Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียนเพศวิถี 1 65

วิจัยในชั้นเรียนเพศวิถี 1 65

Published by Ttp Ttp, 2022-11-12 08:05:01

Description: วิจัยในชั้นเรียนเพศวิถี 1 65

Search

Read the Text Version

วิจัยในชัน้ เรียน การศกึ ษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น และหลังเรยี นของนกั เรยี น เร่อื ง การป้องกันตนเองจากการ ถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศ โดยการใช้เทคนิคการสอนแบบ เพ่อื นชว่ ยเพ่ือน ของนักเรียนระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี โดย นางสาวฐติ าพร ไกรยะราช ตำแหนง่ ครูจ้างสอน งานวิจัยภาคเรียนท่ี 1 ประจำปีการศกึ ษา 2565 วิทยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วิจยั ในชัน้ เรยี น การศกึ ษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น และหลงั เรียนของนักเรยี น เร่อื ง การป้องกันตนเองจากการ ถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ โดยการใชเ้ ทคนคิ การสอนแบบ เพ่อื นช่วยเพอื่ น ของนักเรียนระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบุรี โดย นางสาวฐติ าพร ไกรยะราช ตำแหนง่ ครจู ้างสอน งานวจิ ัยภาคเรยี นที่ 1 ประจำปกี ารศกึ ษา 2565 วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบุรี สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

บทคัดย่อ การวิจยั ครั้งน้มี ีวัตถปุ ระสงค์เพอื่ พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้เพือ่ สง่ เสรมิ การคิดวิเคราะห์รายวิชาเพศวิถี ศกึ ษา รหัสวิชา 20000 - 1602 เรื่อง การปอ้ งกันตนเองจากการ ถกู ล่วงละเมิดทางเพศ โดยการใช้เทคนคิ การสอน แบบเพื่อนช่วย ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ของวทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบุรี ตามเกณฑ์ 75/75 กลุ่มตัวอย่าง เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อง 3 สาขาแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จำนวน 31 คน และเลือกกลุ่มควบคุม แบบเจาะจง นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ ปีท่ี 1 ห้อง 4 สาขาแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จำนวน 31 คน สถิติที่ใช้ คือ ค่าเฉลีย่ และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั พบวา่ 1. แผนการจดั การเรียนรูเ้ พ่ือสง่ เสรมิ การคิดวเิ คราะหร์ ายวชิ าเพศวิถีศึกษา รหัสวิชา 20000 - 1602 เร่ือง เรื่อง การป้องกันตนเองจากการ ถูกล่วงละเมิดทางเพศ โดยการใช้เทคนิคการสอนแบบเพื่อนช่วย ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อง 3 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี มี ประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ E1/E2 = 8.1026 /8.736

สารบญั บทที่ หนา้ 1 1 บทนำ ความเปน็ มาและความสำคัญ…………………………………………………………………………….…...........................................1 คำถามการวจิ ยั ……………………………………………………………………………………………………..........................................2 วัตถุประสงคข์ องการวิจัย…………………………………………………………………………………………......................................2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง………………………………………………………………….…………….…….......................................2 สมมตฐิ านการวิจัย………………………………………………………………………………………….……….......................................2 ขอบเขตการวิจัย……………………………………………………………………………………………………........................................3 กรอบแนวคิดการวิจัย…………………………………………………………………………………………….….....................................3 ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะไดร้ ับ……………………………………………………………………………….………......................................3 2 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เทคนิคการสอนแบบเพอื่ นชว่ ยเพื่อน……………………………………………………………………….….....................................4 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน…………………………………………………………………………….………….…......................................9 3 วิธดี ำเนินการศกึ ษาค้นควา้ กำหนดประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง………………………………………………………………………..……..................................12 เครือ่ งมอื ในการวจิ ยั ……………………………………………………………………………………………..…....................................12 การสรา้ งและการหาคณุ ภาพเครื่องมือ……………………………………………………………………..…...................................13 การเก็บรวบรวมข้อมลู ………………………………………………………………………………………………...................................13 การจัดกระท าข้อมลู และการวเิ คราะหข์ ้อมูล…………………………………………………………..…….................................14 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู สญั ลักษณก์ ารวเิ คราะหข์ อ้ มูล…………………………………………………………….…………………….....................................15 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล…………………………………………………………….……………………………….....................................15 5 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย…………………………………………………………….……………………………...................................18 ขอบเขตการวจิ ยั …………………………………………………………….………………………………….……....................................18 สมมตฐิ านการวจิ ยั …………………………………………………………….……………………………..………...................................18

สารบญั (ต่อ) บทท่ี หนา้ เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการวจิ ยั …………………………………………………………….………………………………..................................19 ขนั้ ตอนในการศกึ ษาค้นควา้ …………………………………………………………….…………………………..................................19 สรปุ ผล…………………………………………………………….………………………………..……………………...................................20 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ อภิปรายผล…………………………………………………………………………………………………………….....................................20 ข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………………......................................20 บรรณานกุ รม………………………………………………………………………………………………………........................................22 ภาคผนวก…………………………………………………………………………………………………...................................................24 ภาคผนวก ก รายชือ่ ผ้เู ชีย่ วชาญ……………………………………………………………………………….....................................25

บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา ปจั จุบันการศกึ ษาเป็นกลยุทธ์หรอื เครื่องมอื ท่ีมีความสำคัญและมี ประสทิ ธิภาพมากที่สุดในการพฒั นา มนุษยใ์ ห้เปน็ มนุษย์ทั้งรา่ งกายและจิตใจ สติปญั ญา ความรู้ คณุ ธรรม มี จริยธรรมในการดำรงชีวิต การเรียน การสอนสุขศึกษาจึงมีความสำคัญทั้งสอนในเรื่องทักษะชีวิตเพ่ือ สามารถนำไปใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างมี ความสุข แต่จากการสอบถามทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาเพศวิถี ศึกษาพบว่า เป็นวิชาที่น่าเบื่อ และนักเรียนไม่ ค่อยให้ความสำคัญกับวิชาเพศวิถีศึกษา เนื่องจากการจัดการเรียน การสอนทเ่ี ปน็ รปู แบบเดิมไม่มคี วามน่าสนใจ นักเรยี นไมเ่ กิดการเรียนร้ทู ำใหผ้ ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนลดลง จงึ คิดว่า ควรศึกษาหารูปแบบการเรียนที่ส่งเสริม ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างเหมาะสม เพศวิถีศึกษามีบทบาท ความสำคัญในชวี ติ ของเรา เพราะสุขศึกษาเก่ียวข้องกับทุกคนท้ังในชีวิตประจำวัน และหน้าที่การงาน การใช้ชีวติ ต่างๆ ในปจั จบุ นั จะตอ้ งมีการนำความรู้สุขศกึ ษามาใช้ช่วยให้มนุษย์ได้พฒั นาวิธี คิดท้งั ความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิด สร้างสรรค์คิดวิเคราะห์วิจารณ์มีทักษะในการค้นคว้าหาความรู้มี ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและมีประจักษ์พยาน ที่ตรวจสอบได้ ดังนั้นทุกคนจึงจำเป็นต้องได้รบั การพัฒนาให้ไดเ้ รยี นรเู้ กยี่ วกบั วชิ าเพศวถิ ีศกึ ษา เพือ่ ท่ีจะมคี วามรู้ ความเข้าใจในธรรมชาติของชีวิตทีส่ ร้างสรรค์ขึ้น สามารถนำความร้ไู ปใชอ้ ยา่ งมเี หตุผลสร้างสรรค์ สขุ ภาพ หรอื สุขภาวะ หมายถงึ ภาวะของมนษุ ยท์ สี่ มบูรณ์ท้ังทาง กาย ทางจิต ทางสงั คม และทาง ปญั ญาหรอื จติ วิญญาณ สุขภาพหรอื สขุ ภาวะจึงเปน็ เรือ่ งสำคัญ เพราะเกย่ี วโยงกับ ทุกมติ ิของชีวติ ซงึ่ ทกุ คนควร จะไดเ้ รยี นร้เู รื่องสุขภาพ เพ่ือจะได้มีความรู้ ความเขา้ ใจที่ถกู ต้อง มีเจตคติ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม รวมทั้งมีทักษะปฏิบัติด้านสุขภาพจนเป็นกิจนิสัย อันจะส่งผลให้สังคมโดยรวมมีคุณภาพ วิชาเพศวิถีศึกษามีความมุ่งหวังการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาธรรมชาติ ศักยภาพ เน้น ความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม ทั้งกระบวนการจัดการเรียนรู้และการบูรณาการอย่างเหมาะสม ธรรมชาติ และ ลักษณะเฉพาะของกลุม่ สาระการเรียนรู้เพศวิถีศกึ ษาและพลศึกษามีเน้ือหาเป็นแกนกลาง แสดงความเป็น ศาสตร์ เฉพาะทางค่านิยมท่ีดขี องสุขภาพมีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเองและผ้อู น่ื จากสภาพปญั หาและความสำคัญ ดังกล่าว ผู้วิจัยเห็นว่าควรหาแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอน ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี จังหวัดชลบรุ ี ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผลต่อ นักเรียนย่ิงขึ้น ผู้วิจัยมีความเห็นว่าควรมี การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบเพือ่ นช่วยเพือ่ น เพื่อให้นกั เรียนไดม้ ี โอกาสลงมอื กระทำมากกวา่ การฟงั เพยี งอย่างเดียว ต้องจดั กจิ กรรมให้ผเู้ รียนไดก้ ารเรียนรู้โดยการอ่าน การเขียน การโตต้ อบ และการวเิ คราะห์ ปัญหา อีกทงั้ ให้ผเู้ รยี นไดใ้ ชก้ ระบวนการคิดขัน้ สูง ได้แก่ การวิเคราะหก์ ารสงั เคราะห์ และการประเมินค่า

