องค์ประกอบพนื้ ฐานของระบบการส่อื สารขอ้ มลู รูปที่ 1 องคป์ ระกอบพ้ืนฐานของระบบการสอ่ื สารขอ้ มลูการสือ่ สาขอ้ มูล หมายถงึ การแลกเปลีย่ นข้อมูล/ข่าวสารโดยผ่านทางสื่อกลางในการส่ือสารซึ่งอาจเป็นส่อื กลางประเภททีม่ ีสายหรือไรส้ ายก็ได้ องค์ประกอบพ้ืนฐานของระบบการส่ือสารขอ้ มูล ดังรปู ที่ 4.4 ประกอบด้วยข้อมลู /ข่าวสาร (data/message) คือข้อมูลหรือสารสนเทศต่างๆ ท่ีต้องการส่งไปยังผู้รับโดยข้อมูล/ขา่ วสารอาจประกอบด้วยข้อความ ตวั เลข รูปภาพ เสียง วีดีทศั น์ หรอื ส่ือประสมผสู้ ่ง (sender) คือ คนหรอื อุปกรณ์ท่ีใชส้ าหรับส่งขอ้ มลู /ข่าวสาร ซึ่งอาจเปน็ เครื่องคอมพิวเตอร์โทรศัพท์ กลอ้ งวดี ีทัศน์ เป็นตน้ผู้รบั (receiver) คอื คนหรืออปุ กรณ์ทใี่ ช้สาหรับรบั ข้อมลู /ข่าวสารทท่ี างผูส้ ่งขอ้ มลู ส่งให้ซึ่ง อาจเปน็ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ โทรศพั ท์ เปน็ ต้นสอื่ กลางในการสง่ ข้อมลู (transmission media) คอื ส่ิงทีท่ าหนา้ ท่ใี นการรับส่งข้อมูลข่าวสารไปยงั จดุ หมายปลายทาง โดยการส่ือกลางในการส่งข้อมูลจะมที ั้งแบบมสี าย เช่น สายเคเบลิ สายยูทีพี สายไฟเบอรอ์ อพตกิ และสอื่ กลางในการส่งข้อมลู แบบไรส้ าย เชน่ คล่นื วิทยุ ไมโครเวฟ และดาวเทยี มโพรโทคอล (protocol) คอื กฏเกณฑ์ ระเบียบ หรือข้อปฏิบัติต่างๆ ท่ีกาหนดขึ้นมาเพื่อเป็นข้อตกลงในการส่ือสารข้อมูลระหว่างผู้รบั และผ้สู ง่
รปู ท่ี 2 สัญญาณแอนะลอ็ กและสัญญาณดิจิทัล- สญั ญาณที่ใชใ้ นระบบการสื่อสาร แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คือ สัญญาณแอนะล็อก (analogsignal) และสัญญาณดิจทิ ัล (digital signal) ดังรูปท่ี 4.5 สัญญาณแอนะล็อกเป็นสัญญาณท่ีมีขนาดแอมพลิจูด (amplitude) ที่เปล่ยี นแปลงตามเวลาและเป็นค่าต่อเนื่อง เช่น เสียงพูด และเสียงดนตรี ส่วนสัญญาณดจิ ิทัลถูกแทนด้วยระดับแรงดันไฟฟ้าสองระดับเท่าน้ันโดยแสดงสถานะ เป็น “0” และ “1” ซึง่ ตรงกบั รหสั ตวั เลขฐานสองในบางครั้งการสื่อสารข้อมูลต้องมกี ารแปลงสัญญาณแอนะลอ็ กและสัญญาณดิจทิ ลั กลับไปมาเพือ่ ให้อยู่ในรปู แบบทีเ่ หใสม และนาไปใช้งานได้ ตัวอยา่ งเช่น การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์สองเครื่องเข้าด้วยกนั โดยผา่ นระบบโทรศัพท์ซึง่ ถกู ออกแบบมาเพ่ือรองรบั เสียงพดู ทีม่ ีลักษณะของสัญญาณเปน็ แบบแอนะล็อก ไมเ่ หมาะสมสาหรบั การสง่ ขอ้ มูลแบบดจิ ทิ ัลระหว่างคอมพิวเตอร์จงึ ตอ้ งมีอปุ กรณช์ ว่ ยในการแปลงสัญญาณ ดจิ ิทัลจากคอมพวิ เตอร์ เพือ่ สง่ ออกไปเป็นสัญญาณแอนะลอ็ ก จากนัน้ จะแปลงกลบั เปน็ สัญญาณดิจทิ ลั เมื่อสญั ญาณถกู ส่งถึงผรู้ ับ โดยผ่านอปุ กรณ์ในการแปลงสัญญาณท่ีเรียกวา่ โมเด็ม (modem) ซ่ึงใช้เทคนคิ การบีบอดั ข้อมูลร่วมกับการแก้ไขขอ้ ผดิ พลาดของขอ้ มลู ท่ีอาจเกิด ขึ้นจากการสง่ สัญญาณด้วย ดังรูปท่ี 3 รูปที่ 3 การแปลงระหวา่ งสญั ญาณดิจทิ ลั และแอนะล็อก
