงกระบอกยาว ยาวเรียว (กระสวย) ทรงกระบอก รูปรา่ งลักษณะ หลายนวิ เคลียส 1 นวิ เคลยี ส 1-2 นวิ เคลยี ส อยชู่ ดิ ติดขอบเซลล์ กึง่ กลางเซลล์ กง่ึ กลางเซลล์ จานวนนิวเคลียส ไม่มี ไม่มี มี ตาแหนง่ ของนิวเคลยี ส ใต้อานาจจติ ใจ นอกอานาจจิตใจ นอกอานาจจิตใจ การแตกแขนงของ เซลล์ ยดึ กบั กระดูก อวยั วะภายในรา่ งกาย หวั ใจ การควบคุมการทางาน มาก นอ้ ย มากทีส่ ุด ตาแหนง่ ที่อยู่ หดตวั เร็วทส่ี ุด และมี หดตัวชา้ ที่สุด หดตัวและคลายตัวเปน็ ความต้องการพลังงาน ความแรงในการหดตวั สูง จังหวะตลอดชีวิต ลักษณะการทางาน จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 45

กล้ามเน้ือไบเซฟ (bicep) ประกอบด้วย มัดกล้ามเน้ือ (muscular bundle หรือ fascicle) - แตล่ ะมัดกลา้ มเนื้อจะประกอบด้วย เซลล์กล้ามเนอ้ื (muscle fiber) จานวนมาก - แตล่ ะเซลลป์ ระกอบดว้ ย เสน้ ใยกลา้ มเนอ้ื (myofibril) เรียงตลอดความยาว - ในแต่ละเส้นใยกล้ามเน้ือเองจะประกอบด้วย myofilament ซ่ึงประกอบข้ึนจาก โปรตีนแอกติน (actin)และโปรตีนไมโอซิน (myosin) เรียงตัวเป็นหน่วยย่อยซ้าๆ กนั เรียกวา่ ซารโ์ คเมยี ร์ (sarcomere) จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 46

จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 47

ซารโ์ คเมยี ร์ (Sarcomere) ▪ ซาร์โคเมียร์ เป็นเหมือนหน่วยท่ีเรียงซ้ากัน ไ ป ม า ใ น myofibril เ ม่ื อ ดู ด้ ว ย ก ล้ อ ง จุลทรรศน์อิเล็กตรอนจะพบเห็นเป็นแถบ หนาบางเรยี งสลบั กัน - สว่ นท่ีเปน็ แถบบางจะเกิดจากโปรตนี แอกติน (actin) - ขณะทีส่ ่วนหนาจะเกดิ จากโปรตีน ไมโอซนิ (myosin) ซ่ึ ง โ ป ร ตี น ท้ั ง ส อ ง ช นิ ด น้ี ท า ห น้ า ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง โดยตรงกับการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อ ยดึ กระดูก จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 48

โครงสรา้ งของ sarcomere แบ่งออกเป็นบรเิ วณต่างๆ ดังนี้ 1.Z-line เปน็ บริเวณท่กี ้นั แยก ระหวา่ ง sarcomere แตล่ ะอัน ออกจากกนั 2.I-band เปน็ บริเวณท่พี บ เฉพาะโปรตีนแอกตนิ (actin) เพียงอยา่ งเดยี ว เหน็ เป็นแถบ บาง 3.A-band เป็นบริเวณของโปรตีนไมโอซนิ (myosin) ท้ังหมด ซึ่งอาจมีแอกตนิ ซอ้ นเหล่ือมกันอยู่ 4.M line เปน็ บริเวณกึง่ กลางของแตล่ ะซาร์โคเมียร์ 5.H zone เป็นบรเิ วณทพี่ บเฉพาะโปรตีนไมโอซินเทา่ นน้ั ไม่พบโปรตนี แอกตนิ จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 49

Muscle contraction การหดตวั ของกล้ามเน้อื จะเกิดขึ้นท่ีบรเิ วณ sarcomere แนวคดิ นีถ้ ูกเสนอโดยนกั สรีรวิทยา 2 คน คอื Hugh Huxley และ Thomas Huxley โดยแนวคดิ นีเ้ รยี กว่า sliding-filament theory ▪ การหดตัวของกล้ามเนื้อเกดิ จากการเล่ือนของ โปรตีนแอกตนิ (actin) เขา้ หากนั ในแนวกึ่งกลาง ของแต่ละ sarcomere ขณะท่ีโปรตีนไมโอซินจะ อยกู่ ับท่ี ▪ ดงั นั้น เมอ่ื กลา้ มเน้ือเกิดการหดตวั ส่วนของ I-band และ H zone จะหดส้นั ลง ขณะท่ีสว่ นของ A-band จะคงท่ี ❑ การหดตัวของกลา้ มเนอ้ื เปน็ กระบวนการทตี่ ้องใช้พลงั งานและตอ้ งอาศยั กลไก ❑ แต่การคลายตัวของกล้ามเน้ือเป็นการเกิดขึ้นเอง ไม่จาเป็นต้องใช้พลังงานและ กลไกเพอ่ื ทาให้เกดิ การคลายตวั . จัดทำโดย ครูสุกฤตำ โสมล 50