2 คำถามการวิจัย 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) ท่ใี ช้เทคนคิ การสอนแบบเพ่ือนชว่ ยเพอ่ื นหลงั เรียนสูงกว่ากอ่ นเรยี นหรอื ไม่ วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย 1.เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น โดยใช้เทคนคิ การสอนแบบเพ่อื นช่วยเพอ่ื น 2.เพือ่ เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง การป้องกันตนเองจากการถกู ล่วงละเมิดทางเพศ ของ นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โดยใช้เทคนิคการสอนแบบเพอ่ื นช่วยเพอ่ื นกับวิธีการสอนแบบปกติ ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 1. ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) อาชีวศึกษาชลบุรี จังหวดั ชลบรุ ี ในภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 รวมทัง้ หมด 560 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อง 3 สาขาแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จำนวน 31 คน และเลือกกลุ่มควบคุม แบบเจาะจง นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อง 4 สาขาแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จำนวน 31 คน วิทยาลัยอาชีวศึกษา ชลบุรี จงั หวัดชลบรุ ี 3. ตวั แปรทีศ่ กึ ษา ตัวแปรที่ศึกษาสำหรับการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 2 ประเภทคือ ตัวแปรอิสระ คือ วิธีการสอนโดยใช้ เทคนิคการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน ตัวแปรตาม คือ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสุขศึกษาเรื่อง การ ป้องกนั ตนเองจากการถูก ล่วงละเมดิ ทางเพศ สมมติฐานการวิจยั 1. นกั เรยี นตัวอยา่ งที่ไดร้ ับเทคนิคการสอนแบบเพือ่ นชว่ ยเพ่ือนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าเพศวิถีศึกษา เรื่อง การป้องกนั ตนเองจากการถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ เพ่ิมสงู ข้นึ กวา่ กอ่ นได้รบั การสอนแบบปกติ 2. นักเรียนตัวอยา่ งทไี่ ดร้ ับเทคนิคการสอนแบบเพ่อื นช่วยเพ่อื นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าเพศวิถีศึกษา เรื่อง การปอ้ งกนั ตนเองจากการถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศดีกวา่ กลุม่ ทีไ่ ด้รับการสอนแบบปกติ

3 3. นักเรียนตวั อยา่ งท่ไี ดร้ บั เทคนิคการสอนแบบเพ่ือนช่วยเพอื่ นมีเจตคติตอ่ การเรยี นวิชาเพศวิถีศึกษาเร่ือง การปอ้ งกนั ตนเองจากการถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศเพิ่มสงู ขึน้ ก่อนได้รับการทดลอง 4. นกั เรยี นตัวอย่างที่ได้รบั เทคนคิ การสอนแบบเพือ่ นชว่ ยเพอ่ื นมีเจตคติตอ่ การเรียนวิชาเพศวิถีศึกษาเร่ือง การปอ้ งกันตนเองจากการถูกล่วงละเมดิ ทางเพศสูงกว่ากลมุ่ ควบคุม 5. นกั เรยี นตัวอยา่ งท่ไี ด้รบั เทคนิคการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนมีความพงึ พอใจตอ่ การเรียนการเรียน วิชา เพศวิถศี กึ ษาการปอ้ งกนั ตนเองจากการถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศเปน็ ไปตามเกณฑ์ 6. นักเรียนตัวอย่างที่ได้รบั เทคนิคการสอนแบบเพ่ือนช่วยเพื่อนมีความพึงพอใจตอ่ การเรียนการเรียน วิชา เพศวิถศี ึกษาเรื่อง การปอ้ งกันตนเองจากการถกู ลว่ งละเมิดทางเพศสงู กวา่ เกณฑ์ทงั้ หมด ขอบเขตการวิจยั การวิจยั ในคร้งั นเี้ ปน็ การศึกษาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนการศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาเพศวิถีศึกษา เรื่อง การป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ โดยการใช้เทคนิคการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนที่มุง่ ศกึ ษา เฉพาะในบทเรียนเรอ่ื ง การป้องกนั ตนเองจากการถกู ล่วงละเมิดทางเพศ กรอบแนวคดิ การวิจัย จากการศึกษาแนวคิดหลกั การและผลการวจิ ยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง ผู้วจิ ัยได้กำหนดกรอบแนวคดิ การวิจยั ดังภาพประกอบดังนี้ ตวั แปรอิสระ ตัวแปรอิสระ - วิธีการจัดการเรยี นรู้โดยเทคนิค การสอน ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน แบบเพื่อนช่วยเพอื่ น เรื่อง การป้องกันตนเองจากการถูก ล่วง - วิธกี ารสอนแบบปกติ ละเมิดทางเพศ - แบบวดั เจตคติ - แบบวดั ความพึงพอใจ - แบบทดสอบดา้ นความรู้ - แบบวดั เจตคติ - แบบวดั ความพงึ พอใจ

4 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ 1. ได้แนวทางการจัดการเรียนการสอนตามวิธีการสอนแบบเพื่อช่วยเพื่อน เรื่องการป้องกันตนเองจาก การถูกลว่ งละเมิดทางเพศ ของนักเรยี นระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) 2. เปน็ แนวทางในการปรบั ปรงุ การเรียนการสอนเรื่อง การป้องกันตนเองจากการถูกลว่ งละเมิดทาง เพศที่ เหมาะสมกบั พฒั นาการและการเรยี นรขู้ องนักเรยี น

5 บทท2ี่ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเพศวถิ ีศึกษา เรื่อง การป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ โดยการใช้เทคนิคการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) อาชีวศึกษาชลบบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565 ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง โดยได้ลำดับเนื้อหาที่เป็นสาระสำคัญ ดังต่อไปน้ี 1. เทคนคิ การสอนแบบเพ่อื นชว่ ยเพอื่ น 2. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 1. เทคนิคการสอนแบบเพ่อื นชว่ ยเพ่อื น 1.1 พฒั นาการของการสอนแบบกลุม่ เพื่อนช่วยเพือ่ น แนวคดิ เกีย่ วกับวิธกี ารสอนแบบกลมุ่ เพ่ือน ช่วยเพือ่ น ได้มีการพัฒนาเป็นเวลานาน ซึ่งกล่าวสรุปได้ดังน้ี สำหรับในวงการการศึกษาของประเทศไทยนั้น ได้มีการนำเอา วธิ ีการสอนแบบกลุม่ เพือ่ นช่วยเพ่อื นมา ประยกุ ตใ์ ช้ใหก้ ับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน นบั ตั้งแต่มีการสัมมนา เกี่ยวกับการพิจารณานวัตกรรมและ เทคโนโลยีปรับปรุงคุณภาพการศึกษาในอาชีวศึกษาชลบุรี ระดับ ประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) ทม่ี คี รไู ม่ครบชน้ั เนอ้ื หาตอนหน่งึ ของการรายงานการสัมมนาได้กล่าวถึงเร่ืองการ ปฏิบัตงิ านของครแู ละในทปี่ ระชมุ ได้เสนอวธิ ีการแกป้ ัญหาโดย การใหน้ กั เรยี นท่ีมีผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ทีด่ ีทำการ สอนและทำการแนะนำแก่นักเรียนที่เรียนอ่อน นอกจากน้ี ยังได้กล่าวถึงการที่ให้นักเรียนที่อยู่ในชั้น ที่สูงกว่ามา สอนนักเรียนท่อี ยู่ในช้นั ทีต่ ่ำกว่าอกี ด้วย (สมลักษณ์ ศรี ธงชัย. 2537: 27) ก่อ สวัสด์พิ าณิชย์ (สมลักษณ์ ศรีธงชัย. 2537: 27; อ้างอิงจาก ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์. 2520:3 - 4) ได้กล่าวถึงเรื่องปัญหา และแนวโนม้ ของการศึกษาว่ามีอยู่ หลายประการ สำหรับการแก้ไขปญั หาของ การศึกษานั้น ควรจะได้มีการนำเอาเทคโนโลยีเข้ามาใช้กับการจัดการ เรยี นการสอน และยงั ได้เสนอให้นำเอา วิธกี ารสอนแบบนกั เรียนสอนกนั เองไปใช้

6 1.2 การจดั การเรียนรู้แบบกลุม่ เพือ่ นช่วยเพอ่ื น เป็นอกี ประการหนึง่ ในวิธีการจดั การเรยี นรแู้ บบ ร่วมมือ ซึง่ รูปแบบจะคลา้ ยคลึงกบั การจัดการเรียนรู้แบบ Team – Assisted Individualization (TAI) แล้ว นำมาปรับเป็น การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มเพือ่ นช่วยเพ่ือนกิจกรรมการเรียนการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพือ่ น เป็นแนวคิดท่ีเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนได้เรยี นรูด้ ้วยตนเอง เป็นการกระจายบทบาทการสอนของครูไปสนู่ กั เรยี น นับว่าเป็นกจิ กรรมการเรียนการสอนที่ยดึ เด็กนักเรียนเปน็ ศูนย์กลาง วิธีการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มเพ่อื น ช่วย เพื่อนได้รับความสนใจจากนักศึกษาเป็นจำนวนมาก เพราะเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มเพื่อนช่วย เพื่อนเป็นวิธีการท่ีครูผู้สอนพยายามเข้าถึงตัวนักเรียนแต่ละคน เป็นแนวความคิดที่ส่งเสริมและโน้มน้าวให้เด็ก นักเรยี นเกดิ ทัศนคติทีด่ ีภายในกลุม่ วธิ ีการจัดการเรยี นร้ดู งั กลา่ วน้ี ครผู ูส้ อนต้องมกี ารวางแผนไว้การเรียนรู้ของ เดก็ นกั เรียน (พิกลุ ภูมิแสน. 2539: 28; อา้ งองิ จาก Hurley. 1972: 604 - A) 1.3 ความหมายของการจัดการเรียนรู้แบบกล่มุ เพื่อนช่วยเพ่อื น การจดั การเรยี นรแู้ บบกลมุ่ เพ่อื น ชว่ ยเพอ่ื น หรอื การให้ผู้เรยี นช่วยสอนกนั เองนี้ เป็นวิธกี ารที่ จะชว่ ยให้ ผู้เรียนได้รับประโยชน์ทางด้านวิชาการ ด้วยกันทั้งสองฝ่าย วิธีการให้ผู้เรียนสอนกันเองนี้ได้มี การพัฒนาและ นำมาใช้ในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป ตามจุดมุ่งหมายและวิธีการของครู โดยมุ่งเน้น เพื่อช่วยเหลือผู้เรียนทีช่ า้ และมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นท่ตี ่างมี ปัญหาในด้านความประพฤตแิ ละปัญหาด้านอื่นๆ โดยมคี วามเชอื่ ว่าวิธีการให้ ผู้เรยี นสอนกันเองน้ี ผู้เรยี นจะ เรียนร้อู ะไรต่างๆได้จากกนั และกันและการเรียนรู้แบบนี้ท าให้ผู้ที่เรียนรู้ช้าเกิดการ เรียนรู้ได้ เนื่องจากภาษาท่ีใช้ ในการพูดจาสือ่ สาร กนั นั้น สามารถสอ่ื ความหมายระหว่างกนั และกันได้เป็นอย่างดี เนื่องจากเพ่อื นนกั เรียน เปน็ วยั เดยี วกัน ซึง่ สามารถช่วยในการถา่ ยทอดสิง่ ท่ีเขาไดเ้ รียนรู้มาใหเ้ พ่ือนๆฟงั ด้วยภาษาและรูปแบบของเขาเองกจ็ ะ ทำ ให้นักเรียนเข้าใจในความรู้นั้นได้แจ่มแจ้งมากยิ่งขึ้น ผู้เรียนซึ่งได้รับฟังจากเพื่อนก็จะได้รับประโยชน์ด้วย (กรม วชิ าการ. 2544: 61 - 63) ดังนัน้ จงึ พอสรุปได้ว่า การจัดการเรยี นรู้แบบกลุ่มเพือ่ นช่วยเพือ่ น หมายถงึ การจดั การเรยี นการสอน ใหแ้ ก่ นกั เรียนโดยเป็นวธิ กี ารรวมกลุม่ ของนักเรียน เพอ่ื การทำงานหรือปฏิบัติกิจกรรมร่วมกันในการเรียนการ สอน โดย เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นไดส้ อนกันเองเรียนร้จู ากการรวมกลมุ่ ซงึ่ ผเู้ รยี นจะมกี ารถ่ายทอดดว้ ยภาษาของ เขาเองเปน็ การ ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นทเี่ รียนชา้ เกดิ การเรยี นรไู้ ดแ้ ละยังมเี จตคติที่ดีต่อการเรียน

7 1.4 วตั ถุประสงค์ของการจัดการเรยี นรู้โดยใชก้ ิจกรรมกลุ่มเพอ่ื นช่วยเพ่อื น การจัดการเรยี นรู้แบบกล่มุ เพ่ือนชว่ ยเพ่ือนเปน็ วธิ กี ารที่ม่งุ ให้นักเรยี นเกดิ แรงจูงใจต่อการเรยี นมากขึ้น เนอ่ื งจากนักเรียนทกุ คนเป็นผูม้ บี ทบาทในกิจกรรมการเรียนการสอน วธิ ีการสอนดงั กล่าวมวี ัตถปุ ระสงค์ ดงั ต่อไปนี้ 1. เพ่ือเปน็ การสง่ เสรมิ ในเรื่องกระบวนการกลุ่มของนกั เรยี นให้เน้นการใหน้ กั เรียนช่วยเหลอื กนั ตลอดจนเห็นคณุ คา่ ของการศึกษาหาความรดู้ ้วยตนเอง 2. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นท่มี ีระดบั ความแตกตา่ ง สามารถเรยี นจากประสบการณอ์ ยา่ งเดียวกนั ได้ 3. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นสามารถเรียนร้จู ากแหล่งต่างๆมากขนึ้ เช่น จากเพอื่ นนักเรียนดว้ ยกนั หรือจาก อุปกรณต์ า่ งๆทีน่ ำมาประกอบการเรยี นการสอน 4. เพื่อสรา้ งทศั นคติท่ดี ี รวมท้ังแรงจูงใจในการเรียน เนอ่ื งจากนกั เรยี นผ้สู อนนนั้ จะรู้สึก ภาคภมู ใิ จใน ตนเอง หรือรสู้ ึกวา่ ตนเองได้รบั ความสำเรจ็ ในการเรียน เนอ่ื งจากมโี อกาสได้ทำประโยชน์ 5. เพื่อให้การเรียนการสอนมีลักษณะเป็นการสื่อสารมากขึ้น ลักษณะดังกล่าวจะทำให้ ปฏิสัมพันธ์ ระหวา่ งนักเรยี นดขี ้นึ เน่อื งจากบรรยากาศในชั้นเรียนจะมีความเป็นกันเอง 6. ครูจะเป็นผู้ให้คำแนะนำ ให้คำปรึกษา และคอยสังเกตตลอดจนทำการแก้ไขปัญหาที่เกิดในการ เรยี นการสอนของนักเรียนแตล่ ะกลุ่ม 1.5 รูปแบบวิธกี ารจัดการเรยี นรูแ้ บบกลมุ่ เพ่อื นช่วยเพอื่ น การจัดการเรียนรูแ้ บบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้วิธีหนึง่ ท่ีสืบทอดแนวคิด ของ John Dewey ที่ว่า Learning by Doing โดยการเน้นให้นักเรียนมีการรวมกลุ่มเพื่อการำงานหรือ การปฏิบัติ กิจกรรม การเรียนการสอน อาจกล่าวได้ว่าวิธีการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน เป็นการส่งเสริม ระบอบ ประชาธปิ ไตยและยังมุง่ ให้นักเรยี นที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในเกณฑ์ทีต่ ่ำได้รับประโยชน์จาก เพือ่ นนักเรียนที่ มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นที่เก่งหรือมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนที่อยู่ในเกณฑท์ ่ีสงู กว่า อทุ ัย เพชรช่วย (2530: 16 - 19) การจดั การเรียนรแู้ บบกลุ่มเพ่อื นช่วยเพ่ือนสามารถนำมา ประยุกต์ใช้ ได้ กับการจัดชั้นเรียนตามปกติหรอื อาจจะจัดชั้นเรียนพิเศษ โดยให้นักเรียนเรียนรู้จาก เพื่อนในวัยเดียวกัน (Peer - Tutoring) หรืออาจจัดชั้นเรียนให้นักเรียนที่มีคุณวุฒิหรือวัยที่สูงกว่า นักเรียนผู้เรียน (Cross - Age Tutoring) นอกจากนี้ครูผู้สอนยงั สามารถนำไปใช้กบั เน้ือหาตามปกติ หรือใช้ในการทบทวนหรอื สอนซ่อมเสริม ได้ตามความ เหมาะสม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนนั้น ครูผู้สอนจะต้องทำการ แบ่งนักเรียน ออกเปน็ กลุม่ โดยการจำแนกออกเปน็ กลุ่มเกง่ กลุ่มปานกลาง และกลุ่มออ่ น คละกนั โดยการ มุ่งเนน้ ใหเ้ ดก็ เกง่ ของ แต่ละกลุ่มทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยครู (Teacher Assistants) หรือในบางครั้งก็อาจจัดเป็นกลุ่มง่ายๆตามที่นั่งของ นักเรยี นทัศนา ไดจ้ ัดรปู แบบการแบ่งกลุ่มการจดั การ เรยี นรโู้ ดยใช้ กจิ กรรมกล่มุ เพอื่ นช่วยเพือ่ น ออกเปน็ 3 แบบ

8 1. แบง่ กลมุ่ แบบ 4 คน ได้แก่ เก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน และอ่อน 1 คน 2. แบง่ กลมุ่ แบบ 3 คน ไดแ้ ก่ เก่ง 1 คน ปานกลาง 1 คน และออ่ น 1 คน 3. แบง่ กลุม่ แบบ 2 คน ไดแ้ ก่ เก่ง 1 คนอ่อน 1 คน 1.6 หลักเกณฑใ์ นการจัดกลุม่ เพ่ือนชวยเพ่อื น มดี ังน้ี 1. นำคะแนนผลสัมฤทธขิ์ องนกั เรียนในวิชา ที่ตอ้ งการสอน มาเรียงลำดับจากมากไปหานอ้ ย 2. นำคะแนนผทู้ ไี่ ดเ้ ทา่ กนั หรอื ใกล้เคียงกนั มาจัดกลุ่มตามจำนวนกลุ่มท่ีต้องการหลงั จากน้นั ครูผู้สอน จึง มอบหมายงานให้นกั เรยี นรับผดิ ชอบรว่ มกนั และต้องรายงานผลเกย่ี วกับกจิ กรรม น้ันๆ ในบางครั้งครอู าจจะให้อ่าน บทสนทนา อา่ นขอ้ ความเนื้อหา หรือเขยี นสรปุ บทความ หลังจากนั้น จะใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุ่มสรปุ ใจความ หรือให้ เตรียมคำถามในเรื่องที่อ่าน หรือคิดกิจกรรมต่างๆเพื่อ ความเหมาะสม ก่อนที่จะดำเนินการเรียนการสอนน้ัน ครูผสู้ อนจะตอ้ งพิจารณาและดำเนินการตามลำดับ ขั้นตอน ต่อไปนี้ 1. ชีแ้ นะและกระตุ้นใหน้ ักเรียนได้มองเหน็ ความสำคัญ และเกิดความเชือ่ มั่นว่าตนจะได้ รบั ประโยชน์ จาก การจดั การเรยี นรแู้ บบกลุม่ เพือ่ นช่วยเพือ่ น 2. ช้แี จงเกยี่ วกับวธิ กี ารสอน โดยการจัดกลมุ่ ใหม้ ีผ้นู ำในการเรียนแก่นักเรียนท่ีเป็นผ้นู ำ ในการเรียน และ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับบทบาทหนา้ ทขี่ องผ้นู ำในการเรยี น เพ่ือให้เขา้ ใจอยา่ งชัดเจน 3. คอยให้คำแนะนำและเปิดโอกาสใหน้ กั เรียนท่ีเป็นผ้นู ำในการเรียนไดม้ ีโอกาสพบปะ เพ่ือปรึกษาได้ ทุก ชว่ งเวลาทเ่ี ด็กนักเรียนต้องการ หรอื มปี ัญหาเกดิ ข้ึน 4. การประเมนิ ผลการเรยี นของนักเรยี นแต่ละกล่มุ สปั ดาห์ละครงั้ เพ่ือกระตนุ้ ใหน้ กั เรยี น ในแต่ละ กลุ่มได้ แขง่ ขันกันเอง 5. มีการเตรยี มแหลง่ ขอ้ มูลให้เพียงพอ เชน่ หนงั สือ คมู่ ือ หนงั สอื พมิ พ์และวารสารต่างๆ ตลอดจน วัสดุ - อปุ กรณ์ในการเรียน ได้แก่ วทิ ยุ เทปบันทึกเสียงและอ่นื ๆ เปน็ ต้น 6. การกระจายเนอ้ื หาในรายวิชาที่จะสอนให้เป็นบทย่อย ๆ แล้วจดั เรยี งลำดบั ตามความ เหมาะสม 7. เตรียมแบบฝึกหัดประกอบการเรียน ตลอดจนการเตรียมแบบทดสอบและในขณะ เดียวกันจะต้อง มี การกำหนดเร่ืองการใหค้ ะแนน การตีความผลสอบ เพ่ือความสะดวกในการดำเนนิ กิจกรรมการเรียนการสอน 8. ในการเลือกนักเรียนผู้สอน (Tutors) นักเรียนที่เรียนในกลุ่ม (Tutees) เพื่อจัดกลุ่ม หรือจัดคู่ระหว่าง นกั เรียนผู้สอนและผู้เรยี นนัน้ ครูผ้สู อนตอ้ งแนะนำหรอื อธบิ ายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจ บทบาทหน้าท่ขี อง ตนเอง

9 หลกั เกณฑ์ในการเลือกนกั เรียนผู้สอน มดี งั นี้ 1. เปน็ ผูม้ ีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนอยใู่ นเกณฑ์สงู 2. เป็นผ้มู ีความเสยี สละ และมีความสมัครใจท่จี ะสอน 3. เป็นผู้มีความประพฤตแิ ละนิสัยดี เปน็ ท่ยี อมรับของผ้เู รียนภายในกลมุ่ 1.7 หลกั เกณฑใ์ นการเลอื กผเู้ รยี น มดี งั น้ี 1. เปน็ ผูม้ ีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนอยู่ในเกณฑ์ต่ำ 2. เปน็ นักเรียนท่มี ปี ัญหาในเรื่องการเรียน หรอื ขาดเรียนบ่อยๆ เม่อื ครผู ู้สอนคดั เลอื กตัวผเู้ รียนเปน็ ทเ่ี รยี บร้อยแล้ว ตอ่ ไปก็คอื การจดั กลุม่ นักเรยี นโดย ใหม้ อี ัตรา จำนวนนักเรียนผู้สอนต่อนักเรียนผู้เรียนอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ในกรณีที่จัดให้นกั เรยี นมี การเรียนแบบเป็นคู่ ๆ ครผู ูส้ อนควรเลือกนักเรยี นท่ีเปน็ เพศเดียวกนั หรืออายไุ ล่เลย่ี กนั ในการเตรียมนกั เรียนผู้สอนใหเ้ ขา้ ใจถึงวิธีการจดั การเรยี นร้แู บบกล่มุ เพ่อื นช่วยเพอ่ื นน้นั ครู จะต้อง อธิบายให้นักเรียนผู้สอนเข้าใจถึงบทบาทหนา้ ที่ ตลอดจนการเตรียมตัวในการสอนรวมทัง้ การแก้ไขปัญหา ต่างๆ ทีเ่ กิดข้ึนระหว่างเรียน จากทก่ี ลา่ วมาข้างต้นทำใหเ้ ห็นบทบาทหนา้ ที่ของครูและนกั เรยี นในกจิ กรรมการเรียนการสอนที่ ได้ เปลี่ยนแปลงไปโดยครูได้เปลี่ยนหน้าที่จากผู้สอนมาเป็นผู้กำกับการสอนโดยอาศัยนักเรียนผู้สอนฝึกให้กับ นักเรียนผู้เรยี น เม่อื นกั เรียนผ้สู อนเกิดความชำนาญในการสอนเพ่ิมมากข้ึนแล้ว ครจู ะลดบทบาทในการ ควบคุมดแู ล ดังนัน้ ตวั นกั เรียนเองจะมสี ่วนร่วมเป็นอย่างมากต่อกจิ กรรมการเรียนการสอน 1.8 องค์ประกอบของแผนการจดั การเรยี นรแู้ บบกลุม่ เพอ่ื นช่วยเพ่อื น มดี งั น้ี อภินัน อรกลุ ได้กล่าวถงึ องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้แบบกล่มุ เพือ่ นช่วยเพ่ือน ไว้ดังน้ี 1. ความคิดรวบยอด 2. จดุ ประสงค์ 3. เนอ้ื หาสาระ 4. กิจกรรมการเรยี นการสอน ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน เป็นการเตรียมการเพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมที่จะเรียนโดย ครูแบ่งกลุ่ม ชี้แจง วิธีการเรยี น ครูกระตุ้นนกั เรียนดว้ ยคำถาม ขน้ั สาธิตหรอื ยกตัวอยา่ ง นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ จะได้เรยี นจากครูหรือเพื่อนในชั้นเรยี น โดยจะอธิบาย พรอ้ ม ยกตัวอย่างทีเ่ ก่ยี วข้องกบั เร่ืองทีเ่ รียน

10 ขั้นฝึกหัด เป็นการฝึกทักษะกระบวนการกลุ่มโดยนักเรียน ในขั้นนี้กลุ่มเพื่อนจะมี บทบาทสำคัญ โดย นักเรียนเกง่ จะทำหน้าที่ช่วยเหลอื ฝึกทักษะให้กับสมาชิกภายในกลุ่มและสมาชิก ทุกคนภายในกลุ่มสามารถ เป็น ตวั แทนกล่มุ ในการแสดงผลงาน จากการฝึกทักษะของกลุม่ ตนเองได้ ขั้นการสรปุ และตรวจสอบ ฝกึ ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม โดยนกั เรียนภายในกลุ่มช่วย กนั สรปุ ผลงาน หรือ นำเสนอผลงานทางวิชาการ ขัน้ ฝกึ ฝนจนเกดิ ความชำนาญ ให้นกั เรียนได้ฝกึ ฝนทักษะอีกครั้ง โดยใหน้ กั เรียนได้ฝึกบ่อยๆด้วยการ ฝึก นอกเวลาเรยี นหรอื ในชั้นเรียนเมอื่ มเี วลาวา่ ง 5. สอื่ การเรียนการสอน 6. การวัดผลประเมนิ ผล จากองคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรียนรู้แบบกล่มุ เพื่อนช่วยเพือ่ ดังกล่าว นั้น ผู้วิจัย ศึกษาถึงองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ และผู้วิจัยเห็นว่ามีความสอดคล้องกับธรรมชาติ วิชาการจัดการเรียนรู้ สาระเพศวิถีศึกษา ซึ่งมีการนำเข้าสู่บทเรียน การอธิบายหรือการยกตัวอย่างให้ นักเรียน ดูก่อน จากนัน้ แลว้ ให้นกั เรียนไดฝ้ กึ ปฏบิ ัติด้วยกิจกรรมกลุม่ เพอ่ื นช่วยเพ่ือนเพือ่ ให้เกิดความ ชำนาญในการเรียนสุข ศึกษาเพอื่ ใหม้ ี ประสิทธภิ าพ และประสทิ ธิผลมากยิ่งขนึ้ 2. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 2.1 ความหมายผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ศริ ชิ ัย กาญจนวาสี(2544) ได้ใหค้ ำนยิ ามของผลสัมฤทธ์วิ ่า เปน็ การเรียนรู้ตามแผนที่กำหนดไว้ ล่วงหน้า อันเกิดจากกระบวนการเรียนการสอนในช่วงระยะเวลาใดเวลาหน่ึง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2546) ให้ความหมายว่า การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นการวัดความสำเร็จ ทางการเรียน หรือวัดประสบการณท์ างการเรียนที่ผู้เรยี นไดร้ บั จากการเรียนการสอน โดยวัด ตามจุดมุ่งหมายของ การสอนหรอื วัดผลสำเร็จจากการศกึ ษาอบรมในโปรแกรมต่าง ๆ ไพโรจน์ คะเชนทร์ (2556) ให้คำจำกัดความผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนว่า คือคุณลักษณะ รวมถึง ความรู้ ความสามารถของบุคคลอันเปน็ ผลมาจากการเรยี นการสอน หรือ มวลประสบการณท์ ้งั ปวงที่บุคคล ได้รับจากการ เรียนการสอน ทำใหบ้ คุ คลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในด้านต่างๆ ของสมรรถภาพทางสมอง ซึง่ มีจุดมุ่งหมาย เพื่อเป็นการตรวจสอบระดบั ความสามารถสมองของบุคคลว่าเรียนแล้วรูอ้ ะไรบ้าง และมีความสามารถด้านใดมาก น้อยเท่าไร ตลอดจนผลที่เกิดขึ้นจากการเรียนการฝึกฝนหรือประสบการณ์ต่างๆ ทั้ง ในโรงเรียนที่บ้านและ สงิ่ แวดล้อมอน่ื ๆ รวมทั้งความรสู้ ึกคา่ นิยมจรยิ ธรรมต่างๆ กเ็ ปน็ ผลมาจากการฝึกฝนด้วย สรุปได้ว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือผลการเรียนรู้ตามหลกั สูตร ไดม้ าตามหลักการวัดและ ประเมินผลที่ ครอบคลมุ ทง้ั ดา้ นความรู้ความคิดหรอื พุทธิพิสัย ด้านอารมณแ์ ละความรูสกึ หรือจิตพิสยั และดา้ นทักษะปฏิบัติหรือ ทกั ษะพิสยั ท่ผี ู้สอนกำหนดไว้ในชว่ งเวลาใดเวลาหนึง่ สำหรับผลสัมฤทธิ์การเรยี นรู้คำศัพท์ ภาษาอังกฤษในการวิจัย

11 ครั้งนี้ หมายถึงความรู้ความเข้าใจความหมายของคำศัพท์ในบทเรียนภาษาอังกฤษ เรื่อง Animal World เรื่อง Leisure Activities และ เรอื่ ง Jobs และ ความสามารถในการนำคำศพั ท์ไปใช้ใน การอา่ น การพดู การเขยี น และ การฟัง โดยทว่ั ไปการวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน จะวดั ความรคู้ วามสามารถตามสาระท่ีเรียน ซึง่ ส่วนใหญ่จะ เป็น ด้านพุทธิพิสัยหรือด้านความรู้ เครื่องมือที่ใช้วัดส่วนใหญ่เป็นแบบทดสอบ เรียกว่า แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี น มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่อื ต้องการทราบว่าผู้เรียนเมอ่ื ผา่ นกระบวนการเรียนการสอนแลว้ ผเู้ รยี นจะมีความรู้ อย่ใู นระดบั ใด เพ่อื ทีผ่ ู้สอนจะได้หาทางปรับปรงุ แก้ไข พัฒนา และสง่ เสริมให้ผู้เรยี นไดพ้ ฒั นา ความรู้อย่างเต็มตาม ศกั ยภาพ แตก่ ารจะสร้างแบบทดสอบใหม้ คี ุณภาพ ผ้สู อนจะต้องมคี วามรู้เกี่ยวกับลกั ษณะ ของแบบทดสอบ การวางแผนการสร้าง หลักการสร้างการเลือกชนิดของแบบทดสอบให้เหมาะสมกับ เนอื้ หา และการน าผลจากการสอบไปใช้ปรับปรุงและสรุปผลการเรียน 2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (achievement tests) สมบูรณ์ ตนั ยะ (2545 : 143) ไดใ้ ห้ ความหมายว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็น แบบทดสอบที่ใช้สำหรับวัดพฤติกรรมทางสมองของ ผู้เรียนว่ามีความรู้ ความสามารถในเรื่องที่เรียนรู้มาแล้ว หรือได้รับการฝึกฝนอบรมมาแล้วมากน้อยเพียงใด ส่วน พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2544 : 98) กล่าวว่า แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็น แบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ ทักษะ และความสามารถทางวิชาการที่ผู้เรียนได้ เรียนรู้มาแล้ว ว่า บรรลุผลสำเร็จตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ เพียงใด ดังนั้นสรุปได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือแบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ และทักษะ ความสามารถจากการเรียนรใู้ นอดตี หรือในสภาพปัจจบุ นั ของแต่ละบคุ คล 2.3 ประเภทของแบบทดสอบ ไพโรจน์ คะเชนทร์ (2556) ได้จัดประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือแบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นเอง (Teachermadetests) และแบบทดสอบ มาตรฐาน (Standardized tests) ซงึ่ ทง้ั 2ประเภทจะถามเนอ้ื หาเหมือนกันคือถามสิง่ ที่ผเู้ รยี นได้รับจากการเรียน การสอนซึ่งจัดกลุ่มพฤติกรรม ได้ 6 ประเภท คือ ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การ สังเคราะห์ และการประเมิน แบบทดสอบท่ีครูสรา้ งข้นึ เปน็ แบบทดสอบท่ีครูสร้างขนึ้ เองเพอ่ื ใชใ้ นการทดสอบผู้เรียน ในชัน้ เรียน แบง่ เปน็ 2 ประเภท คือ 1. แบบทดสอบปรนยั (Objective tests) ได้แกแ่ บบถกู – ผิด (True-false) แบบ จับคู่ (Matching) แบบ เตมิ คำให้สมบรู ณ(์ Completion) หรอื แบบคำตอบสั้น (Short answer) และแบบ เลือกตอบ (Multiple choices) 2. แบบอัตนยั (Essay tests) ได้แก่ แบบจำกดั คำตอบ (Restricted response items) และแบบไม่ จำกัด ความตอบ หรือตอบอย่างเสรี (Extended response items)

12 แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized tests) เป็นแบบทดสอบที่สร้าง โดยผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ใน เนื้อหา และมีทักษะการสร้างแบบทดสอบ มีการวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบ มีคำชี้แจงเกี่ยวกับการ ดำเนินการสอบ การให้คะแนนและการแปลผล มีความเป็นปรนัย (Objective) มีความเที่ยงตรง (Validity) และ ความเชื่อมั่น (Reliability) แบบทดสอบมาตรฐาน ได้แก่ California Achievement Test, Iowa Test of Basic Skills, Standford Achievement Test และ the Metropolitan Achievement tests เป็นต้น ได้จัดประเภท แบบทดสอบไว้ 3 ประเภท ดังนี้ 1. แบบปากเปล่า เปน็ การทดสอบท่ีอาศัยการซกั ถามเปน็ รายบุคคล ใช้ได้ผลดีถ้ามีผู้เขา้ สอบจำนวน น้อย เพราะตอ้ งใชเ้ วลามาก ถามได้ละเอยี ด เพราะสามารถโตต้ อบกันได้ 2. แบบเขียนตอบ เป็นการทดสอบที่เปลี่ยนแปลงมาจากการสอบแบบปากเปล่า เนื่องจากจำนวนผู้เข้า สอบมากและมจี ำนวนจำกดั แบ่งไดเ้ ป็น 2 แบบ คือ 2.1 แบบความเรียงหรืออตั นัย เป็นการสอบที่ใหผ้ ู้ตอบได้รวบรวมเรยี บเรียงคำพดู ของตนเองในการแสดง ทัศนคติ ความร้สู ึก และ ความคิดได้อย่างอิสระภายใต้หวั เรอ่ื งทก่ี ำหนดให้ เป็นข้อสอบทส่ี ามารถ วดั พฤตกิ รรมด้าน การสังเคราะห์ได้ อย่างดแี ตม่ ขี ้อเสยี ทกี่ ารให้คะแนน ซง่ึ อาจไม่เทย่ี งตรงทำใหม้ ีความเป็นปรนยั ได้ยาก 2.2 แบบจำกัดคำตอบ เป็นข้อสอบที่มีคำตอบถูกใต้เงื่อนไขที่กำหนดให้อย่างจำกัดข้อสอบแบบนี้แบ่ง ออกเป็น 4 แบบคอื แบบถกู ผดิ แบบเติมคำแบบจบั คู่ และแบบเลือกตอบ 2.3 แบบปฏิบัติ เป็นการทดสอบที่ผู้สอบได้แสดงพฤติกรรมออกมาโดยการกระทำหรือลงมือปฏิบัติจริงๆ เช่น การ ทดสอบทางดนตรี ชา่ งกล พลศกึ ษา เป็นตน้ สรุปไดว้ า่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน แบ่งได้2 ประเภท คือ แบบทดสอบมาตรฐาน ซ่ึง สร้าง จากผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและด้านวัดผลการศึกษา มีการหาคุณภาพเป็นอย่างดี ส่วนอีกประเภทหนึ่ง คือ แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้น เพื่อใช้ในการทดสอบในชั้นเรียน ในการออกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คำศัพท์เพื่อการสื่อสาร ผู้วิจัยได้เลือกแบบทดสอบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบปฏิบัติในการวัดความสามารถในการนำ คำศพั ทไ์ ปใชใ้ นการสื่อสารดา้ นการการพูดและการเขียน และเลอื กแบบทดสอบแบบเขียนตอบที่จำกัดคำตอบ โดย การเลอื กตอบจากตวั เลือกท่ีกำหนดให้ ในการวดั ความรคู้ วามเข้าใจความหมายของคำศัพท์ และการนำคำศัพท์ไป ใชใ้ นการฟังและการอ่าน 2.4 การวางแผนการสร้างและการเลือกชนิดของแบบทดสอบให้เหมาะสมกับเนื้อหา ในการสร้าง แบบทดสอบให้ครอบคลุมเนื้อหาและสามารถวัดพฤติกรรมได้เหมาะสมกับเน้ือหาควรมี การสร้างตารางวิเคราะห์ หลักสูตร (Developing the table of specifications) เพื่อเป็นแนวทางในการสร้าง เหมือนกับการเขียนแบบ สร้างบ้าน ท่ีเรยี กกันวา่ Test blueprint ตารางวิเคราะห์หลักสูตรประกอบดว้ ยหัวขอ้ เนอ้ื หา และวตั ถปุ ระสงค์การ