การถ่ายโอนขอ้ มูล เป็นการส่งสัญญาณออกจากอปุ กรณ์ส่ง ไปยังอปุ กรณ์รบั โดยจาแนกได้2 แบบ คือ1.การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน ทาได้โดยการส่งข้อมูลออกมาทีละหลายบิตพร้อมกันจากอุปกรณส์ ่งไปยังอุปกรณ์ รับ ผ่านส่ือกลางนาสัญญาณที่มีช่องทางส่งข้อมูลหลายช่องทางโดยทว่ั ไปจะเปน็ สายนา สญั ญาณหลายๆ เสน้ ที่มจี านวนสายส่งสัญญาณเท่ากับจานวนบิตท่ีตอ้ งการส่งในแต่ละครั้ง เช่น ส่งข้อมูล 11110001 ออกไปพร้อมกัน สายส่งก็ต้องมี 8 เส้นนอกจากการส่งขอ้ มูลหลักที่ตอ้ งการแล้ว อาจมกี ารส่งข้อมลู อน่ื เพิ่มเติมไปด้วย เช่น บิตพาริตี(paritybit) ใช้ในการตรวจสอบความผดิ พลาดของการรบั สัญญาณทป่ี ลายทาง หรอื สายทคี่ วบคุมการโตต้ อบ เพอ่ื ควบคมุ จงั หวะของการรบั -สง่ ขอ้ มูลแต่ละชุด ดังรปู ท่ี 4 รูปท่ี 4 การถ่ายโอนขอ้ มูลแบบขนานสาย สง่ ขอ้ มลู แบบขนานท่ีมคี วามยาวไมม่ าก เน่อื งจากถา้ สายยาวมากเกนิ ไปจะก่อใหเ้ กิดปัญหาสญั ญาณสญู หายไปกบั ความต้าทาน ของสาย และเกดิ การรบกวนกนั ของสัญญาณ การส่งโดยวิธีนจ้ี งึ นิยมใชก้ ับการสง่ ขอ้ มลู ในระยะทางใกล้ ขอ้ ดีของการรบั -ส่งข้อมลู ชนดิ นคี้ อื การรบั -สง่ข้อมูลทาได้เรว็ แตม่ ีข้อเสยี ที่ต้องใช้สายส่งหลายเส้นทาใหม้ คี า่ ใช้จา่ ยสูง ตวั อย่างท่ีพบเห็นได้บ่อย คอื การเชอ่ื มตอ่ ระหว่างเมนบอรด์ กบั ฮารด์ ดิสก์ภายในคอมพิวเตอร์แบบ EIDE ดงั รูปท่ี 4.8ก. และการเช่อื มตอ่ ระหว่างเครือ่ งคอมพิวเตอรก์ ับเคร่ืองพิมพ์ด้วยพอรต์ ขนาน ดังรปู ท่ี 5
รูปท่ี 5 ก การเช่ือมตอ่ ระหว่างเมนบอรด์ กับฮารด์ ดิสก์ รปู ที่ 5 ข การเชอ่ื มตอ่ ระหว่างเคร่อื งพิมพ์กบั เคร่ืองคอมพิวเตอร์2. การถา่ ยโอนข้อมูลแบบอนกุ รม ในการถ่ายโอนข้อมลู แบบอนุกรม ข้อมูลจะถูกส่งออกมาทีละบิต ระหว่างจดุ สง่ และจุดรับ การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรมตอ้ งการสอ่ื กลางสาหรบั การส่ือสารเพียงช่องเดียว หรอื เพียงคสู่ ายเดยี ว ค่าใช้จ่ายในด้านของสายสัญญาณจะถูกกว่าแบบขนานสาหรับการส่งระยะทางไกลๆการถ่ายโอนขอ้ มูลแบบอนกุ รมจะเรมิ่ โดยข้อมูลแต่ละชุดจะถกู เปลีย่ นใหเ้ ป็น อนกุ รมแลว้ ทยอยส่งออกทลี ะบติ ไปยงั จุดรับแต่เนอ่ื งจากการทางานและการส่ง ข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆภายในเคร่อื งคอมพิวเตอร์จะใช้ชอ่ งทางการส่อื สาร แบบขนานท่ีประกอบด้วยชุดของข้อมูลหลายบติ ดังนั้นทจ่ี ดุ รบั จะต้องมกี ลไกในการ เปลย่ี นแปลงข้อมูลทร่ี บั มาทีละบิตใหเ้ ปน็ ชุดของข้อมลู ท่ีลงตวั พอดกี ับขนาด ของชอ่ งทางการส่อื สารที่ใชใ้ นคอมพิวเตอร์เช่น บิตที่ 1 ลงที่บัสข้อมูลเส้นท่ี 1 เป็นตน้ ดังรปู ที่ 4.9 การเชื่อมต่อสามารถทาได้โดยใช้สายถ่ายโอนข้อมูลแลลอนกุ รม หรอื ทเ่ี รียกว่า สายซีเรียล (serial cable) ในปัจจุบันมีการพัฒนาการถ่ายโอนขอ้ มลู แบบนุกรมความเรว็ สงู โดยใชก้ ารเชื่อม ต่อแบบยูเอสบี ตัวอยา่ งการเชอ่ื มต่อแบบอนุกรมกับอุปกรณ์ต่างๆ ดังรูปที่ 6 รูปที่ 6 การถา่ ยโอนข้อมลู แบบอนุกรม
รปู แบบการรบั -ส่งขอ้ มูล ไมว่ ่าจะเป็นการรับ-สง่ ขอ้ มลู แบบขนาน หรืออนกุ รมสามารถแบ่งได้เปน็ 3 แบบดงั น้ี1) การส่ือสารทางเดียว (simplextransmission) ขอ้ มูลสามารถสง่ ได้ทางเดียวโดยแต่ละฝ่ายจะทาหนา้ ทอี่ ยา่ งใดอย่างหนึง่ เช่น เป็นผรู้ บั หรือผสู้ ง่ บางครง้ั เรยี กการสอื่ สารแบบนี้ว่าการส่งทิศทางเดียว (unidirectional transmission) เช่น การกระจายเสียงของสถานโี ทรทศั น์หรอื สถานีวิทยุ2) การสื่อสารสองทางครึ่งอัตรา (halfduplex transmission) สามารถส่งข้อมูลท้ังสองฝ่าย แต่จะตอ้ งผลัดกนั สง่ และผลดั กนั รบั จะสง่ และรบั พร้อมกันไม่ได้ เช่น วิทยุการส่ือสาร ( walkie-talkie radio)3) การส่อื สารสองทางต็มอตั รา (full duplex transmission) สามารถส่งข้อมูลได้สองทางโดยที่ผ้รู บั และผู้ส่งสามารถรับสง่ ข้อมลู ไดใ้ นเวลา เดยี วกัน เช่น การสนทนาทางโทรศพั ทค์ ู่สนทนาคุยโต้ตอบไดใ้ นเวลาเดยี วกัน รปู ที่ 7 ตวั อย่างการเช่ือมตอ่ แบบอนุกรมกับอุปกรณต์ ่างๆ
ชนิดของการส่อื สารการสือ่ สารข้อมูลระหว่างผรู้ บั กบั ผสู้ ง่ สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ประเภท 1. การสอื่ สารขอ้ มลู ทิศทางเดียว (Simplex Transmission) เปน็ การตดิ ต่อส่อื สารเพียงทศิ ทางเดียว คือผ้สู ่งจะส่งข้อมูลเพยี งฝ่งั เดยี วและโดยฝงั่ รับไมม่ กี ารตอบกลับ เช่น การกระจายเสยี งของสถานวี ทิ ยกุ ารสง่ e-mailเปน็ ตน้ 2. การส่อื สารขอ้ มูลสองทศิ ทางสลับกัน (Half Duplex Transmission)สามารถ ส่งข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึ่ง ไปในทิศทางเดียวเทา่ นั้น ท้งั ฝ่ายส่งและฝ่ายรบั หรือพดูอีกนยั หนึ่งคอื ผสู้ ง่ สามารถสง่ ข้อมูลไปใหแ้ กผ่ ้รู บั สว่ นผ้รู บั ก็สามารถโต้ตอบกลบั ได้ แต่ไม่สามารถสง่ สวนทางกันไดใ้ นเวลาเดยี วกนั เชน่ การส่งวทิ ยขุ องตารวจ 3. การสื่อสารข้อมูลสองทศิ ทางพร้อมกัน (Full Duplex Transmission)สามารถ สง่ ขอ้ มลู ในเวลาใดเวลาหนงึ่ ได้ทงั้ 2ทิศทาง ทั้งฝา่ ยส่งและฝา่ ยรับ หรอื พูดอีกนัยหนงึ่คือ ผสู้ ง่ และผู้รบั สามารถโต้ตอบสวนทางกนั ได้ในเวลาเดยี วกัน เชน่ การส่งสัญญาณโทรศัพท์ สนทนmsn,feaebook
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: