Google Apps for Education 563. การพมืิ พ์เอกสาร และจัดรปืู แบบ การพิมพ์เอกสารและจัดรูปแบบของ Google Docs นนั้ จะคล้ายกับการใช้งาน MS Word4. การแทรกรูปภาพ ให้คลิก “Insert” แล้วเลือก Image
Google Apps for Education 57 คลิก “Choose an Image to upload” หรือลากรูปภาพเข้ามาใส่ แล้วรอจนกว่าจะอัพโหลดเสรจ รปู ภาพจะแทรกเขา้ มาในเองสารเองโดยอัตโนมตั ิ
Google Apps for Education 58 5. การบนั ทึกื เอกสาร การบันทึกเอกสารน้ัน โปรแกรมจะทาการบนทึกเอกสารให้เองโดยอัตโนมัติเมือมีการพิมพ์หรือแก้ไขเอกสาร เมื่อปิดโปรแกรมไฟลเ์ อกสารจะไปอย่ใู น Google Drive โดยอัตโนมตั ิ6. การสรางชีตื (Google Sheets) ไปท่ี Google Drive จากนนั้ คลิกขวาเลือก New file แล้วเลอื ก Google Sheets
Google Apps for Education 59 หนา้ เอกสารที่มีลักษณะคล้ายกบั MS Excel เมนูและแถบเครื่องมือของเอกสารสเปรดชตี มีลักษณะคลา้ ยกับโปรแกรม MS Excel สามารถใช้ งานได้ ง่าย เช่น การกาหนดรปู แบบสกลุ เงิน วันท่ี การใช้ฟังก์ชนั การใสส่ ตู รคานวณ การแทรก แผนภมู ิ เป็น ตน้ ***สว่ นเร่อื งการเปล่ยี นชอื่ เอกสาร, การแทรกรปู ภาพ และการบันทึกเอกสารจะเหมือนกับหัวข้อที่ ได้ กลา่ วมาแล้ว7. การพืิมพเ์ อกสาร และการจดืั รปู แบบ การพิมพ์เอกสาร และการจัดรูปแบบ น้ันเหมือนกับการใช้ MS Excel ดังนั้นจึงไม่ยาก
Google Apps for Education 60 8. การใชสตู รคานวณ ใน Google sheets นี้สามารถใช้สูตรคำนวณเหมือนกับ MS Excel ได้เลย ใน ตย. จะเปนการใช้สูตร=AVERAGE(number1,[number2],….) เพื่อหาค่าเฉล่ีย9. การแทรกแผนภมู ิื ให้คลกิ คลุมตารางท่ีเราตอ้ งการทาเปนแผนภูมิ
Google Apps for Education 61 จากนนั้ คลิก Insert แลว้ เลือก Chart เลอื กรูปแบบแผนภูมทิ ต่ี ้องการแลว้ คลกิ Insert
Google Apps for Education 62 แสดงการแทรกแผนภูมิ10. การปรบั แตงื่ แผนภูมิ หลงั จากท่เี ราไดท้ าการแทรกแผนภูมิแลว้ หากตอ้ งการปรบั แต่งแผนภมู ิ สามารถทำไดโ้ ดย คลิกที่แผนภมู ิคลิกสัญลักษณล์ ูกศรลงทีม่ มุ บนขวา แลว้ เลอื ก Advanced edit… จากนน้ั ทาการปรับแต่งแก้ไขตามต้องการ เสรจแล้วคลกิ Update
Google Apps for Education 63 เสรจสิ้นข้นั ตอน
Google Apps for Education 6411. การสรางแบบฟอร์ม (Google forms) ไปท่ี Google Drive จากนน้ั คลิกขวาเลอื ก New file แล้วเลอื ก Google Sheets คลกิ Get started เพื่อเร่ิมต้นใช้งาน
Google Apps for Education 65 หน้าตาและเคร่ืองมือของ Google forms12. การตงั้ คาถามและตัืวเลอกในการตัืงคาถาม การตง้ั คำถามจะมหี วั ขอ้ หลัก 3 หัวข้อคือ Question Title, Help Text, Question Type Question Title คือ ชื่อหัวข้อคาถาม Help Text คือ ตัวช่วยหรือคาอธบิ าย Question Type คอื ตวั เลือกของคาถาม ซึ่งจะมีตวั เลอื กให้ท้ังหมด 9 ตวั เลอื ก Question Type แบ่งเป็น 9 ตัวเลือก ดงั น้ี Text (แบบข้อความ) จะเปนการตอบแบบส้ันๆ เพียง 1 บรรทัด เสรจแล้วให้กดปุ่ม “Done” ***หากตอ้ งการบังคบั ให้ตอบให้แชคถกู ที่ Requires question***
Google Apps for Education 66 Paragraph text (แบบข้อความย่อหน้า) จะเป็นการตอบแบบยาวหลายบรรทัด เหมาะกับ การ ให้ข้อเสนอแนะ เสรจแล้วใหก้ ดปมุ่ “Done” Multiple choice (แบบหลายตัวเลือก) แต่จะสามารถเลือกได้เพียงคำตอบ เสรจแล้วให้กด ปุ่ม “Done” ***หากต้องการเพ่ิมตัวเลือกอื่นๆให้คลิกท่ี Add “Other”***
Google Apps for Education 67 Check boxes (แบบช่องทาเครื่องหมาย) สามารถเลือกคำตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ เสรจ แลว้ ใหก้ ดปมุ่ “Done” ***หากต้องการเพม่ิ ตวั เลือกอน่ื ๆให้คลกิ ที่ Add “Other”*** Choose from a list (แบบเลอื กจากรายการ) เป็นการเลือกคาตอบจากรายการ เสรจแลว้ ให้กด ปุ่ม “Done”
Google Apps for Education 68 Scale เป็นการเลือกระดับของคำตอบ โดยต้องเลือกว่าจะให้ 1 เป็นอะไร และ 5 เปนอะไร เช่น 1 = พอใจมาก 5 = ไม่พอใจ เสรจแล้วให้กดปมุ่ “Done” Grid (แบบเส้นตาราง) เป็นการสรา้ งแบบสอบถามท่ีมีแถว และ คอลัมน์ เสรจแลว้ ให้กด ปุ่ม “Done”
Google Apps for Education 69 Date (แบบวันที่) เปนการสร้างแบบสอบถามทีเ่ ก่ยี วกับวนั ท่ี เสรจแล้วใหก้ ดปมุ่ “Done” Time (แบบเวลา) เปน็ การสร้างแบบสอบถามทีเ่ กี่ยวกับเวลา เสรจแล้วใหก้ ดปุม่ “Done”
Google Apps for Education 70 ตวั อย่าง Question Type ทงั้ หมดในภาพรวม
Google Apps for Education 7113. การเพิ่มรายการคาถาม ให้ผู้ใช้คลิกทป่ี ุม่ “Add item” ซงึ่ จะอยู่ซ้ายมอื ด้านล่างของหวั ข้อท่ีเราไดท้ าการสร้างไป14. การแกไข, การทาสาเนา และการลบ ให้ผู้ใช้คลิกทีค่ ำถามท่ีต้องการ แก้ไข, การทำสาเนา และการลบ แล้วเลือกสัญลักษณ์มุมบนขวา ของคา ถาม15. การจดัื เรีืยงลาดับของคาถาม ให้ผใู้ ช้คลิกค้างที่คาถามที่ตอ้ งการ จากนนั้ ทาการเลื่อนข้ึนลงตามตำแหนง่ ท่ีต้องการ
Google Apps for Education 7216. การเปลืี่ยนชดุ รูปแบบ ให้คลิกท่ีเมนู Change theme จากนั้นทาการเลือกธีมท่ตี ้องการ จากนนั้ คลกิ View live form เพ่อื ดูตัวอย่างของแบบสอบถาม
Google Apps for Education 7317. การส่งแบบสอบถาม การส่งแบบสอบถามน้ันทาได้สองวธิ ี คอื 1.สง่ แบบ get link 2.ส่งแบบ email โดยมีขน้ั ตอนดังน้ี คลกิ Send form จากนัน้ จะทำการ Cop link to share เพอ่ื ส่งให้ผเู้ ขา้ อบรม หรือจะส่งทางอีเมล์ในช่อง Send form via email กได้ เสรจแลว้ คลกิ Send
Google Apps for Education 7418. การตรวจดกู ารตอบกลัืบและการสรุปผลการตอบกลับ คลิกที่เมนู Responses แลว้ เลอื ก Summary of responses ระบบจะทำการคำนวณและแสดงผลให้
Google Apps for Education 75 สว่ นการสรุปผลให้คลิกท่ี Responses แลว้ เลอื ก Choose response destination… จากนั้นเลอื ก Create เลอื ก View responses
Google Apps for Education 76 ระบบจะทำการสรา้ งชิตและแสดงขอ้ มูลการตอบกลับให้ 19. การทางานรว่ มกัืนแบบออนไลน์ การสร้างเอกสารหรือทารายงานบน Google Docs นั้น ไม่ได้แตกต่างจากการใช้งาน MS Office มากนักความสามารถในหลายๆ ดา้ นยังไมอ่ าจเทียบกนั ได้ แต่ท่ี Google Docs พิเศษกว่ากคือเราสามารถ เข้าไปแก้ไขเอกสารของเราจากท่ีใดกได้ผ่านอินเทอร์เนต และยังสามารถแก้ไขเอกสารร่วมกับผู้อ่ืนได้พร้อม กันอีกด้วย ซ่ึงช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย สมาชิกในกลุ่มไม่จาเป็นต้องเดินทางมาน่ังทางานร่วมกัน เราสามารถช่วยกันคิด ช่วยกันทารายงานได้จากทุกสถานท่ีเพียงแค่นัดเวลากันล่วงหน้า หรือหากจาเปนจริงๆ เวลาไม่ตรงกัน คนๆน้ัน กสามารถเข้ามาดูความคืบหน้าและแก้ไขในภายหลังได้เช่นกัน ซ่ึงคนอ่ืนๆ ในกลุ่ม สามารถตรวจสอบย้อนหลังได้ว่าใครเป็นผู้เข้ามาแก้ไขเพ่ิมเติม พร้อมทั้งตรวจสอบเวลาการแกไ้ ขไดด้ ว้ ย รวมถึงเน้อื หาสว่ นใดบา้ งทีถ่ กู แก้ไขข้อควรระวังในการแก้เอกสารพรอ้ มกนั ใน Google Docs กรณที่ เี่ ปิดไฟล์งานและแก้ไขงานในเวลาไลเ่ ล่ียกัน ระบบจะบันทึกข้อมูลของคนที่พิมพ์เป็นคนแรกและค่อยบันทึกของคนถดั ๆ มา หรือกรณีทพ่ี มิ พ์ข้อมลู พรอ้ มกัน ระบบจะบันทึกข้อมลู ไปพร้อมกนั และจะอบั เดตบนหน้าจออตั โนมัติ ซึ่งเราจะเหนการเปลย่ี นแปลงบนหน้าจอของแต่ละคนเหมือนกัน กรณีท่ีแก้ไขข้อมลู ในประโยคเดยี วกนั ในระยะเวลาพร้อมๆ กนั ระบบกจะบนั ทึกไวท้ ้ังคู่ และอบัเดต ใหเ้ หนบนหน้าจออัตโนมัติ แต่การอับเดตจะช้ากวา่ ปกติ
Google Apps for Education 77 20. การแชร์ืและการกำหนดสิทธกิ์ ารใชเอกสารร่วมกืัน เมื่อเราสร้างเอกสาร และตอ้ งการแบง่ ปันใหเ้ พื่อนร่วมงานหรือผู้อื่นเข้ามาใช้งานรว่ มกันสามารถทำไดด้ งั นี้ คลิกเอกสารทเี่ ราต้องการแชรใ์ ห้เพ่อื นร่วมงานเข้ามาใช้งานร่วมกัน แล้วคลิกสญั ลกั ษณ์ จากนั้นกรอก email ของผู้ร่วมงาน ต้ังสทิ ธิ์การเขา้ ใช้งานแล้วคลิก Send เม่ือเพอ่ื นร่วมงานเข้ามาแก้ไขเอกสารร่วมกันกับเรา เราจะสามารถเหนการทางานของเพ่ือน ร่วมงานแบบเรียลไทม์
Google Apps for Education 8721. การติดตามการใชืงาน และแกไขเอกสารร่วมกัน เราสามารถตดิ ตามได้ตลอดเวลา หากมผี ู้อ่ืนกาลังดเู อกสาร หรือแก้ไขเอกสารอยูเ่ ราสามารถทราบได้ทนั ทีและหากเราต้องการดปู ระวตั ิการแก้ไขเอกสาร สามารถทาไดโ้ ดย ไปที่เมนู “File” แล้วคลกิ เลอื ก “See revision history” หรือกดปุ่ม Ctrl+Alt+Shift+G
Google Apps for Education 88 ระบบจะทำการแสดงประวัติการทำงาน และสามารถ restore กลับมาเวอรช์ ันท่ีเราต้องการได้อีกด้วย22. การดาวนโ์ หลดไฟล หลังจากที่เราได้ทำการสร้างเอกสารบน Google Docs แล้ว หากต้องการนำไฟล์น้ันออกมาในรปู แบบอ่ืนๆสามารถทาได้โดย คลิกเมนู “File” เลือก “Download as” แล้วเลือกชนิดของไฟล์ท่ีเราตอ้ งการนำออกมา
Google Apps for Education 89Google + (Google Plus) (Google+) เป็นบริการเครือข่ายสังคม (Social Network) ให้บริการโดย Google ทางานโดยรวมบริการหลาย อย่างของทางกเู กิลเขา้ ไว้ทเี่ ดยี วกัน ไดม้ ีการวิเคราะหม์ าวา่ บริการตัวนข้ี องกูเกลิ จะเป็นค่แู ขง่ กับเครือข่าย สงั คม Facebookบรกิ ารต่าง ๆ ท่กี ูเกิลนำเสนอมดี ังน้ี Circle สาหรับการแบ่งเพ่ือนออกเป็นกล่มุ ต่าง ๆ เหมือน Friend list บน Facebook Huddle สาหรบั การแชทเป็นกลุม่ และสง่ ข้อความสนั้ Hangout สาหรับการวดิ โี อแชทเป็นกลุม่ (มากทีส่ ุดได้ 10 คน) Instant upload จะอปั โหลดรูปภาพและวิดีโอท่ีถ่ายข้ึนอัลบั้มอตั โนมตั ิ แตจ่ ะให้ผ้ใู ชต้ ดั สินใจภายหลงั ว่าจะแบง่ ปนั ให้กับ ผู้ใด ใหบ้ ริการเฉพาะบนระบบแอนดรอยด์เทา่ นั้น Sparks ให้ผ้ใู ช้ติดตามหวั ข้อและประเดนตา่ ง ๆ ท่ตี นชอบ Streams ให้ผู้ใชด้ อู ปั เดตต่าง ๆ จากเพื่อนได้ คล้ายกบั News feed บน Facebook โดยเฉพาะการใช้งาน Google plus Hangouts นั้นเป็นการสื่อสารอีกอย่างหนึ่งสาหรับคนบนโลก ออนไลน์ นอกเหนือจากการส่งข้อความ รูปภาพ เสยี ง หรอื แมก้ ระทง่ั วดี ีโอ นนั่ กคือ วดี โี อคอล หรอื บางคน อาจเรียกว่าวีดีโอแชท Hangouts ของ Google+นี้นอกจากจะสามารถพูดคุยแบบเหนหน้าแล้ว ยังสามารถทาอะไรอย่างอ่ืนๆ ได้อีกมากมาย รวมท้ังสามารถติดตั้ง App เพิ่มเติม เพ่ือความสนกุ สนานในการเลน่ วดี โี อ แชทได้อีกด้วย1. วิธกี ารใชงาน
Google Apps for Education 901 คลกิ เลือก Google+เปล่ียนขอ้ มูลส่วนตวั (Profile)คลิกที่ ภาพประจาตวั ด้านบนขวาของหน้าต่างแล้วเลือกรายการ- เปล่ียนรปู ภาพ เพื่อเปลี่ยนรูปประจ าตวั- บญั ชี เพอ่ื เปล่ยี นขอม้ ูลส่วนตัว
Google Apps for Education 91จากนั้น Google Plus จะให้ทาการใส่ค่าต่างๆ 3 ขั้นตอนดังน้ีหนา้ ต้ังคา่ อนั แรกจะให้ใสช่ ื่อ วันเดือนปีเกดิ (อย่าใหต้ ่ากว่าอายุ 13 จะโดน Block ID)แล้วกดยอมรับการใช้ชอ่ื น้ี กจะเจอหนา้ สาหรบั การเพ่ิมและค้นหาเพื่อนๆ ทใี่ ช้งาน Google+ คล้ายกับตอน ทำการสมคั ร Facebook
Google Apps for Education 92เสรจแล้ว Google จะแนะนำบคุ คล หรือ เพจ หรือ Group ทเ่ี ราอาจจะสนใจติดตามให้ ถ้าสนใจเรื่องราวอนั ไหนกกด Follow ถา้ ไม่สนใจ กกด Continue เพือ่ ทางานต่อไปหนา้ สุดท้ายของการต้ังค่า จะเปนการใสร่ ูปภาพแทนตัว แต่กรณีรปู ภาพ หากจะใส่ แนะนาใหใ้ สร่ ปู คน อยา่ ใส่รปูสัตว์ หรือ สิงของ เพราะอาจโดน Google ระงับการใช้งานได้ (เพราะเงือ่ นไขของการใช้งานคือ Google+ ให้เปนการใช้งานส่วนบคุ คลครับ กรณจี ะสรา้ งเพือ่ ขายสนิ ค้า กให้ไปใช้ Page แทน)
Google Apps for Education 969 6สว่ นประกอบสว่ นการ Post ขอ้ ความ จะคล้ายกบั FB แต่มี Function ใหเ้ ลอื กมากกว่า
Google Apps for Education 979 7Google Hangoutประโยชน์ของ Hangouts มีมากมายเช่น พบปะพูดคุยกับเพื่อน หรือญาติ หรือคนอื่นๆท่ีอยู่ต่างถิ่น โดยไมเ่ สยี ค่าใช้จ่าย ประชมุ เรื่องงานกนั ผ่าน hangout ได้ เหมาะสาหรบั พนักงานบรษิ ัทใดๆ ท่ีมีสาขาอยู่หลายที่ สอนออนไลน์กันได้ท่ีบ้าน และผู้เรียนกเรียนกันอย่ทู ่ีบา้ น อย่างสบาย นดั กับเพ่ือนๆมาติวหนังสือกนั ออนไลน์ นั่งติวอยูบ่ ้าน ประหยดั เวลาเดินทางได้ และอืน่ ๆ ลองนาประยุกต์ใช้ดูตามความเหมาะสม โดยในเนื้อหานจ้ี ะเป็นการสอนการใช้งาน Application Hangouts บนคอมพวิ เตอร์ในการคุยกันผ่าน Google Hangout นี้สามารถ คุยพร้อมกันไดถ้ ึง 10 คน ในเวลาเดียวกันและ นอกจากจะ เหนหน้ากันแลว้ ผใู้ ช้งานยังสามารถ Share หน้าจอตัวเองใหผ้ ้รู ่วมประชมเหนได้อีกด้วย
Google Apps for Education 989 8การใช้งาน Google Plus Hangout1.เรยี กเมนู Home เลอื ก Hangouts2. จะเปิดหน้าจอ ดังรปู แล้วกดป่มุ Start a video call
3. สาหรับผใู้ ช้คร้ังแรก จะต้องติดต้ังปล๊ักอนิ Google Apps for Education 999 9เสรจแล้วใช้งานได้เลย จากน้ันกดปุ่มเข้ารว่ ม และชวนคนอื่นๆท่ีอยใู่ นแวดวงมาคุยกนั ได้ทนั ที3.หน้าตาของ Hangouts4.การเพม่ิ ผตู ืดิ ตอ่ Hangoutsเมอ่ื เปดิ โปรแกรม Hangout ข้ึนมาจะเหนชอ่ งทเ่ี ขยี นว่า + แฮงเอาท์ใหม่ ใหใ้ สอ่ ีเมล์ของผ้ทู ่ีเราต้องการเพิ่ม หรือตอ้ งการติดต่อ พมิ พ์ Email ท่ตี ้องการตดิ ต่อ
Google Apps for Education 100 100ส่งขอ้ ความ หรือเรม่ิ Hangouts ไดเ้ ลย เมือ่ มีการตอบกลับจากปลายทาง5. การต้งั คาต่าื งๆของ Hangoutsการตง้ั ค่าตา่ งๆของ Hangouts ทำไดโ้ ดยคลกิ สัญลักษณ์ ที่มุมขวาบน โปรแกรมจะแสดงเมนูการต้ังค่า ต่างๆเช่น การปดิ เสยี ง, กาหนดค่าคาเชิญใหม่, เปลย่ี นรูปโปรไฟล์, คนที่ถูกบลอก ฯ เปนตน้
Google Apps for Education 101 1016. การสนทนา 6.1 การสนทนาข้อความ (IM) ให้คลิกชื่อผู้ที่ต้องการสนทนาขอ้ ความ จากน้ัน Hangouts จะแสดงอีก 1 หนา้ ตา่ ง ให้ ทาการพมิ พข์ ้อความหรือสง่ อีโมติคอน แลว้ กด Enter เพ่อื สง่ ขอ้ ความ 6.2 การส่งรปู ภาพ ให้คลิกชอ่ื ผทู้ ่ตี ้องการสนทนาข้อความ จากนนั้ คลิกทส่ี ญั ลักษณ์ แล้วลาก รปู จากคอมพวิ เตอร์ไปวาง จากนั้นคลกิ เลือกรูปภาพท่ีต้องการส่ง
Google Apps for Education 102 1026.3 การสนทนาวดี ีโอ ใหค้ ลิกชอื่ ผทู้ ี่ต้องการสนทนาข้อความ จากนั้นคลิกท่สี ัญลักษณ์ จากนั้นระบบจะถามให้ตดิ ตง้ั ปลกั๊ อนิ ให้คลกิ ตดิ ตงั้ ปล๊ักอิน จากนนั้ ระบบจะทำการดาวน์โหลดไฟล์สาหรับติดต้ังปล้ักอินมาให้ชื่อไฟล์ GoogleVoiceAndVideosetup.exe แล้วใหท้ าการติดตง้ั
Google Apps for Education 103 103 คลิก Run เพื่อทาการตดิ ตั้งปล๊ักอนิ ระบบจะเร่ิมทาการส่งคาขอสนทนาวิดโี อไปยงั ผ้ทู ่ีเราตอ้ งการตดิ ต่อ จากนน้ั รอ การ ตอบรบั จากผู้ติดตอ่
Google Apps for Education 104 104 เม่ือผู้ตดิ ต่อได้รบั การส่งคำขอสนทนาวดิ ีโอจะมเี มนูแสดงขึ้นมาใหเ้ ลือกปฏเิ สธ หรือ รบั เม่ือกดรับ Hangouts จะแสดงหน้าตาของการสนทนาวิดโี อ
Google Apps for Education 105 105 การสนทนาแบบกลุ่ม ทาได้โดยคลิกสัญลักษณ์ แล้วใส่ช่ือผู้ตดิ ต่อหรือ อีเมล์ ลงไป แลว้ คลกิ เชิญ โดยสามารถเชิญได้ทีละหลายๆคน6.4 เครือ่ งมือต่างๆของ Hangout video เมือ่ เริ่มการสนทนาวิดีโอแล้วจะสงั เกตเหนว่ามีสัญลักษณเ์ ครื่องมือต่างๆอยู่ 2 สว่ น ดงั น้ี ส่วนที่ 1 สว่ นการปรับแต่งและตั้งค่าเก่ียวกับการ Video การส่งคาเชิญเพือ่ นคนอ่ืนๆเข้ามาสนทนาวิดโี อกลุ่ม การปิดเสียง การปิดวิดีโอ การปรับการใช้งานแบนดว์ ิดท์ การต้งั ค่า กลอ้ ง,ไมโครโฟน และ หูฟงั ออกจาการโทร
Google Apps for Education 106 106Google Sites Google Sites คือโปรแกรมของ Google ท่ีให้บริการสร้างเวบไซต์ฟรี สามารถสร้างเวบไซต์ได้ง่าย ปรับแต่งรูปลักษณ์ได้อย่างอิสระ และสามารถรวบรวมความหลากหลายของข้อมูลไว้ในที่เดียว เช่น วิดีโอ , ปฏิทิน, เอกสารอื่นๆ ทาให้ช่วยอานวยความสะดวกได้ เปนอย่างมาก ในการแก้ ไขหน้าเวบจะเปนกลมุ่ หรอื ทั้งองค์กรก ได้จุดเดน่ ของ Google Sites ใหบ้ ริการฟรี ไม่เสยี คา่ ใช้จา่ ย พน่ื ที่จดั เกบ 10GB ขนาดไฟล์ทใี่ ชใ้ นการจดั เกบสูงสดุ 10 MB เฉพาะพนื่ ท่ีเวบไซต์ไม่เกิน 500MB แต่หากรวมเปนสมาชกิ บริการอื่นๆ ของ Google ตัวอนื่ ๆเช่น youtube calendar picasa ไมเ่ กิน 10 GB มี Gadget เยอะแยะมากมาย และสามารถทาในรูปแบบท่ีเราต้องการได้
Google Apps for Education 107 107จดุ ดอยของ Google Sites ใช้งานรว่ มกบั CSS ท่อี อกแบบเองไม่ได้ ไมส่ ามารถใช้เปน็ เวบท่ตี ิดตอ่ ฐานขอ้ มูลได้ เวบไซตอ์ ยู่ภายใต้ Google ทาให้ domain name ยาว ยังมปี ัญหาเรื่องการใช้งานร่วมกับ script อ่ืนๆ ทาไดเ้ ฉพาะเม่ือต่ออินเตอร์เนตเท่าน้ัน1. การเข้าใช้งาน Google Sites พิมพ์ URL ไปที่ https://sites.google.com หรอื คลิก สัญลกั ษณแ์ ล้วเลือก Sites
Google Apps for Education 108 108รูปร่างหนา้ ตาเริ่มต้นของ Google Sites2. การสราง Sites 2.1 หลงั จากทเี่ ขา้ มายัง Google Site แลว้ ให้คลิกทเ่ี มนู “CREATE” ดา้ นซ้ายมือ
Google Apps for Education 1092.2 จากน้ันให้เลือกเทมเพลตท่ตี ้องการ, ต้ังช่อื ไซต์, เลือกธีมแสดงในเวบไซต์, ตัวเลือกเพ่ิมเติม จากนน้ั 109ให้คลกิ CREATE ตามลาดบัหนา้ ตาเร่ิมต้นของ Google Sites ท่เี ราสร้าง
Google Apps for Education 110 1103. การเปลี่ยื นธีม 3.1 ให้คลิกท่ีเมนูเพ่ิมเตมิ แลว้ เลอื ก จัดการไซต์3.2 จากนัน้ เลอื ก Themes, Colors, and Fonts ทาการเลือกธีมแล้วคลิก SAVE
Google Apps for Education 111 1114. การแกไขหนืาเพจ ในส่วนของเคร่ืองมือการจัดการหน้าเพจมีดังน้ี 4.1 แถบเมนูฟังก์ชนั ทใ่ี ชเ้ พมิ่ ลูกเลน่ ให้กับเวบไซต์ รวมไปถึง Gadget ต่างๆและเครอื่ งมือในการ จัดการหนา้ เวบ4.2 เมนู “Insert” เป็นเมนูทค่ี วบคมุ เก่ยี วกบั การใช้มีเดยี เช่น การใสร่ ปู ภาพ ลงิ ก์ วดิ ิโอ และgadget ต่างๆ จงึ ทาใหเ้ มนูน้ีถกู ใชง้ านบ่อยท่ีสุด
Google Apps for Education 112 112 4.3 เมนู “Format” เปนเมนูที่ใชก้ าหนดรปู แบบของตวั อักษร ซง่ึ เปนรูปแบบคาส่ังเดียวกนั กับแถบเมนู 4.4 เมนตู าราง เปนเมนูที่ใช้สร้าง หรือจัดการข้อมูลในรูปแบบตาราง
Google Apps for Education 113 113 4.5 เมนู “การออกแบบ” เปนเมนทู ใี่ ช้สาหรบั กำหนดรูปแบบการจดั วางคอลัมน์ในหนา้ เพจ5. การเพิ่มรปู ภาพ 5.1 คลิกสัญลักษณ์ “Edit Page” แล้วเลือก “Insert”
Google Apps for Education 114 1145.2 เลอื กแหล่งภาพทีต่ ้องการ (ภาพที่อัพโหลด หรือ จากทีอ่ ยู่เวบ) จากนั้นคลิก อัปโหลดภาพ5.3 เลือกรูปภาพแล้วคลิก Open6.1 รอการอปั โหลดซักครู่ จากนั้นเลือกรูปภาพท่ีอปั โหลดเสรจแล้ว และคลิก OK
Google Apps for Education 115 1156.2 ทาการปรับแต่ง และต้งั ค่าตา่ ง เสรจแลว้ คลิกSAVE เปนอันเสรจสิ้น
6. การเพ่ิมลงิ ค์ Google Apps for Education 116 6.1 การเชื่อมโยงลิงค์ภายในเวบไซต์ ให้คลิกสัญลักษณ์ 116“Link” “Edit Page” เลือก “Insert” แลว้ คลิก เลอื ก6.2 จะปรากฏ Dialog box สร้างลิงค์ เลอื กหน้าเวบไซต์ท่ีต้องการจะเช่ือมโยง ซ่งึ สามารถดูไดจ้ ากแผนผงั ไซต์และการเปล่ียนแปลงข้อมลู ล่าสุดบนเวบไซต์ เสรจแล้วคลิก “OK”
Google Apps for Education 117 117 6.3 การเชื่อมโยงลิงค์จากภายนอก ให้ทาตามข้อ 6.2 แลว้ จะปรากฏ Dialog box สร้างลิงค์ ซึง่ ในทนี่ จ้ี ะเลอื กใช้แบบ “Web address” โดยใส่ข้อความที่ช่อง “Text to display” และ ใส่ URL ที่ชอ่ ง ลิงค์ไปที่ URL น้ี หากตอ้ งการใหล้ ิงค์เปดิ ในหน้าต่างใหมใ่ ห้ต๊ิกที่ checkbox “เปิดลิงคน์ ี้ในหน้าตา่ งใหม่”เสรจ แลว้ คลิก “OK”
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117