13 เรียนรู้กับพฤติกรรมที่ต้องการจะวัด การสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตรเริ่มทีก่ ารสร้างตาราง 2 มิติ คือแนวต้งั เป็น พฤติกรรมที่ต้องการจะวัดประกอบด้วย ความจำความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการ ประเมินคา่ ส่วนแนวนอนเป็นหัวข้อเนื้อหาหรือวัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ ซึ่งขึ้นอยู่กับเนื้อหาและ/หรือวัตถปุ ระสงค์ ของวชิ านั้น จากน้นั จงึ กำหนดน้ำหนกั ของเน้ือหา พิจารณาจากความสำคัญของเนือ้ หานัน้ ๆ โดยอาจกำหนดน้ำหนัก เป็น ร้อยละ พรอ้ มกับกำหนดพฤติกรรมท่ีตอ้ งการจะวดั และกำหนดความสำคญั โดยพิจารณาจากจุดประสงค์การ เรียนรู้ควบคู่ไปกับเนื้อหาสุดท้ายจึงกำหนดแบบทดสอบที่จะใช้วัด เช่น แบบถูกผิด แบบจับคู่ แบบเติมคำ แบบ เลอื กตอบ หรือแบบอตั นัยเปน็ ตน้

14 บทที่ 3 วิธีดำเนินการศกึ ษาคน้ ควา้ การวจิ ยั คร้ังน้เี ปน็ การวจิ ัยเชงิ กึ่งทดลอง (Quasi – Experimental Research) โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พือ่ 1. ศึกษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น โดยใช้เทคนิคการสอนแบบเพือ่ นชว่ ยเพื่อน 2. เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นของนกั เรยี นท่ีใชเ้ ทคนิคการสอนแบบเพ่อื นช่วยเพื่อนกับการเรียน ปกติ ในรายวิชาเพสวิถีศึกษาเรื่อง การป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศโดยผู้วิจัยดำเนินการตาม ขั้นตอนดงั ต่อไปนี้ 1. กำหนดประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 2. เครอ่ื งมือในการวิจัย 3. สร้างและหาคุณภาพเครือ่ งมือ 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 5. การจัดกระทำขอ้ มูลและการวิเคราะหข์ อ้ มลู 1. กำหนดประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง กลมุ่ ประชากร ประชากรทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัยเป็นนกั เรยี นระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) อาชีวศกึ ษาชลบรุ ี จงั หวัดชลบุรี ในภาคเรยี นที่ ปกี ารศึกษา 2565 รวมทงั้ หมด 560 คน กลุ่มตัวอย่าง กลมุ่ ที่ใชใ้ นครัง้ น้ีเปน็ นกั เรียนประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) แผนกวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ อาชวี ศกึ ษา- ชลบุรี จงั หวัดชลบุรี ได้มาโดยการเลือก ตวั อย่างแบบเจาะจง โดยกำหนดให้นกั เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ห้อง 3 สาขาแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จำนวน 31 คนเป็นกลุ่มทดลอง และ นักเรียนระดับ ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชัน้ ปที ี่ 1 ห้อง 4 สาขาแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ จำนวน 31 คน เป็นกล่มุ ควบคุม 2. เคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั 1. แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ โดยใช้เทคนิคการ สอน แบบเพือ่ นชว่ ยเพอื่ นจำนวน 4 แผน ใช้เวลาในการทดลอง 4 ช่ัวโมง ภายในระนะเวลา 4 สัปดาห์ 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวชิ าเพศวิถีศกึ ษา เร่ืองการป้องกนั ตนเองจากการถกู ล่วง ละเมิด ทางเพศ กอ่ นและหลังเรยี น

15 3. แบบวัดเจตคติของการเรียนวิชาเพศวิถีศึกษา เรื่องการป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ ก่อนและหลงั เรยี น 4. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนของครูผสู้ อนวิชาเพศวถิ ีศกึ ษา 3. สร้างและหาคุณภาพเคร่ืองมือ 1. การสร้างแผนการจดั การเรยี นรู้ เร่อื งการป้องกันตนเองจากการถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ โดยใชเ้ ทคนิคการ สอนแบบเพอ่ื นชว่ ยเพ่อื น 2. ศกึ ษารายละเอยี ดหลกั สตู รจุดประสงค์และคำอธบิ ายรายวิชา จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ คมู่ อื ครู 3. และเนอ้ื หาพลศกึ ษา เร่อื งการป้องกนั ตนเองจากการถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ 4. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเทคนิคการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน กำหนดขั้นตอนวิธีการสร้างแผนการจัดการ 5. เรยี นรู้โดยใชเ้ ทคนิคการสอนแบบเพื่อนชว่ ยเพื่อน 6. สร้างแผนการจดั การเรยี นรู้โดยใชว้ ธิ สี อนโดยใช้ แผนการจดั การเรียนรู้เทคนคิ การสอนแบบเพอ่ื น ช่วยเพอ่ื น จำนวน 4 แผ่น 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยดำเนินการทดลองตามแบบแผนการวิจัยแบบ t – test Independent Sample t test ตามตารางดังนี้ ตาราง 1

16 ขั้นตอนในการศกึ ษาคน้ คว้า 1. ผู้วิจยั ทำการทดสอบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียนกล่มุ ตัวอยา่ ง (Pretest) ก่อนเรยี น 2. ผวู้ ิจยั ดำเนนิ การทดลองด้วยการจดั การเรยี นการสอนตามแผนหน่วยการเรียนรเู้ รอื่ งการปอ้ งกนั ตนเอง จากการถกู ล่วงละเมิดทางเพศ 3. ผู้วิจัยทำการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง (Posttest) หลังเสร็จสิ้นการ ทดลอง 5. การจัดกระทำข้อมลู และการวเิ คราะห์ข้อมลู การวจิ ัยครั้งนี้ ดำเนนิ การทำลองในภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 ดงั นี้ 1. ผวู้ จิ ัยทำการทดสอบผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรยี นกลุ่มตวั อย่าง (Pretest) กอ่ นเรยี น ผู้วจิ ัยดำเนนิ การทดลองดว้ ยการจัดการเรยี นการสอนตามแผนหนว่ ยการเรยี นรู้ การป้องกันตนเองจากการถูก ล่วง ละเมิดทางเพศ 2. ใชเ้ วลาในการทดลอง 4 สปั ดาห์ ในชวั่ โมงการเรียนวิชาเพศวถิ ศี กึ ษา 3. เมื่อดำเนนิ การทดลองครบ 4 สัปดาห์ ผูว้ จิ ัยทำการทดสอบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง (Posttest) หลังเสร็จสิ้นการทดลอง โดยใช้แบบทดสอบชุดเดียวกันกับที่ ใช้ในการทดสอบ ก่อนทดลอง 4. นำขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มาตรวจใหค้ ะแนนและนำไปทำการ วิเคราะห์ข้อมูลดว้ ยวธิ สี ถิติตอ่ ไป การจัดกระทำและวเิ คราะหข์ ้อมูล การศกึ ษาครัง้ น้ี การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ในการศกึ ษาครั้งน้ี ผวู้ จิ ยั ใชก้ ารวเิ คราะหด์ ว้ ยเครือ่ งมอื คอมพิวเตอร์โดยใช้ โปรแกรม สำเรจ็ รปู ในการวิเคราะหส์ ถติ คิ ร้งั นี้ และผ้วู จิ ัยใชส้ ถติ ิในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดงั น้ี 1. สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ คือ ค่าดัชนีสอดคล้อง (IOC : Index of Item Objective Congruence ) 2. สถติ ิท่ีใชใ้ นการทดสอบสมมติฐาน คอื สถติ ิทดสอบ (t-test) และ (dependent samples t-test) เพ่ือ ทดสอบสมมตฐิ านข้อ 1 และ (independent samples t-test) ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ข้อ 2

17 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผู้วจิ ัยไดเ้ สนอผลการวจิ ยั ขอ้ มลู ตามลำดับดังน้ี 1.สญั ลักษณ์ใช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มูล 2.ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู สญั ลักษณก์ ารวิเคราะหข์ อ้ มลู เพ่ือใหเ้ กดิ ความเข้าใจตรงกันในการแปลความหมาย และการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้ถูกตอ้ ง ผู้วิจัย ได้ กำหนดสัญลักษณ์ใช้การเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ n แทน จำนวนนักเรียน X แทน คะแนนเฉลี่ย SD แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน t แทน สถิติทดสอบที่ใช้เปรียบเทียบกับค่าวิกฤต t – distribution P แทน ค่าความ นา่ จะเปน็ ของค่าสถติ ิท่ใี ช้ทดสอบ * แทน นยั สำคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั .05 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู การวเิ คราะห์ขอ้ มูลในส่วนนี้ เปน็ การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่อื งการ ป้องกัน ตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาแผนกวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ที่ไดเ้ รยี นดว้ ยวิธีการจดั การ เรียนรแู้ บบเพือ่ นชว่ ยเพือ่ น ระหว่างกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น ตาราง 2 แสดงผลเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความรู้และเจตคติก่อนและหลังการ ทดลอง เรอ่ื งการป้องกันตนเองจากการถกู ล่วงละเมิดทางเพศ ของกลมุ่ ทดลอง (n = 31) จากตาราง 2 พบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความรู้ ของกลุ่มทดลอง ก่อนการ ทดลองมคี ะแนนเฉล่ียเทา่ กบั 8.1026 หลงั การทดลองมีคะแนนเฉล่ียเทา่ กบั 14.7436 ซงึ่ เมอ่ื ทดสอบทาง

18 สถิติ พบว่าความรู้หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านเจตคติ พบว่าก่อนการทดลองมคี ะแนนเฉลยี่ เทา่ กับ 4.6356 หลงั การทดลองมีคะแนนเฉลีย่ เท่ากับ 4.7000 ซึง่ เมอื่ ทดสอบ ทางสถติ ิ พบว่าเจตคติหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิที่ระดบั .05 ตาราง 3 แสดงผลเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความรู้ และเจตคติก่อนและหลังการ ทดลอง เร่อื งการปอ้ งกนั ตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ ของกลุ่มควบคุม (n = 39) จากตารางที่ 3 พบว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความรู้ ของกลุ่มควบคุม ก่อนการ ทดลองมคี ะแนนเฉล่ียเทา่ กับ 6.7949 หลังการทดลองมีคะแนนเฉลีย่ เท่ากับ 8.736 ซงึ่ เมื่อทดสอบทางสถิติ พบว่า ความรู้หลังการทดลองสูงกว่ากอ่ นการทดลองอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ส่วนดา้ นเจตคติ พบว่าก่อนการ ทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.7756 หลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.3978 ซึ่งเมื่อ ทดสอบทางสถิติ พบวา่ เจตคตหิ ลังการทดลองไม่แตกตา่ ง

19 ตาราง 4 แสดงผลเปรยี บเทียบคา่ เฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นหลังเรียนในดา้ นความรู้ เจตคติ และ ความพงึ พอใจ ของกล่มุ ทดลองและกลุ่มควบคุม เร่ืองการป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ (n = 62) จากตารางที่ 4 พพบวา่ คา่ เฉลีย่ ของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความรู้ ของกลุ่มทดลอง หลังการ ทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 14.7436 ในขณะที่กลุ่มควบคุมมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.7436 ซึ่งเมื่อ ทดสอบทาง สถิติ พบว่าความรู้หลังการทดลองของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ส่วน ด้านเจตคติ พบว่าหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.700 กลุ่มควบคุมมี คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.3978 ซึง่ เม่อื ทดสอบทางสถิติ พบว่าเจตคตหิ ลังการทดลองของกลมุ่ ทดลองสูงกว่ากลุ่ม ควบคุมและในด้านความ พึงพอใจ พบว่าหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.6892 กลุ่ม ควบคุมมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.4554 ซึง่ เม่อื ทดสอบทางสถิติ พบวา่ ความพงึ พอใจหลังการทดลองของกลุ่มสูง กวา่ กลุ่มควบคมุ

20 บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ในการศึกษาค้นควา้ คร้งั นี้ เพ่ือศกึ ษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเพศวิถีศกึ ษา เรื่องการป้องกันตนเองจาก การถูกล่วงละเมิดทางเพศ โดยการใช้เทคนิคการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วชิ าชพี (ปวช.) แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาชลบรุ ี ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 ผู้วิจัยได้ สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ดังนี้ วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 1. เพ่อื ศึกษาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น โดยใชเ้ ทคนคิ การสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน 2. เพ่ือเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน เรอ่ื งการป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศของ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้เทคนิคการสอนแบบเพื่อนช่วย เพอื่ นกับวธิ ีการสอนแบบปกติ ขอบเขตการวจิ ยั กลุ่มประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนระดับชั้นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษา จังหวัดนนทบุรี ในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565 รวม ทง้ั หมด 560 คน กลมุ่ ตัวอยา่ ง กลุ่มที่ใช้ในครั้งนี้เป็นนักเรียนระดับชั้นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) แผนกวิชา คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี จังหวัดชลบุรี จำนวน 560 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือก ตัวอย่างแบบ เจาะจง โดยกำหนดให้นักเรียนระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีท่ี 1 ห้อง 3 สาขาแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ จำนวน 31 คน เป็นกลุ่มทดลอง และ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อง 4 สาขาแผนกวิชา คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ จำนวน 31 คน เป็นกลมุ่ ควบคุม ตัวแปรท่ศี กึ ษา ตัวแปรทีศ่ กึ ษาสำหรบั การวจิ ยั ครั้งนป้ี ระกอบดว้ ย 2 ประเภทคือ ตัวแปรอสิ ระ คอื วิธกี ารสอนโดยใชเ้ ทคนคิ การสอนแบบเพ่ือนชว่ ยเพ่ือน ตัวแปรตาม คือ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเพศวิถีศึกษา เรื่องการป้องกันตนเองจากการถูก ล่วงละเมิดทางเพศ

21 สมมตฐิ านการวิจยั 1. นักเรียนตัวอยา่ งที่ได้รบั เทคนิคการสอนแบบเพือ่ นชว่ ยเพื่อนมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิ า เพศวิถศี กึ ษา เรอื่ ง การป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ เพม่ิ สูงขน้ึ กว่ากลุ่มได้รบั การสอนแบบปกติ 2. นกั เรียนตวั อย่างที่ได้รบั เทคนคิ การสอนแบบเพอ่ื นช่วยเพ่อื นมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิชา เพศวิถศี ึกษา การปอ้ งกนั ตนเองจากการถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ ดกี ว่ากล่มุ ที่ได้รบั การสอนแบบปกติ 3. นักเรียนตัวอยา่ งที่ไดร้ บั เทคนคิ การสอนแบบเพอ่ื นชว่ ยเพื่อนมเี จตคตติ ่อการเรียนวชิ าเพศวิถี ศกึ ษาเรื่อง การปอ้ งกันตนเองจากการถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ เพม่ิ สงู ขึ้นก่อนไดร้ บั การทดลอง 4. นกั เรียนตวั อย่างที่ได้รับเทคนิคการสอนแบบเพื่อนชว่ ยเพอ่ื นมีเจตคติตอ่ การเรยี นวิชาเพศวถิ ี ศกึ ษาเร่ือง การป้องกนั ตนเองจากการถูกลว่ งละเมิดทางเพศ สูงกว่ากลุ่มควบคมุ 5. นักเรียนตัวอย่างท่ีไดร้ บั เทคนคิ การสอนแบบเพ่อื นช่วยเพ่ือนมคี วามพงึ พอใจต่อการเรยี นวชิ า เพศวถิ ศี ึกษาเรื่อง การปอ้ งกนั ตนเองจากการถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศ เป็นไปตามเกณฑ์ 6. นกั เรียนตวั อยา่ งที่ไดร้ บั เทคนิคการสอนแบบเพ่อื นช่วยเพ่ือนมีความพึงพอใจตอ่ การเรยี นการ เรยี น วชิ าเพศวิถีศกึ ษาการป้องกนั ตนเองจากการถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ สูงกว่าเกณฑ์ท้ังหมด 2. เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ โดยใช้เทคนิคการสอน แบบเพ่ือนชว่ ยเพอื่ นจำนวน 4 แผน ใช้เวลาในการทดลอง 4 ชวั่ โมง ภายในระนะเวลา 4 สัปดาห์ 2. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวชิ าเพศวถิ ีศกึ ษา เรือ่ งการป้องกันตนเองจากการถูกลว่ ง ละเมิด ทางเพศ กอ่ นและหลงั เรยี น 3. แบบวัดเจตคติของการเรียนวิชาเพศวถิ ศี ึกษา เร่ืองการปอ้ งกันตนเองจากการถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศ กอ่ นและหลังเรียน 4. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนของครผู สู้ อนวิชาเพศวถิ ีศึกษา ขัน้ ตอนในการศกึ ษาคน้ คว้า การวิจยั ครั้งน้ี ดำเนนิ การทดลองในภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 ดังน้ี 1. ผวู้ จิ ยั ทำการทดสอบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของกลุ่มตวั อย่างและกลุ่มควบคุม (Pretest) กอ่ นทดลอง 2. ผวู้ จิ ัยดำเนนิ การทดลองด้วยการจดั การเรยี นการสอนรปู แบบการสอนแบบเพอื่ นช่วยเพือ่ น

22 ตามแผนการสอน หนว่ ยการเรียนรู้ เรื่อง การปอ้ งกันตนเองจากการถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ เวลาทดลอง 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 วนั ในชวั่ โมงการเรยี นวชิ าสุขศกึ ษา 3. เมอื่ ดำเนินการทดลองครบ 4 สัปดาห์ ผู้วิจัยทำการทดสอบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของกลุม่ ตัวอย่าง และกลมุ่ ทดลอง (Posttest) หลังเสร็จส้นิ การทดลอง โดยใช้แบบทดสอบชดุ เดยี วกันกับท่ใี ช้ในการ ทดลอง ครัง้ กอ่ นทดลอง 4. นำข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการทดสอบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน มาตรวจใหค้ ะแนนและนำไปทำการ วิเคราะห์ ข้อมลู ด้วยวธิ ที างสถิตติ ่อไป สรุปผล นักเรียนตัวอย่างที่ได้รับเทคนิคการสอนแบบเพือ่ นช่วยเพื่อนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเพศวิถีศึกษา เร่ือง การป้องกันตนเองจากการถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ ซ่งึ วดั 3 ดา้ น 1. ด้านความรู้นกั เรยี นตวั อย่างทไ่ี ด้รับเทคนิคการสอนแบบเพื่อนชว่ ยเพ่ือนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน วิชา เพศวิถศี กึ ษา เร่ืองการปอ้ งกนั ตนเองจากการถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ สูงกวา่ นักเรยี นที่เรยี นด้วยการสอนแบบปกติ 2. ด้านเจตคตนิ กั เรียนตวั อย่างทไ่ี ด้รับเทคนิคการสอนแบบเพ่ือนช่วยเพ่ือนพบว่าเจตคติตอ่ การเรียน วิชา เพศวิถีศึกษา เรื่องการป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศพบว่าเจตคติสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอน แบบปกติ 3. ดา้ นความพึงพอใจนกั เรยี นตัวอยา่ งท่ไี ดร้ บั เทคนิคการสอนแบบเพ่อื นช่วยเพื่อนมีความพึงพอใจตอ่ การ เรียนวิชาเพสวถิ ีศกึ ษา เรอื่ งการป้องกนั ตนเองจากการถกู ลว่ งละเมิดทางเพศ อภปิ รายผล ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ที่เรียนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการ ทดลอง ท้งั นอี้ าจเน่อื งมาจาก แผนการจดั การเรียนรู้โดยวธิ ีสอนใช้รูปแบบการสอนแบบเพอื่ นช่วยเพื่อน จำนวน 4 แผน มีการจัดระบบกระบวนการเรยี นรู้ เปน็ ข้นั ตอน ดังน้ี 1.) ขั้นนำโดยใชก้ ระบวนการเล่นเกมกระตุน้ ความสนใจให้กับผเู้ รยี นเกดิ การเรียนรู้และการสืบคน้

23 2.) ขั้นสอน แบ่งกลุ่มศึกษาคละกัน โดยในกลุ่มมีเด็กนักเรียนคละกันตามความสามารถ เช่น เก่ง กลาง อ่อน ซงึ่ จะกระบวนการในการชว่ ยเหลือกัน และสบื คน้ ความร้แู ละน ามาสรุปใช้แผนผงั ความคิดเขยี นสรุป ความรู้ ให้ไดค้ วามคดิ หลัก ความคดิ รอง ความคิดยอ่ ย ๆ ตามลำดบั 3.) ขน้ั สรุป ใชแ้ ผนผังความคิดท่ีนักเรยี นสรปุ ความคิดได้จากการสืบคน้ หรือจากบทเรียนมานำเสนอ พร้อม สรุปเปน็ รายบคุ คล 4.) ขั้นการวัดประเมินผล ใช้แบบทดสอบและตรวจแผนผังความคิด ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ได้ ผา่ นการหาคุณภาพ แผนผงั ความคิด เรมิ่ ด้วยภาพที่ตรงก่งึ กลางหน้ากระดาษ ใชภ้ าพกอ่ นคำสำคญั หรือ รหัสเพ่ือ เป็นการชว่ ยการทำงานของสมอง เริม่ ด้วยภาพทดี่ ึงดูดสายตา และชว่ ยในการจดจำ ให้ภาพชัดเจนสะดุดตาอา่ นง่าย ช่วยใหส้ ามารถประหยัดเวลาได้เมอ่ื ย้อนกลับมาอ่านใหม่อกี ครัง้ เขียนคำสำคัญ เหนือเสน้ และแต่ละเส้นเชื่อมโยง กับเส้นอื่น เพื่อให้แผนผังความคิด มีโครงสร้าง เชื่อมโยงกับคำหรือ เนื้อหาอื่นๆ ได้อย่างอิสระเปิดทางให้แผนผัง ความคดิ คล่องตวั และยดื หยุน่ มากข้ึน และระบายสีช่วย ยกระดบั ความจำเพลดิ เพลนิ กระต้นุ สมองซีกขวา การทำ กิจกรรมแบบเพือ่ นช่วยเพอื่ น จบั คศู่ ึกษาเป็นการ กระตุน้ ให้ทกุ คนสามารถสืบค้น กระตุน้ การเรยี นรู้แบบเพื่อนช่วย เพื่อน เป็นการจัดการเรียนรู้ที่แบ่งผู้เรียน ออกเป็นกลุ่มเล็ก ๆ สมาชิกในกลุ่มมีความสามารถแตกต่างกันมีการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือสนับสนุนซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบร่วมกันทั้งในส่วนตนเอง และสว่ นรวม เพือ่ ใหก้ ลมุ่ ได้รับความสำเรจ็ ตามเปา้ หมายท่กี ำหนด ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการจัดการเรียนรู้แบบใฝ่รู้กับกลุม่ สาระอ่ืนๆ ของนักเรียนระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้ันปีที่ 1 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ให้เรียนด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภายหลงั การเรียน 2. ควรนำแผนการจดั การเรียนรู้เรื่องการป้องกนั ตนเองจากการถกู ลว่ งละเมิดทางเพศ ของนักเรียนระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั ปที ี่ 1 แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ ทเ่ี รียนดว้ ยวิธีการจดั การเรียนรแู้ บบเพ่ือนช่วยเพ่ือน ไปทดลองกบั กลุม่ ท่ีมี ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นแตกต่างกัน เพอ่ื ศกึ ษาผลสมั ฤทธ์ิของนักเรียนในกลุม่ ทแ่ี ตกตา่ งกัน

24 บรรณานกุ รม จนั ทร์เพ็ญ บำรุง. การพฒั นาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใชเ้ ทคนิคเพอื่ นช่วยเพอ่ื นของนักเรียนช้นั นกั เรียน ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชัน้ ปีท่ี 1. วทิ ยานพิ นธศ์ กึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัย มหาสารคาม, (2547). นิพนธ์ กรุงเทพฯ: บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ., (2546). ชศู รี วงศร์ ตั นะ และคณะ. การวิจยั เพ่ือพัฒนาการเรียนร.ู้ พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ: เมธที ปิ ., (2545). เตมิ ศกั ด์ิ คทวณชิ . จิตวทิ ยาทัว่ ไป. กรุงเทพฯ: ซีเอด็ ยูเคช่นั ., (2547). ประนอม ดอนแก้ว. การใชก้ ลวิธีการเรียนร้แู บบเพอื่ นช่วยเพอ่ื นเพ่ือพฒั นาทกั ษะการเคลือ่ นไหวทางกายใน การเล่น วอลเล่ยบ์ อลของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนเวียงมอกวทิ ยา. การค้นคว้าแบบอิสระ ศกึ ษา ศาสตรมหาบัณฑติ บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยเชยี งใหม.่ , (2550). ประภาพร อนั สงคราม. การพฒั นาแผนการสอนและแบบฝกึ ทกั ษะภาษาไทยการสะกดคำและแจกลูกดว้ ยวธิ ี สอน แบบกลุ่มเพอ่ื นชว่ ยเพ่อื น สำหรบั นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1. วทิ ยานพิ นธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, (2546). สุคนธ์ สินธพานนท์ และคณะ. การจัดกระบวนการเรยี นรทู้ เ่ี น้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามหลักสูตรการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน. กรุงเทพฯ: อักษรเจรญิ ทศั น์, (2545). สุนนั ทา โพธชิ์ ัย. การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรแู้ บบกล่มุ เพ่อื นชว่ ยเพื่อน เรอ่ื งเศษส่วน วิชาคณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4. วิทยานพิ นธ์ ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั มหาสารคาม , (2547). ศวิ าณา พนั ธุรัตน์. การปรับพฤตกิ รรมภาวะไมอ่ ยนู่ ิ่งและสมาธสิ ้ันของเด็กออทสิ ติกในห้องเรียนเรยี นรว่ ม โดยใช้ เทคนิคเพื่อนสอนเพอื่ น โรงเรยี นวดั ช่างเคยี่ น. การคน้ ควา้ แบบอิสระศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิต วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่, (2549) สุรางค์ โค้วตระกูล. จติ วทิ ยาการศึกษา. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 5. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พแ์ ห่ง จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, (2545). อารยนั ต์ แสงนกิ ุล. การพฒั นาแผนการเรียนรูแ้ บบกลมุ่ เพือ่ นช่วยเพอื่ นกล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เร่ือง ขนุ ชา้ ง ขุนแผน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาสารคาม, (2546).

25 Bender, W. N. Differentiation instruction for students with learning disabilities. California: Corwin Press, INC. ,(2002). Bandura, A., Cognitive Processes Mediating Behavioral Change. Journal of Personality and Social Psychology, 35, 125-139., (1977). Fuchs, D., Fuchs, L.S., Mathes, P.G., & Simmons, D.C. (1997). Peer-Assisted Learning Strategies: Making classrooms more responsive to diversity. American educational Research Journal, 34, 174-206. Imel, S.. Peer Tutoring in Adult and Literacy Education. Eric Clearinghouse on Adult Career and Vocational Education Columbus O H no. ED368891.,(1994) Kohn, J.J., & Vajda, P.G. Peer-mediated instruction and small group interaction In the ESL classroom. TESOL Quarterly, 4(9), 379 – 390. ,(1975). Maheady, L., Mallette, B., Harper, G.F., Sacca, K.C. & Pomerantz, D. Peermediated instruction for high-rish students. Teaching Reading to High-Rish Learners. Masschusette: Allyn and Bacon. ,(1994). Mathes, P.G.,Howard, J.K., Allen, S.H., & Fuchs, D. (1998) . Peer-assisted learning strategies for first- grade readers: Responding to the needs of diverse learners. Reading Research Quarterly, 33, 62-94. Miller, A.B., Barbetta, P.M., & Heron, T.E. General procedures of peer tutoring. Available: http:/www.ohio-stage.edu/urbanintiative/peer trtoring.theory.htm (June 20,2005).,(1994). Topping, K. Peer-and parent-assisted learning in reading, wring, spelling and Thing skills. Availlable at http://www.scre.ac.uk/spotliqht/spotlight82.html. ,(2001).


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook