จงั หวดั บุรีรัมย์
บุรีรัมย์ ความเป็ นมา บุรีรัมยเ์ ป็นเมอื งแห่งความรื่นรมยต์ ามความหมายของชอ่ื เมอื งท่นี ่าอยสู่ าหรบั คนในทอ้ งถ่ินและเป็นเมอื งที่น่ามาเยือนสาหรบั คนตา่ งถ่ิน เมอื งปราสาทหินในเขต จงั หวดั บุรีรมั ยม์ ากมีไปดว้ ย ปราสาทหินใหญน่ อ้ ย อนั หมายถงึ ความรุ่งเรืองมาแตอ่ ดีต จากการศึกษาของนกั โบราณคดีพบหลกั ฐานการอยอู่ าศยั ของมนษุ ยม์ าต้งั แต่ สมยั กอ่ นประวตั ิศาสตร์ สมยั ทราวดี และทสี่ าคญั ทสี่ ุดพบกระจายอยทู่ ว่ั ไปในจงั หวดั บรุ ีรัมยม์ าก คือ หลกั ฐานทางวฒั นธรรมของเขมรโบราณ ซ่ึงมที ้งั ปราสาทอฐิ และ ปราสาทหินเป็นจานวนมากกวา่ 60 แห่ง รวมท้งั ไดพ้ บแหลง่ โบราณคดีทสี่ าคญั คอื เตาเผา, ภาชนะดินเผา และภาชนะดินเผาแบบทเี่ รียกว่าเครื่องถว้ ยเขมร ซ่ึงกาหนด อายไุ ดป้ ระมาณพุทธศตวรรษที่ 15-18 อยทู่ ว่ั ไป และพระพทุ ธรูปมหาปรชั ญาปารมติ ตา หลงั จากสมยั ของวฒั นธรรมขอมหรือเขมรโบราณ แลว้ หลกั ฐานทาง ประวตั ศิ าสตร์ของจงั หวดั บุรีรัมย์ เริ่มมขี ้ึนอกี คร้ังตอนปลายสมยั กรุงศรีอยธุ ยา โดยปรากฏชื่อวา่ เป็นเมอื งเกา่ และปรากฏชอ่ื ต่อมาในสมยั กรุงธนบุรีถงึ สมยั กรุง รัตนโกสินทร์ว่าบรุ ีรมั ยม์ ฐี านะเป็นเมอื งหน่ึง และรู้จกั ในนามเมืองแปะจนถงึ พ.ศ. 2476 ไดม้ กี ารจดั ระเบยี บราชการบริหารส่วนภูมิภาคใหม่ จึงไดช้ ื่อเป็นจงั หวดั บุรีรมั ยม์ าจนถงึ ปัจจุบนั น้ีช่อื เมอื งบุรีรัมย์ ไมป่ รากฏในเอกสารประวตั ศิ าสตร์สมยั อยธุ ยา และธนบุรีเฉพาะช่ือเมอื งอื่น ซ่ึงปัจจบุ นั เป็นอาเภอในจงั หวดั บรุ ีรมั ย์ ไดแ้ ก่ เมอื ง นางรอง, เมอื งพุทไธสง และเมอื งประโคนชยั พ.ศ. 2319 รชั สมยั สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช กรุงธนบุรี กรมการเมืองนครราชสีมา มใี บบอกเขา้ มาวา่ พระยานางรองคบคดิ เป็น กบฏร่วมกบั เจา้ โอ, เจา้ อนิ และ อปุ ฮาดเมอื งจาปาศกั ด์ิ จึงโปรดใหพ้ ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมอ่ื ยงั ดารงตาแหน่ง เจา้ พระยาจกั รีเป็นแมท่ พั ไปปราบจบั ตวั พระยานางรองประหาร ชีวิต และสมทบเจา้ พระยาสุรสีห์ (สมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาสุรสิงหนาท) คุมกองทพั หวั เมืองฝ่ ายเหนือยกไปตีเมอื ง จาปาศกั ด์ิ, เมอื งโขง และเมอื งอตั ตะปือ ไดท้ ้งั 3 เมือง ประหารชีวติ เจา้ โอ, เจา้ อิน และอปุ ฮาด เมอื งจาปาศกั ด์ิ แลว้ เกล้ียกลอ่ มเมอื งตา่ ง ๆ ใกลเ้ คยี งให้สวามิภกั ด์ิ ไดแ้ ก่ เขมรป่ าดง, ตะลุง, สุรินทร์, สงั ขะ และเมอื งขุ ขนั ธ์ รวบรวมผคู้ นต้งั เมอื งข้นึ ในเขตขอม เรียกว่า เมอื งแปะ แตง่ ต้งั บุรีรัมย์ และใหบ้ ตุ รเจา้ เมอื งผไทสมนั ตแ์ ห่งพทุ ธไธสงเป็นเจา้ เมืองคนแรก ใหน้ ามเจา้ เมอื งวา่ พระยา นครภกั ดี ปกครองชาวเขมรป่ าดง,ชาวลาวเเละชนเผ่าอ่ืนๆ ซ่ึงพ้ืนเพของเจา้ เมืองเเปะคนเเรกเดิมมนี ามเดิมว่า เพ้ยี เหลก็ สะทอ้ น บตุ รชายของเพ้ยี ศรีปากหรือพระยาเสนา สงคราม เจา้ เมอื งพทุ ไธสงคนเเรก (อาเภอพทุ ไธสง จงั หวดั บุรีรมั ย)์ เพ้ียศรีปากเเละเพ้ียเหลก็ สะทอ้ นเคยเป็นกรมการเมืองในตาเเหน่งเพ้ยี โฮงหลวงของเมืองสุวรรณภูมริ าช บุรินทร์ประเทศราชหรือเมอื งทง่ ศรีภูมิ (อาเภอสุวรรณภูมิ จงั หวดั ร้อยเอ็ด) กอ่ นท่ตี อ่ มาเพ้ียศรีปากจะเเยกดินเเดนเมืองสุวรรณภมู เิ ดมิ ออกมาต้งั เป็นเมอื งพทุ ไธสงใน ภายหลงั เพ้ยี ศรีปากเป็นบตุ รของทา้ วพร อญั ญาเมืองสุวรรณภมู บิ ุตรชายของทา้ วเซียงเจา้ เมืองสุวรรณภูมิ ซ่ึงเป็นเจา้ หลานเเละสืบเช้ือสายมาจากเจา้ เเกว้ มงคลเจา้ เมอื งทง่ ศรี ภูมทิ า่ นเเรก อนั มีเช้ือสายกษตั ริยร์ าชวงศล์ า้ นชา้ ง อีกท้งั ยงั เป็นปฐมบรรพบุรุษของเจา้ เมอื งภาคอสี านทส่ี ่งลูกหลานไปปกครองหวั เมอื งอสี านกวา่ 20หวั เมอื งเเละภาคเหนือ อีก1หวั เมอื ง ไดเ้ เก่ เมืองสุวรรณภมู ริ าชบรุ ีประเทษราช (เมอื งสุวรรณภมู ิ) เมืองร้อยเอด็ เมืองชลบทวบิ ลู ย์ เมอื งขอนแก่น เมอื งเพ้ยี เมอื งรตั นนคร เมอื ง มหาสารคาม เมอื งศรีสระเกษ เมอื งโกสุมพสิ ัย เมอื งกนั ทรวิชยั (เมอื งโคกพระ) เมืองวาปี ปทุม เมอื งหนองหาน (อาเภอหนองหาน จงั หวดั อดุ รธานี) เมอื งโพน พิสยั (อาเภอโพนพสิ ยั จงั หวดั หนองคาย) เมืองพุทไธสง (เมอื งผไทสมนั ) เมืองบรุ ีรมั ย์ (เมอื งเเปะ) เมอื งเกษตรวสิ ยั เมอื งพนมไพรเเดนมฤค เมอื งธวชั บรุ ี เมืองพยคั ฆภมู ิ พสิ ยั (เมอื งเสือ) เมอื งจตุรพกั ตรพมิ าน (เมืองหงษ)์ เมอื งขามเฒา่ เมอื งเปื อยใหญ่ (บา้ นคอ้ ) เเละเมอื งนนั ทบุรี (เมอื งน่าน) ซ่ึงบอกไดว้ า่ พระยานครภกั ดีเจา้ เมอื งเเปะหรือ บุรีรมั ยท์ ่านเเรกสืบเช้อื สายมาจากเจา้ จารยเ์ เกว้ เเห่งเมอื งทง่ ศรีภูมเิ เละพระเสนาสงครามเเห่งเมอื งพทุ ไธสง อีกท้งั ยงั มเี ครือขา่ ยทางเครือญาตกิ บั หลายหวั เมอื งทว่ั ภาคอสี าน ร่วม20กวา่ หวั เมอื ง ต่อมาประมาณ พ.ศ. 2440-2441 เมอื งบุรีรมั ยไ์ ดก้ ลบั ไปข้นึ กบั มณฑลนครราชสีมาเรียกวา่ \"บริเวณนางรอง\" ประกอบดว้ ย เมอื งบรุ ีรัมย์ นางรอง รัตนบรุ ี ประโคนชยั และพทุ ไธสง พ.ศ. 2442 มปี ระกาศเปลย่ี นช่ือ ในคราวน้ีเปลีย่ นชื่อ บริเวณนางรองเป็น \"เมืองนางรอง\"มฐี านะเป็นเมอื งจตั วา ต้งั ที่วา่ การอยทู่ เ่ี มืองบรุ ีรมั ย์ แต่ตราตาแหน่งเป็นตราผวู้ ่าการนางรอง กระทรวงมหาดไทยจึงไดป้ ระกาศเปลยี่ นชื่อเมอื งเป็น \"บรุ ีรัมย\"์ และเปลย่ี นตราตาแหน่งเป็นผวู้ ่าราชการเมอื งบุรีรมั ย์ ต้งั แตว่ นั ท่ี 3 สิงหาคม พ.ศ. 2444 เป็นตน้ มา พ.ศ. 2450 กระทรวงมหาดไทยปรบั ปรุงหวั เมอื งในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ให้มณฑลนครราชสีมาประกอบดว้ ย 3 เมอื ง 17 อาเภอ คอื เมอื ง นครราชสีมา 10 อาเภอ, เมืองชยั ภูมิ 3 อาเภอ และเมอื งบรุ ีรมั ย์ 4 อาเภอ ซ่ึงไดแ้ ก่ นางรอง, พทุ ไธสง, ประโคนชยั (ตะลงุ ) และรตั นบุรี (ปัจจุบนั ข้ึนกบั จงั หวดั สุรินทร์) ตอ่ มาไดม้ กี ารตราพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบริหารแห่งราชอาณาจกั รสยาม พ.ศ. 2476 ข้นึ ยบุ มณฑลนครราชสีมา จดั ระเบยี บบริหารราชการส่วนภูมิภาค ออกเป็นจงั หวดั และอาเภอ เมอื งบรุ ีรัมยจ์ ึงมฐี านะเป็น จังหวัดบรุ ีรัมย์ ต้งั แตน่ ้นั เป็นตน้ มา
คาขวญั จงั หวดั บุรีรัมย์ เมืองปราสาทหิน ถิ่นภเู ขาไฟ ผา้ ไหมสวย รวยวฒั นธรรม เลิศล้าเมืองกีฬา ตราประจาจงั หวดั บุรีรัมย์ เป็นรูปปราสาทเขาพนมรุ้งมีกาแพงลอ้ มรอบ ภายในเป็นทอ้ งพระโรง มีเทวสถาน และรอยพระพุทธบาทจาลองประดิษฐานอยบู่ นยอดเขาแห่งน้ีดว้ ยภาพเทวดาร่ายรา หมายถึงดินแดนแห่งเทพเจา้ ผสู้ รา้ ง ผปู้ ราบยคุ เขญ็ และผปู้ ระสาทสุข ท่าร่ายรา หมายถึงความสาราญชื่นชมยินดี ซ่ึงตรงกบั การออกเสียงพยางคส์ ุดทา้ ยของเช่ือจงั หวดั
แผนท่ีการเดินทาง
อาหารพ้นื เมือง ยาแตร็ยปรัยหรือยากุง้ จ่อม ขา้ วขาหมู
ลูกชิ้นบุรีรัมย์ ลกู ชิ้นยนื กิน
การแต่งกาย คอื ชาวกยู แต่งกายคลา้ ยชาวเขมร แต่ท่ีพิเศษ คอื นิยมทดั ดอกไมท้ ี่หูท้งั 2 ขา้ ง ในงานพิธีตา่ ง ๆ ชาวอีสานถือวา่ การทอผา้ เป็นกิจกรรมยามวา่ งหลงั จากฤดูการทานาหรือวา่ งจากงานประจาอ่ืนๆ ใต้ ถุนบา้ นแตล่ ะบา้ นจะกางหูกทอผา้ กนั แทบทกุ ครัวเรือน โดยผหู้ ญิงในวยั ต่างๆ จะสืบทอดกนั มาผา่ น การจดจาและปฏิบตั ิจากวยั เด็ก ท้งั ลวดลายสีสนั การยอ้ มและการทอ ผา้ ท่ีทอดว้ ยมือจะนาไปใชต้ ดั เยบ็ ทาเป็นเคร่ืองนุ่งห่ม หมอน ที่นอน ผา้ ห่ม และการทอผา้ ยงั เป็นการเตรียมผา้ สาหรับการออก เรือนสาหรับหญิงวยั สาว ท้งั การเตรียมสาหรับตนเองและเจา้ บา่ ว ท้งั ยงั เป็นการวดั ถึงความเป็นกุล สตรี เป็นแม่เหยา้ แม่เรือนของหญิงชาวอีสานอีกดว้ ย ผา้ ที่ทอข้ึนจาแนกออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ผา้ ทอสาหรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั จะเป็นผา้ พ้ืนไม่มีลวดลาย เพราะตอ้ งการความทนทานจึงทอ ดว้ ยฝ้ายยอ้ มสีตามตอ้ งการ 2. ผา้ ทอสาหรับโอกาสพเิ ศษ เช่น ใชใ้ นงานบุญประเพณีตา่ งๆ งานแต่งงาน งานฟ้อนรา ผา้ ที่ทอจึง มกั มีลวดลายท่ีสวยงามวิจิตรพสิ ดาร มีหลากหลายสีสัน
สถานที่ท่องเที่ยว ชา้ งอารีน่า ช้างอารีนา หรือช่ือเดิม ไอ-โมบาย สเตเดียม ต้งั อยทู่ ่ีอาเภอเมือง เป็นสนามกีฬาท่ีสร้างข้นึ เพือ่ ใชเ้ ป็นสนาม เหยา้ ของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมยย์ ไู นเตด็ สนามแห่งมีความจุ 32,600 ที่นง่ั ถือไดว้ ่าเป็นแหล่งทอ่ งเท่ียว ดึงดูดผคู้ นท้งั ในและจงั หวดั ใกลเ้ คียงรวมถึงแฟนบอลทุกเพศทกุ วยั ใหม้ าท่ีนี่ เพ่ือชมสนามฟุตบอลท่ีสวยงาม และไดม้ าตราฐานระดบั โลก เมื่อเดินข้นึ บนั ไดเขา้ มาสู่สนามตอ้ งร้องวา้ ว เพราะสนามสวยงามทนั สมยั ยง่ิ ใหญ่ เหมือนกาลงั เดินชมสนามฟุตบอลในตา่ งประเทศ
ปราสาทเมืองต่า อีกหน่ึงปราสาทที่ไมค่ วรพลาดเมื่อมาถึงบุรีรัมย์ ซ่ึงตอ้ งเรียกวา่ อยเู่ คยี งคู่กบั ปราสาทพนมรุ้ง คือ ปราสาทเมือง ตา่ ซ่ึงต้งั อยไู่ มไ่ กลกนั ห่างกนั เพยี งแค่ 8 ก.ม. ปราสาทเมืองต่า ต้งั อยใู่ น อาเภอประโคนชยั มีรูปแบบที่แตกต่าง จากปราสาทแห่งอื่นๆ มีปรางคอ์ งคใ์ หญ่ตรงกลางลอ้ มรอบดว้ ยปรางคข์ นาดเลก็ กวา่ ท้งั 4 มมุ ลกั ษณะเป็นกลุ่ม ปราสาทอิฐ 5 องค์ ต้งั อยบู่ นศิลาแลงอนั เดียวกนั เรียงเป็น 2 แถว แถวหนา้ 3 องค์ ส่วนแถวหลงั มีปรางคอ์ ิฐ จานวน 2 องค์ วางตาแหน่งใหอ้ ยรู่ ะหวา่ งช่อง ของปรางค์ 3 องค์ ในแถวแรกทาใหส้ ามารถมองเห็นปรางคท์ ้งั 5 องค์ พร้อมกนั โดยไม่มีองคห์ น่ึงมาบดบงั
ศาลหลกั เมืองบุรีรัมย์ ศาลหลกั เมืองบรุ ีรัมย์ ต้งั อยใู่ จกลางเมืองบุรีรัมย์ เป็นสถานที่ศกั ด์ิสิทธ์ิคบู่ า้ นคเู่ มือง ที่เคารพสกั การะและเป็นที่ ยดึ เหน่ียวจิตใจของชาวบุรีรัมยแ์ ละจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง สร้างดว้ ยศิลปะกรรมท่ีสวยงาม ในรูปแบบศิลปะขอม โบราณท่ีเลียนแบบมาจากปราสาทหินพนมรุ้ง เพ่ือเป็นการบง่ บอกเอกลกั ษณ์และตวั ตนของคนชาวบุรีรัมยไ์ ด้ อยา่ งชดั เจน และที่สาคญั เป็นการรักษาวฒั นธรรมอนั ดีงามไวใ้ นคนรุ่นหลงั ไดส้ ืบทอดกนั ตอ่ ไป
วนอทุ ยานเขากระโด่ง วนอุทยานเขากระโดง ต้งั อยใู่ นอาเภอเมืองบุรีรัมย์ เป็นปากปลอ่ งภเู ขาไฟท่ีดบั สนิทแลว้ รอบ บริเวณปกคลุม ดว้ ยป่ าไมท้ ี่อุดมสมบูรณ์ ส่ิงท่ีน่าสนใจในวนอทุ ยานเขากระโดง คือ ปากปลอ่ งภูเขาไฟเขากระโดงซ่ึงดบั สนิท อายปุ ระมาณ 3 แสนถึง 9 แสนปี บนเขากระโดง เป็นท่ีประดิษฐาน พระสุภทั รบพิตร พระพุทธรูปคูเ่ มือง ของบุรีรัมย์ ซ่ึงเป็นพระพุทธรูปก่ออิฐฉาบปูนขนาดใหญ่ หนั หนา้ ไปทางทิศเหนือ ภายในเศียรบรรจุพระธาตุ จากจุดที่ต้งั ขององคพ์ ระสามารถมองเห็นทศั นียภาพของตวั เมืองบุรีรัมยไ์ ด้
ของดีประจาจงั หวดั กลว้ ยฉาบพนมรุ้ง เป็นกลว้ ยฉาบสูตรพเิ ศษหวานจากธรรมชาติ เป็นสินคา้ otop ที่จดั ทาโดยกลุ่มแมบ่ า้ นเกษตรกรบา้ นดอนหนอง แหน 88 หมู่ท่ี 3 บา้ นดอนหนองแหนพฒั นา ตาบลตาเป๊ ก อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จงั หวดั บรุ ีรัมย์ 31110 ติดตอ่ : คุณปิ ยะพร สกุลอรุณเพชร โทร : 089-8490162 ผา้ ไหมบรุ ีรัมย์ การส่งเสริมปลกู หม่อนเล้ียงไหมท่ีจงั หวดั บุรีรัมยเ์ ร่ิมมาต้งั แต่สมยั รัชการที่ ๕ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ที่ทรงโปรดเกลา้ ให้ กรมหม่ืนพิชยั มหิตโรดม พระราชโอรสลาดบั ที่ ๓๘ เป็นอธิบดีกรมช่างไหม ในปี ๒๔๔๗-๒๔๔๘ ไดม้ ีการจดั ต้งั สถานีเล้ียงไหมปลกู หม่อนที่จงั หวดั บุรีรัมยข์ ้นึ อธิบดีกรมช่างไหมทรงเสดจ็ ออก ตรวจเยยี่ มการทาไหมที่จงั หวดั บุรีรัมยโ์ ดยทางเกวยี น และทรงแต่งเพลง “ลาวดาเนินเกวียน”ข้ึนระหวา่ งเดินทาง ปัจจุบนั เรียกวา่ “เพลงลาวดวงเดือน”
เมื่อปี ๒๔๕๐ มีการต้งั โรงสาวไหมข้นึ ที่วา่ การอาเภอและศาลาวดั ในพ้นื ที่ที่มีการปลูกหมอ่ นเล้ียงไหม มากๆของบรุ ีรัมย์ เช่น บา้ นนาโพธ์ิ หน่วยเล้ียงไหมพทุ ไธสงและเมืองบรุ ีรัมยป์ ระสบความสาเร็จ กรมช่างไหม จึงใหห้ น่วยเล้ียงไหมในมณฑลอีสานข้นึ ตรงต่อหน่วยเมืองบรุ ีรัมย์ ต้งั แต่ปี ๒๔๕๖ การเล้ียงไหมชะงกั ลงจาการ ท่ีไหมเกิดโรคระบาด และเกิดสงครามโลกคร้ังที่ ๒ จนกระทง่ั ปี ๒๔๙๕ ไดม้ ีการยกฐานะโรงเล้ียงไหมจงั หวดั บุรีรัมยข์ ้ึนเป็นสถานีส่งเสริมการเล้ียงไหม ส่งเสริมการทาไหมอยา่ งจริงจงั อีก จนถึงปี ๒๕๑๘ มีการรวมกล่มุ “กล่มุ สตรีอาสาทอผา้ ไหม”ท่ีบา้ นนาโพธ์ิ อาเภอนาโพธ์ิ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ มีพระมหา กรุณาธิคณุ รับเป็นสมาชิกของมลู นิธิส่งเสริมศิลปชีพในพระองค์ จึงยกระดบั ฝีมือทอผา้ ชาวบรุ ีรัมยใ์ หด้ ียง่ิ ข้นึ เม่ือปี ๒๕๓๐ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงรับสัง่ ใหศ้ นู ยว์ ิจยั และพฒั นาคณุ ภาพชีวิต สถาบนั เทคโนโลยแี ห่งเอเชีย (AIT) ศึกษาขอ้ มลู พ้นื ท่ีแหง้ แลง้ ที่สุดของประเทศไทยพบวา่ อาเภอนาโพธ์ิเป็นพ้ืนที่แหง้ แลง้ ท่ีสุดของประเทศ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารีทรงทราบถึงโครงการ จึงรับพ้นื ท่ี อาเภอ นาโพธ์ิไวใ้ นโครงการส่วนพระองค์ ในปี ๒๕๔๒ ไดม้ ีการก่อสร้างศูนยห์ ตั กรรมพ้นื บา้ นที่อาเภอนาโพธ์ิ ข้ึน เพ่อื ส่งเสริมการพฒั นาอาชีพรองรับแผนงานโครงการส่วนพระองค์ ในปี ๒๕๔๕ ผผู้ ลิตผา้ ไหมชาวบุรีรัมย์ กวา่ ร้อยกลมุ่ จึงข้ึนทะเบียนเป็นผลิตภณั ฑ์ OTOP และไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งต่อเนื่องจนเป็นสินคา้ ที่มีช่ือเสียงใน ปัจจุบนั
กนุ เชียงพนรุ้ง กลุม่ แมบ่ า้ นเกษตรกรดอนไมไ้ ฟ หมู่ที่ 7 ต.ตาเป๊ ก อ.เฉลิมพระเกียรติ จงั หวดั บุรีรัมย์ ก่อต้งั เม่ือปี 2539 โดย เริ่มแรก มีสมาชิก 15 คน และมีเงินหุน้ 2,000 บาทโดยทางกลมุ่ ฯ มีวตั ถุประสงคท์ ี่จะร่วมกลุม่ ฯกนั เพื่อสร้าง อาชีพเสริมใหก้ บั สมาชิกภายในกลมุ่ ฯ โดยประชุมหารือกนั วา่ จะ ทาอาชีพเสริมกนั และมีมติท่ีประชุมใหม้ ีการ ฝึกอาชีพการทากุนเชียงเพราะเดิมหมบู่ า้ นดอนไมไ้ ฟมีผผู้ ลิตอยแู่ ลว้ และเจา้ ของไดเ้ ลง็ เห็นวา่ ควรจะถา่ ยทอด ความรู้ใหแ้ ก่ชุมชน เพอ่ื สร้างรายไดใ้ หแ้ ก่ประชาชนในชุมชน ทางกลมุ่ จึงสนใจที่จะรวมกลุ่มกนั ผลิต กุนเชียง เพราะกนุ เชียงของกลุ่มฯ มีความเป็นเอกลกั ษณ์ คอื อร่อย ไมม่ นั และมีกลิ่นหอม น่ารับประทาน ทางกลมุ่ จึง ช่วยกนั คดิ วา่ จะใชช้ ่ือกนุ เชียงของกล่มุ เราวา่ อยา่ งไร โดยเลง็ เห็นวา่ อาเภอของเรามีเขาพนมรุ้งเป็นจุดขายที่เป็น เอกลกั ษณ์ดา้ นประวตั ิศาสตร์และหลง่ ท่องเที่ยว เลยมีมติวา่ จะใชช้ ่ือวา่ “กนุ เชียงพนมรุ้ง” และต่อมาก็เป็นที่ แพร่หลายในจงั หวดั บรุ ีรัมยแ์ ละจงั หวดั ใกลเ้ คียง
ชาใบหม่อน ตน้ หม่อนเป็นพืชชนิดหน่ึงที่ชาวบา้ นในบา้ นเกตุเหนือ หมู่ที่ 7 ตาบลบา้ นตะโก อาเภอหว้ ยราช จงั หวดั บุรีรัมย์ และหมบู่ า้ นใกลเ้ คียงปลูกเพอื่ ไวเ้ ล้ียงไหม ผลิตเสน้ ไหมไวส้ าหรับทอผา้ ในการนุ่งห่ม ผหู้ ญิง สตรี ในอดีตจะทอ ผา้ ไหมเพอื่ ใชเ้ ป็นเคร่ืองนุ่งห่มกนั เอง โดยใชว้ สั ดุที่มีข้ึนเองในธรรมชาติ และมีการสืบทอดภมู ิปัญญาการทอผา้ ไหมแก่ลูกหลานสืบทอดกนั ตอ่ ๆ มา นอกจากน้ีชาวบา้ นนิยมทอผา้ ไวใ้ ชใ้ นงานประเพณีทอ้ งถ่ินเช่น บวชนาค งานแต่งงาน งานกฐิน ผา้ ป่ า ฯลฯ จุดเร่ิมตน้ ท่ีมีการแปรรูปจากใบหมอ่ นไวเ้ ล้ียงไหมมาผลิตเป็นใบชาเขียวใบหม่อน จากคาเล่าขานกนั มา ในช่วงปี พ.ศ. 2542 ผใู้ หญบ่ า้ นชื่อ นายสิทธ์ิ สุทธะ ไดท้ ดลองแปรรูปไวบ้ ริโภคเอง แบบลองผดิ ลองถกู ตอ่ มามี เจา้ หนา้ ท่ีจากหน่วยงานพฒั นาชุมชนอาเภอ สาธารณสุขอาเภอ เกษตรอาเภอ ไดเ้ ขา้ มาใหค้ าแนะนาข้นั ตอนการ ผลิตท่ีถกู ตอ้ ง จ่ึงไดพ้ ยายามผลิตใบชาจากใบหม่อนเพื่อจาหน่ายอีกคร้ังและเขา้ ไปอบรมเพม่ิ เติมที่สถานีทดลอง หม่อนไหมจงั หวดั บุรีรัมย์ เร่ืองการแปรรูปใบหม่อนใหม้ ีมูลคา่ เพ่มิ และไดร้ วบรวมสมาชิกในหมบู่ า้ นที่กาลงั วา่ งงานเน่ืองจากวกิ ฤตเศรษฐกิจตกต่า จานวน 8 ราย ระดมทุนเริ่มตน้ คนละ 200 บาท เพอื่ จดั ซ้ืออปุ กรณ์และ วสั ดุตา่ ง ๆ เนื่องจากสมาชิกมีความอดทนและความพยายามหาความรู้เพ่มิ เติมอยเู่ สมอ ตลอดจนเขา้ หาส่วน ราชการท่ีเก่ียวขอ้ งเพ่ือขอรับการสนบั สนุนดา้ นวิชาการงบประมาณ การตลาด การวางแผนบริหารจดั การกลุ่ม ใหแ้ ก่สมาชิกอยา่ งสม่าเสมอ
จนสามารถเป็นท่ียอมรับของกล่มุ ผบู้ ริโภคและสามารถเพิ่มรายไดใ้ หแ้ ก่สมาชิกนอกเหนือจากฤดูการ ทานาจนสมาชิกเพม่ิ ข้นึ มีรายไดไ้ ม่ต่ากวา่ เดือนละ 5,000-7,000 บาท/คน และสามารถเป็นที่ยอมรับของตลาด จนถึงปัจจุบนั ปัจจุบนั การปลูกหมอ่ นเล้ียงไหมของชาวบา้ นเกตเุ หนือ เพ่อื ใชเ้ ป็นวตั ถดุ ิบในการผลิตชาเขยี วใบ หมอ่ นโดยเฉพาะเน่ืองจากรายไดด้ ีกวา่ การปลกู หมอ่ นเล้ียงไหม และการทอผา้ ไหม
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: