Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยรวม5บท

วิจัยรวม5บท

Published by Ssiriwimol1201, 2021-03-17 05:31:53

Description: วิจัยรวม5บท

Search

Read the Text Version

1 บทท่ี 1 บทนำ ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปญั หำ ภำษำจีนในปัจจุบันเป็นภำษำท่ีได้เข้ำมีบทบำททำงสังคมไทยมำกขึ้น อีกท้ังภำษำจีนเป็นอีก ภำษำท่ีคนท่ัวโลกใช้กันมำกรองลงมำจำกภำษำอังกฤษ เหตุใดจึงมีคนใช้ภำษำจีนเยอะและกลำยเป็น ภำษำท่ีคนสนใจอยำกจะเรียนกันมำกข้ึน คำตอบไม่ใช้เพรำะประเทศจีนมีประชำกรเยอะเพียงอย่ำง เดียวแต่เพรำะกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจของประเทศจีนที่โตขึ้นอย่ำงรวดเร็ว นอกจำกนี้จีนยังมีกำร ประกำศใช้แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคม 5 ปี ฉบับท่ี 12 ซ่ึงจะเข้ำมำมีอิทธิพลต่อเศรษฐกิจโลกใน ด้ำนกำรลงทุน อีกท้ังกำรเข้ำมำเป็นส่วนหน่ึงของประชำคมอำเซียน+3 ซึ่งจะมีผลต่อควำมร่วมมือ ทำงเศรษฐกิจระดับภูมิภำคโดยเฉพำะในเขตทะเลจีนใต้ ได้แก่ ประเทศเวียนนำม มำเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน และประเทศไทย ดังน้ันจึงปฏิเสธไม่ได้ว่ำประเทศจีนกำลังเข้ำมำมี อทิ ธพิ ลตอ่ กำรค้ำกำรลงทุนในอนำคตและได้เข้ำมำมีบทบำทต่อตลำดแรงงำนของไทยในทุกระดับ ไม่ ว่ำจะเป็นในเรื่องของธุรกิจอุตสำหกรรมกำรท่องเท่ียว กำรติดต่อทำธุรกิจค้ำขำย หรือกำรร่วมทุนกับ นักธุรกิจชำวจีนท้ังจำกแผ่นดินใหญ่ ไต้หวัน ฮ่องกง หรือ สิงคโปร์ท่ีมีอัตรำส่วนทำงกำรทำธุรกิจเพิ่ม มำกขึ้นเรอื่ ยๆ ทำให้มีควำมต้องกำรบุคลำกรทีม่ คี วำมรใู้ นกำรใชภ้ ำษำจนี กลำงเพิ่มมำกข้นึ ในยุคสังคมโลกในศตวรรษที่ 21 กำรมีควำมรู้และควำมสำมำรถใช้ภำษำได้มำกกว่ำหนึ่ง ภำษำเป็นกุญแจสู่ควำมสู่ควำมสำเร็จของชีวิต ไม่ว่ำจะในด้ำนกำรศึกษำเล่ำเรียนหรือกำรงำนอำชีพ (พัชนี ตั้งยืนยง และสุรีย์ ชุณหเรืองเดช, 2552) กำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศเป็นพ้ืนฐำนสำคัญที่ ผู้เรียนทุกคนต้องเรียนรู้โดยได้รับกำรจัดลำดับควำมสำคัญอยู่ในกลุ่มที่สอง ซ่ึงเป็นสำระกำรเรียนรู้ท่ี เสริมสร้ำงพ้ืนฐำนควำมเป็นมนุษย์และสร้ำงศักยภำพ ในกำรคิดและกำรทำงำนอย่ำงสร้ำงสรรค์ (กระทรวงศึกษำธิกำร,2544, หน้ำ 1) กระทรวงศึกษำธิกำรได้ระบุควำมสำคัญของกำรเรียนรู้ ภำษำต่ำงประเทศไว้ว่ำ หลัก สูตรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำนพุทธศัก รำช2551 กำรเรียนรู้ ภำษำต่ำงประเทศมีควำมสำคัญและจำเป็นเป็นอย่ำงยิ่งในชีวิตประจำวัน เนื่องจำกเป็นเครื่องมือ สำคัญในกำรติดต่อสื่อสำร กำรศึกษำกำรแสวงหำควำมรู้กำรประกอบอำชีพ กำรสร้ำงควำมเข้ำใจ เกี่ยวกับวัฒนธรรมและวิสัยทัศน์ของชุมชนโลกและตระหนักถึงควำมหลำกหลำยทำงวัฒนธรรมและ มุมมองของสังคมโลก นำมำซึ่งซ่ึงมิตรไมตรีและควำมร่วมมือกับประเทศต่ำงๆ ช่วยพัฒนำให้ผู้เรียน มีควำมเข้ำใจตนเองและผู้อื่นมำกข้ึน เรียนรู้และเข้ำใจควำมแตกต่ำงของภำษำและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีกำรคิด สังคมเศรษฐกิจกำรเมืองกำรปกครองมีเจตคติท่ีดีต่อ กำรใช้ ภำษำต่ำงประเทศและใช้ภำษำต่ำงประเทศเพื่อกำรส่ือสำรได้รวมท้ังเข้ำถึงองค์วำมรู้ต่ำงๆได้ง่ำยและ กวำ้ งขึน้ (กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร, 2552, หน้ำ 211) เน่ืองจำกสภำพกำรณ์กำรเรียนกำรสอนภำษำจีนในประเทศไทยโดยทั่วไป พบว่ำยังใช้ระบบ เก่ำซ่ึงเน้นกำรท่องจำ อ่ำน คัดเขียน โดยไม่เกิดแรงจูงใจในกำรท่ีจะนำไปใช้ในชีวิตจริง กำรเรียน ภำษำจีนนั้นผู้เรียนจะต้องจำคำศัพท์ให้ได้ก่อน และผู้เรียนต้องจำตัวอักษรจีนเป็นตัวหน่ึงตัวอักษร มีหน่ึงควำมหมำย หำกผู้เรียนไม่เห็นควำมสำคัญของกำรจำตัวอักษรจีน หรือจำตัวอักษรจีนได้น้อย

2 เวลำอ่ำน เขียน ฟัง พูดก็จะรู้สึกยำก(ฐิติรัตน์ คุ้มทอง, 2547, หน้ำ 2) ปัญหำกำรเรียนกำรสอน ภำษำจีนน้ี มีควำมสอดคล้องกับประสบกำรณ์ของผู้วิจัยในกำรสอนภำษำจีนกับนักเรียนมัธยมศึกษำ ตอนปลำย โรงเรียนภูเวียงวิทยำคม ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนภำษำจีนของนักเรียนบำงส่วนยังอยู่ใน เกณฑ์ต่ำ ปัญหำที่พบคือ นักเรียนส่วนใหญ่ไม่มีควำมรู้พื้นฐำนทำงทักษะกำรอ่ำนและกำรเขียน ย่ิงไปกว่ำนั้น นักเรียนไม่สำมำรถจดจำตัวอักษรจีน คำศัพท์ และบทควำมของภำษำจีนได้ อีกท้ัง ครูผู้สอนก็ยังขำดกลยุทธ์ วิธีกำรสอน ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดควำมเบ่ือหน่ำยและไม่สนุกกับกำรเรียน ภำษำจีน ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนภำษำจนี ตำ่ กว่ำเกณฑ์ ผู้วิจัยจึงได้นำแนวทำงกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่สำมำรถพัฒนำผู้เรียนให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ ทำงกำรเรียนวิชำภำษำจีนท่ีน่ำสนใจวิธีหนึ่งก็คือกำรใช้แผนที่ควำมคิด(Mind Mapping) ภำยใต้ แนวคิดวิธีกำรเรียนแบบร่วมมือ(Cooperative learning) ซ่ึงแผนที่ควำมคิด(Mind Mapping) สำมำรถทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนภำษำจีนสูงข้ึน ได้สอดคล้องกับ สุวิทย์ มูลคำ และ อรทัย มูลคำ (2543:79-80) กล่ำวว่ำ กิจกรรมกำรเรียนรู้โดยใช้เทคนิคแผนที่ควำมคิด (Mind Mapping) เป็นกำรนำเอำทฤษฎีเกี่ยวกับสมองไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพรำะเกิดจำกกำร ใช้ทักษะท้ังหมดของสมองหรือเป็นกำรทำงำนร่วมกันของสมองทั้ง 2 ซีก คือสมองซีกซ้ำยและสมอง ซีกขวำ ซึ่งสมองซีกซ้ำยจะทำหน้ำท่ีในกำรวิเครำะห์คำ ภำษำ สัญลักษณ์ ระบบ ลำดับ ควำมเป็น เหตุผล ตรรกวิทยำ ส่วนสมองซีกขวำจะทำหน้ำท่ีสังเครำะห์คิดสร้ำงสรรค์จินตนำกำร ควำมงำม ศลิ ปะ จงั หวะ โดยมีแถบเส้นประสำทคอร์ปสั คอโลซัม่ เปน็ เสมือนสะพำนเช่อื ม ในกำรวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยยังได้นำแนวคิดวิธีกำรเรียนแบบร่วมมือ(Cooperative learning) เป็นวิธีกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลำงของกำรเรียนรู้ โดยจัดนักเรียนเป็นกลุ่ม เลก็ ๆ มกี ระบวนกำรทำงำนกลมุ่ ร่วมมอื นกั เรยี นแตล่ ะคนในกลมุ่ มีควำมสำมำรถแตกต่ำงกัน มีบทบำท ท่ีชัดเจนกำรเรียนหรือทำกิจกรรมอย่ำงเท่ำเทียมกันและได้เรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน มีกำรหมุนเวียน เปลี่ยนบทบำทหน้ำที่กันภำยในกลุ่ม มีปฏิสัมพันธ์ซึงกันและกันอย่ำงแท้จริง ได้พัฒนำทักษะและ พฤติกรรมควำมร่วมมือในกำรทำงำนกลุ่ม สมำชิกในกลุ่มมีส่วนร่วมในกำรแสดงควำมคิดเห็น กำร ตรวจสอบผลงำนขณะเดียวกันก็ต้องช่วยกันรับผิดชอบกำรเรียนรู้ในสมำชิกคนอื่นๆ ในกลุ่มเป้ำหมำย เช่นเดียวกัน ดังนั้น นักเรียนจึงต้องช่วยเหลือพ่ึงพำและสนับสนุนเพ่ือนทุกๆ คนในกลุ่มให้บรรลุ เป้ำหมำยร่วมกัน(Johnson et al., n.d. อ้ำงถึงใน สุภำพร รัตน์น้อย, 2546, หน้ำ 4) กำรเรียนกำร สอนแบบร่วมมือ(Cooperative learning) เป็นรูปแบบที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญโดยให้นักเรียนลงมือ ปฏิบตั งิ ำนเป็นกลุ่มยอ่ ยๆ เพ่ือสร้ำงเสริมสมรรถภำพกำรเรียนรขู้ องนกั เรยี นแต่ละคน และสนับสนุนให้ มีช่วยเหลือกันจนบรรลุผลตำมเป้ำหมำย(กรมวิชำกำร ,2544,หน้ำ 1) สอดคล้องกับ ปิยำภรณ์ รัตนำกรกุล(2535, หน้ำ 2) กล่ำวว่ำ กำรเรียนแบบร่วมมือจะทำให้ผู้เรียนรู้สึกสนุกสนำน ผ่อนคลำยเป็นอิสระในกำรเรียนรวมทั้งได้ฝึกประสบกำรณ์และฝึกทักษะตำมธรรมชำติโดยใช้ควำม ร่วมมอื ระหวำ่ งกลุ่มเพือ่ จะทำให้ผลทไ่ี ด้รับตำมมำคอื เป็นกำรฝึกพัฒนำกำรดำ้ นปฏิสัมพันธ์ควำมเข้ำใจ กำรบรหิ ำรเวลำ มีกำรพิจำรณำเลือกรูปแบบกำรเรียนในรูปแบบท่ีต้องกำรรวมทั้งสร้ำงควำมเข้ำใจใน เน้ือหำได้ง่ำยข้ึน ปัญหำและเหตุผลดังกล่ำวผู้วิจัย จึงมีควำมสนใจท่ีจะทำวิจัยเร่ือง กำรพัฒนำ ควำมสำมำรถในกำรจดจำคำศัพท์ภำษำจนี โดยใช้รูปแบบกำรเรยี นรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนท่ี

3 ควำมคิด(Mind Mapping) ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษำปีที่ 6 เพื่อเป็นแนวทำงในจัดกำรเรียนกำร สอนทีม่ คี ณุ ภำพ มีควำมเหมำะสมกับพื้นฐำน ควำมสนใจและธรรมชำติของนักเรียน พร้อมทั้งส่งเสริม ให้นักเรียนมีควำมรับผิดชอบต่องำนที่ได้รับมอบหมำย มีควำมกระตือรือร้นในกำรเรียนมีควำม สนุกสนำนไปกับกำรเรียนรู้และสำมำรถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้รวมถึงมีทัศนคติท่ีดีต่อกำรเรียน ภำษำจีนดว้ ย วัตถุประสงค์กำรวจิ ยั 1. เพ่ือเปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรยี นและหลังเรยี น ทเี่ รียนโดยใชร้ ปู แบบกำรเรยี นรู้แบบ รว่ มมอื รว่ มกับเทคนิคแผนท่ีควำมคดิ (Mind Mapping) ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 6 2. เพือ่ กำรศึกษำควำมพงึ พอใจของนักเรยี นทีเ่ รียนโดยใชร้ ูปแบบกำรเรียนรู้แบบรว่ มมือ ร่วมกับเทคนิคแผนทคี่ วำมคิด (Mind Mapping) ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษำปที ่ี 6 สมมุตฐิ ำนกำรวิจัย 1. นักเรียนท่ีได้รบั กำรจัดกำรเรียนรู้สอนโดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิค แผนทีค่ วำมคิด (Mind Mapping) มีผลสมั ฤทธ์ิหลงั เรียนสูงกวำ่ กอ่ นเรียน 2. นักเรียนที่ได้รับกำรสอนโดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนท่ี ควำมคดิ (Mind Mapping) มคี วำมพงึ พอใจในกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนอยูใ่ นระดับที่มำก ขอบเขตกำรวจิ ัย 1. กลุ่มเป้ำหมำย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยำคม จังหวัด ขอนแก่น ในภำคเรียน 2 ปีกำรศึกษำ 2563 จำนวน 31 คน โดยกำรเลือก กลุ่มตัวอย่ำงใช้วิธีกำร เจำะจง 2. ขอบเขตด้ำนเน้ือหำท่ีใช้ ในกำรวิจัยกำรพัฒนำควำมสำมำรถในกำรจดจำคำศัพท์ ภำษำจีน โดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนท่ีควำมคิด(Mind Mapping) ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษำปีท่ี 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยำคม จังหวัดขอนแก่น ในภำคเรียน 2 ปกี ำรศึกษำ 2563 ประกอบดว้ ย แผนกำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนรู้ เรือ่ ง 学校里边有邮局吗? 3. ตวั แปรที่ใช้ในกำรศึกษำคน้ คว้ำ 3.1 ตวั แปรอิสระ ได้แก่ 1. แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ 2. แผนทค่ี วำมคิด(Mind Mapping) 3.2 ตัวแปรตำม ได้แก่ 1.ผลสัมฤทธิท์ ำงกำรเรียนภำษำจีน 2.ควำมพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกำรใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับ เทคนิคแผนทคี่ วำมคิด(Mind Mapping)ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษำปีที่ 6 4. ระยะเวลำทีใ่ ช้ในกำรศกึ ษำ วันท่ี 1 ธนั วำคม 2563 – มนี ำคม 2564

4 นิยำมศพั ทเ์ ฉพำะ วิธีกำรเรยี นแบบรว่ มมือ(Cooperative learning) เป็นวิธีกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนที่เน้น ผู้เรียนเป็นศูนย์กลำงของกำรเรียนรู้ โดยจัดนักเรียนเป็นกลุ่มเล็กๆ มีกระบวนกำรทำงำนกลุ่มร่วมมือ นกั เรยี นแตล่ ะคนในกลุ่มมคี วำมสำมำรถแตกตำ่ งกัน มบี ทบำทท่ีชัดเจนกำรเรียนหรือทำกิจกรรมอย่ำง เท่ำเทียมกันและได้เรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน มีกำรหมุนเวียนเปลี่ยนบทบำทหน้ำท่ีกันภำยในกลุ่ม มีปฏิสมั พันธซ์ ึงกันและกันอย่ำงแท้จริง ได้พัฒนำทักษะและพฤติกรรมควำมร่วมมือในกำรทำงำนกลุ่ม สมำชิกในกลุ่มมีส่วนร่วมในกำรแสดงควำมคิดเห็น กำรตรวจสอบผลงำนขณะเดียวกันก็ต้องช่วยกัน รับผดิ ชอบกำรเรยี นรูใ้ นสมำชกิ คนอน่ื ๆ ในกลุ่มเปำ้ หมำยเชน่ เดยี วกนั แผนที่ควำมคิด(Mind Mapping) คือ กำรนำเอำทฤษฎีท่ีเก่ียวกับสมองมำใช้ให้เกิด ประโยชน์อย่ำงสูงสุด โดยเฉพำะเก่ียวกับกระบวนกำรเรียนรู้ของมนุษย์ กำรเขียนแผนท่ีควำมคิด เกิดจำกกำรใช้ทักษะท้ังหมดของสมอง เป็นกำรทำงำนร่วมกันของสมองท้ังสองซีก คือ สมองซีกซ้ำย และซีกขวำ โดยสมองซีกขวำจะทำหน้ำที่สังเครำะห์ คิดสร้ำงสรรค์ จินตนำกำร ควำมงำม ศิลปะ จังหวะ และสมองซีกซ้ำยจะทำหน้ำท่ีในกำรวิเครำะห์ภำษำ สัญลักษณ์ ลำดับ ระบบ ควำมเป็นเหตุ เป็นผลตรรกวทิ ยำ กำรจดจำคำศพั ท์ หมำยถงึ ควำมคงทนทำงกำรเรยี นรู้ คือ กำรคงไว้ซ่ึงผลกำรเรียนหรือ ควำมสำมำรถท่ีจะระลึกได้ต่อส่ิงเร้ำท่ีเคยเรียนหรือเคยมีประสบกำรณ์กำรรับรู้มำแล้ว หลังจำกท่ีได้ ท้ิงระยะไว้ระยะหนึ่ง ควำมคงทนทำงกำรเรียนรู้ หมำยถึง กำรรวบรวมประสบกำรณ์ต่ำงๆที่เกิดขึ้น จำกกำรเรียนรู้ท้ังทำงตรงและทำงอ้อม กล่ำวโดยสรุป ควำมคงทนทำงกำรเรียนรู้ หมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรระลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้มำแล้ว หลังจำกผ่ำนช่วงระยะเวลำหน่ึง ซึ่งควำมคงทน ทำงกำรเรยี นรู้ ก็คอื กำรจำ น่นั เอง ทักษะและเทคนิคกำรสอน ควำมหมำยคือควำมสำมำรถในกำรสอนอย่ำงมีประสิทธิภำพ โดยสำมำรถถ่ำยทอดควำมรตู้ ำ่ งๆใหก้ ับผู้เรียนได้ดี เทคนิค คือ กลวิธตี ่ำงๆ ทีใ่ ชเ้ สรมิ กระบวนกำร ขั้นตอน วธิ ีกำร หรือกำรกระทำใดๆ เพือ่ ชว่ ยใหก้ ระบวนกำร ขั้นตอน วธิ กี ำร หรือกำรกระทำนั้นๆ มีคณุ ภำพและประสิทธิภำพมำกข้ึน ดงั นัน้ เทคนิคกำรสอน จงึ หมำยถงึ กลวธิ ตี ำ่ งๆ ที่ใช้เสริมกระบวนกำรสอน ขัน้ ตอนกำรสอน วิธีกำร สอน หรอื กำรดำเนนิ กำรทำงกำรสอนใดๆ เพื่อชว่ ยให้กำรสอนมีคุณภำพและประสิทธภิ ำพมำกขน้ึ เช่น ในกำรบรรยำยผู้สอนอำจใช้เทคนคิ ตำ่ งๆทีส่ ำมำรถช่วยให้กำรบรรยำยมีคุณภำพและ ประสิทธภิ ำพมำกขน้ึ เช่นกำรยกตัวอยำ่ งกำรใช้สอ่ื กำรใช้คำถำมเปน็ ตน้ ทกั ษะกำรสอน คือควำมสำมำรถในกำรปฏบิ ัติกำรสอนด้ำนตำ่ งๆอยำ่ งชำนำญซึง่ ครอบคลุมกำรวำงแผนกำรเรียนกำรสอน กำรออกแบบกำรเรียนกำรสอน กำรจัดกำรเรียนกำรสอน กำรใชว้ ธิ สี อนเทคนิคกำรสอนรูปแบบกำรเรยี นกำรสอน ระบบกำรสอน สื่อกำรสอนกำรประเมินผล กำรเรยี นกำรสอน รวมทัง้ กำรใช้ทฤษฎีและหลักกำรเรยี นร้แู ละกำรสอนต่ำงๆ ควำมพงึ พอใจ หมำยถงึ ทศั นคติทำงบวกของบุคคลทีม่ ตี ่อส่ิงใดส่งิ หนึ่ง เป็นควำมรู้สึกหรือ ทัศนคติที่ดีต่องำนท่ีทำของบุคคลที่มีต่องำนในทำงบวกควำมสุขของบุคคลอันเกิดจำกกำรปฏิบัติงำน และได้รับผลเป็นท่ีพึงพอใจทำให้บุคคลเกิดควำมกระตือรือร้นมีควำมสุข ควำมมุ่งมั่นที่จะทำงำน มีขวัญและมีกำลังใจมีควำมผูกพันกับหน่วยงำนมีควำมภำคภูมิใจในควำมสำเร็จของงำนท่ีทำและส่ิง

5 เห ล่ ำ น้ีจ ะ ส่ ง ผ ล ต่ อป ระ สิ ท ธิ ภ ำ พแ ล ะป ระ สิ ทธิ ผ ล ใน ก ำร ทำ ง ำน ส่ ง ผ ล ต่ อถึ งค ว ำม ก้ำ ว หน้ ำแ ล ะ ควำมสำเร็จขององคก์ ำรอีกดว้ ย ประโยชนท์ ค่ี ำดวำ่ จะได้รับ 1. ผู้เรียนได้รับกำรพัฒนำควำมสำมำรถในกำรจดจำคำศัพท์ภำษำจีนโดยกำรใช้รูปแบบกำร เรียนรแู้ บบรว่ มมอื รว่ มกบั เทคนิคแผนทคี่ วำมคิด(Mind Mapping) 2. ครไู ดก้ ระบวน/รูปแบบกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนท่ีนำไปพัฒนำควำมสำมำรถกำร จดจำคำศัพทข์ องนักเรียน 3. ทำให้นักกำรศึกษำและผู้ที่เกี่ยวข้องนำแนวทำงในกำรพัฒนำทักษะกำรจำไปใช้กับ นักเรยี นระดับอืน่ ๆตอ่ ไป 4. เพอ่ื เป็นสำรสนเทศในกำรยืนยัน ถึงกำรแสดงควำมพยำยำมของผู้วิจัย ท่ีได้ทำกำรวิจัยใน ชน้ั เรยี นและแก้ไขปัญหำผู้เรียน

6 บทท่ี 2 เอกสำรและงำนวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ในกำรศึกษำคน้ คว้ำงำนวจิ ัยในชน้ั เรยี นเรือ่ งกำรพัฒนำควำมสำมำรถในกำรจดจำคำศัพท์ ภำษำจีน โดยใชร้ ูปแบบกำรเรียนรูแ้ บบร่วมมอื ร่วมกับเทคนิคแผนที่ควำมคิด (Mind Mapping) ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษำปีที่ 6 ในกำรเรยี นภำษำจนี คร้ังน้ี ผศู้ กึ ษำค้นควำ้ ได้ศึกษำเอกสำร ทฤษฎี แนวคดิ หลักกำรและ งำนวจิ ยั ท่ีเก่ียวข้องดังนี้ 1. เอกสำรเก่ียวกับหลกั สตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำขน้ั พืน้ ฐำนพุทธศักรำช 2551 1.1 หลกั กำร 1.2 วิสยั ทัศน์ 1.3 จดุ หมำย 1.4 มำตรฐำนกำรเรยี นร้แู ละตวั ชวี้ ัด 2. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 3. เอกสำรเก่ียวกบั กำรจดจำคำศพั ท์ 4. เอกสำรเกีย่ วกบั วิธีกำรเรยี นแบบรว่ มมือ(Cooperative learning) 5. เอกสำรเกยี่ วกบั แผนทีค่ วำมคดิ (Mind Mapping) 6. เอกสำรเก่ียวกบั กำรสอนคำศพั ท์ 7. เอกสำรเกี่ยวกบั ควำมพงึ พอใจ 8. บรบิ ทของสถำนศึกษำและหอ้ งเรยี น 8.1 ควำมเปน็ มำของโรงเรียน 8.2 กำรบรหิ ำร 8.3 สภำพกำรเรียนภำษำจนี ในโรงเรียน 8.4 สภำพห้องเรียนและผู้เรยี น 9. งำนวิจยั ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง

7 1. เอกสำรเกย่ี วกับหลกั สูตรแกนกลำงกำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำนพทุ ธศกั รำช 2551 กระทรวงศึกษำธิกำร (2551) ได้กล่ำวไว้ว่ำกำรศึกษำวิจัยและติดตำมผลกำรใช้หลักสูตร กำรศกึ ษำข้ันพน้ื ฐำน พุทธศักรำช 2544 ที่ผ่ำนมำ ประกอบกับข้อมูลจำกแผนพัฒนำเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชำติฉบับที่ 10 เก่ียวกับแนวทำงกำรพัฒนำคนในสังคมไทย และจุดเน้นของ กระทรวงศึกษำธิกำรในกำรพัฒนำเยำวชนสู่ศตวรรษที่ 21 จึงเกิดกำรทบทวนหลักสูตรกำรศึกษำข้ัน พ้ืนฐำน พุทธศักรำช 2544 เพื่อนำไปสู่กำรพัฒนำหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน พุทธศกั รำช 2551 ท่มี คี วำมเหมำะสม ชัดเจน ท้งั เปำ้ หมำยของหลกั สตู รในกำรพฒั นำคณุ ภำพผู้เรียน และกระบวนกำรนำหลักสูตรไปสู่กำรปฏิบัติในระดับเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำและสถำนศึกษำ โดยได้มีกำร กำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมำย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มำตรฐำนกำร เรยี นรู้และตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพื่อใช้เป็นทิศทำงในกำรจัดทำหลักสูตร กำรเรียนกำรสอนในแต่ละระดับ นอกจำกนั้นได้กำหนดโครงสร้ำงเวลำเรียนขั้นต่ำของแต่ละกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ในแต่ละช้ันปีไว้ใน หลักสตู รแกนกลำง และเปดิ โอกำสใหส้ ถำนศึกษำเพม่ิ เตมิ เวลำเรยี นได้ตำมควำมพร้อมและจุดเน้น อีก ทั้งได้ปรับกระบวนกำรวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์กำรจบกำรศึกษำแต่ละระดับ และเอกสำร แสดงหลักฐำนทำงกำรศึกษำให้มีควำมสอดคล้องกับมำตรฐำนกำรเรียนรู้ และมีควำมชัดเจนต่อกำร นำไปปฏบิ ัติ เอกสำรหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน พุทธศักรำช 2551 น้ี จัดทำข้ึนสำหรับ ทอ้ งถิ่นและสถำนศกึ ษำไดน้ ำไปใช้เปน็ กรอบและทิศทำงในกำรจดั ทำหลักสูตรสถำนศึกษำ และจัดกำร เรียนกำรสอนเพ่ือพัฒนำเด็กและเยำวชนไทยทุกคนในระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนให้มีคุณภำพด้ำน ควำมรู้ และทกั ษะทีจ่ ำเป็นสำหรับกำรดำรงชีวิตในสังคมท่ีมีกำรเปลี่ยนแปลง และแสวงหำควำมรู้เพ่ือ พัฒนำตนเองอย่ำงต่อเนอื่ งตลอดชีวติ 1.1หลักกำร หลกั สูตรแกนกลำงกำรศึกษำขนั้ พ้ืนฐำน มหี ลกั กำรทสี่ ำคญั ดังน้ี 1) เป็นหลักสูตรกำรศึกษำเพื่อควำมเป็นเอกภำพของชำติ มีจุดหมำยและมำตรฐำนกำร เรยี นร้เู ปน็ เป้ำหมำยสำหรบั พฒั นำเด็กและเยำวชนใหม้ คี วำมรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพื้นฐำน ของควำมเปน็ ไทยควบคกู่ ับควำมเปน็ สำกล 2) เป็นหลักสูตรกำรศึกษำเพื่อปวงชน ท่ีประชำชนทุกคนมีโอกำสได้รับกำรศึกษำอย่ำง เสมอภำค และมีคุณภำพ 3) เป็นหลักสูตรกำรศึกษำท่ีสนองกำรกระจำยอำนำจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในกำรจัด กำรศึกษำให้สอดคลอ้ งกับสภำพและควำมต้องกำรของท้องถน่ิ 4) เป็นหลักสูตรกำรศึกษำที่มีโครงสร้ำงยืดหยุ่นท้ังด้ำนสำระกำรเรียนรู้ เวลำและกำร จัดกำรเรียนรู้ 5) เป็นหลกั สตู รกำรศึกษำทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ 6) เป็นหลักสูตรกำรศึกษำสำหรับกำรศึกษำในระบบ นอกระบบ และตำมอัธยำศัย ครอบคลมุ ทุกกลุ่มเปำ้ หมำย สำมำรถเทยี บโอนผลกำรเรยี นรู้ และประสบกำรณ์ 1.2 วิสยั ทศั น์ หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน มุ่งพัฒนำผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชำติ ให้เป็นมนุษย์ที่มีควำมสมดุลทั้งด้ำนร่ำงกำย ควำมรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในควำมเป็นพลเมืองไทย และเปน็ พลโลก ยึดมั่นในกำรปกครองตำมระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีควำมรู้และทักษะพื้นฐำน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อกำรศึกษำต่อ กำรประกอบอำชีพและ

8 กำรศึกษำตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพ้ืนฐำนควำมเช่ือว่ำ ทุกคนสำมำรถเรียนรู้และ พฒั นำตนเองไดเ้ ตม็ ตำมศกั ยภำพ 1.3 จดุ หมำย หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน มุ่งพัฒนำผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญำ มีควำมสุข มีศักยภำพในกำรศึกษำต่อ และประกอบอำชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมำยเพ่ือให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ กำรศึกษำขน้ั พนื้ ฐำน ดังน้ี 1) มีคุณธรรม จริยธรรม และค่ำนิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่ำของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตำม หลักธรรมของพระพทุ ธศำสนำ หรือศำสนำท่ีตนนับถือ ยึดหลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2) มีควำมรู้ ควำมสำมำรถในกำรสือ่ สำร กำรคดิ กำรแกป้ ญั หำ กำรใชเ้ ทคโนโลยี และมีทักษะชวี ิต 3) มีสุขภำพกำยและสขุ ภำพจติ ท่ีดี มีสขุ นิสัย และรกั กำรออกกำลงั กำย 4) มีควำมรักชำติ มีจิตสำนึกในควำมเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและกำรปกครอง ตำมระบอบประชำธิปไตยอนั มพี ระมหำกษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข 5) มีจิตสำนึกในกำรอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญำไทย กำรอนุรักษ์และพัฒนำส่ิงแวดล้อม มีจิต สำธำรณะทม่ี งุ่ ทำประโยชนแ์ ละสรำ้ งสง่ิ ท่ดี ีงำมในสังคม และอยูร่ ่วมกันในสังคมอย่ำงมีควำมสุข 1.4 มำตรฐำนกำรเรยี นรู้และตัวชี้วดั มำตรฐำนกำรเรียนรู้กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ หมำยถึงผลกำรเรียนรู้ที่ ต้องกำรให้เกิดต่อผู้เรียนเป็นมำตรฐำนกลำง ซึ่งเป็นกรอบด้ำนควำมรู้ ทักษะกระบวนกำร จริยธรรม ค่ำนยิ ม ทสี่ ถำนศกึ ษำสำมำรถนำไปปรบั และพัฒนำ ดงั น้ี สำระที่ 1 ภำษำเพือ่ กำรสื่อสำร มำตรฐำน ต1.1ข้ำใจและตคี วำมเร่ืองท่ีฟังและอ่ำนจำกสื่อประเภทต่ำงๆ และแสดงควำม คดิ เหน็ อย่ำงมเี หตุผล มำตรฐำน ต 1.2 มีทักษะกำรส่ือสำรทำงภำษำในกำรแลกเปล่ียนข้อมูลข่ำวสำร แสดงควำมรูส้ กึ และควำมคิดเหน็ อยำ่ งมีประสิทธภิ ำพ มำตรฐำน ต 1.3 นำเสนอข้อมูลข่ำวสำร ควำมคิดรวบยอด และควำมคิดเห็นในเร่ือง ต่ำงๆ โดยกำรพูดและกำรเขียน สำระท่ี 2 ภำษำและวฒั นธรรม มำตรฐำน ต 2.1 เข้ำใจควำมสัมพันธ์ระหว่ำงภำษำกับวัฒนธรรมของเจ้ำของภำษำ และนำไปใช้ได้ อย่ำงเหมำะสมกบั กำลเทศะ มำตรฐำน ต 2.2 เข้ำใจควำมเหมือนและควำมแตกต่ำงระหว่ำงภำษำและวัฒนธรรม ของเจำ้ ของภำษำกับภำษำและวัฒนธรรมไทย และนำมำใชอ้ ยำ่ งถูกต้องและเหมำะสม สำระท่ี 3 ภำษำกบั ควำมสัมพนั ธก์ บั กลมุ่ สำระกำรเรียนรอู้ ืน่ มำตรฐำน ต 3.1 ใช้ภำษำต่ำงประเทศในกำรเชื่อมโยงควำมรู้กับกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ อืน่ และเป็นพน้ื ฐำนในกำรพัฒนำ แสวงหำควำมรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน สำระที่ 4 ภำษำกับควำมสมั พันธก์ ับชมุ ชนและโลก มำตรฐำน ต 4.1 ใช้ภำษำต่ำงประเทศในสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ท้ังในสถำนศึกษำ ชุมชน และสงั คม

9 มำตรฐำน ต 4.2 ใช้ภำษำต่ำงประเทศเป็นเคร่ืองมือพื้นฐำนในกำรศึกษำต่อ กำร ประกอบอำชพี และกำรแลกเปล่ียนเรยี นรูก้ บั สงั คมโลก ซงึ่ ในกำรทำวจิ ยั ในคร้งั นี้ผศู้ ึกษำตอ้ งกำรแกไ้ ขมำตรฐำนกำรเรียนรู้ ต 1.1 เข้ำใจและตีควำมเร่ืองที่ฟังและอ่ำนจำกส่ือประเภทต่ำงๆ และแสดงควำมคิดเห็น อย่ำงมี เหตผุ ล 2. สมรรถนะของผูเ้ รียน คุณภำพผู้เรียนด้ำนสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5 ข้อ ได้ยึดตำมกรอบหลักสูตรแกนกลำง กำรศกึ ษำขน้ั พ้นื ฐำน พทุ ธศกั รำช 2551 ดังน้ี 1. ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร หมำยถึง ใช้ภำษำถ่ำยทอดควำมคิด ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ควำมรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อเปลี่ยนข้อมูลข่ำวสำรและประสบกำรณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อ กำรพัฒนำตนเองและสังคม รวมท้ังกำรเจรจำต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหำควำมขัดแย้งต่ำง ๆ กำร เลอื กรับหรือไมร่ บั ข้อมลู ข่ำวสำรด้วยหลักเหตุผลและควำมถูกต้อง ตลอดจนกำรเลือกใช้วิธีกำรสื่อสำร ทม่ี ปี ระสิทธิภำพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบทมี่ ตี อ่ ตนเองและสังคม 2. ควำมสำมำรถในกำรคดิ หมำยถึง ร้จู กั คิดวิเครำะห์ คิดสังเครำะห์ คิดอย่ำงสร้ำงสรรค์ คิด อย่ำงมีวิจำรณญำณ และคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่กำรสร้ำงองค์ควำมรู้หรือสำรสนเทศ เพื่อกำร ตัดสนิ ใจเกย่ี วกับตนเองและสงั คมได้อยำ่ งเหมำะสม 3. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ หมำยถึง เข้ำใจควำมสัมพันธ์และกำรเปลี่ยนแปลงของ เหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ในสังคมแสวงหำควำมรู้ ประยุกต์ควำมรู้มำใช้ในกำรป้องกัน และแก้ไขปัญหำได้ อย่ำงถูกต้องเหมำะสมบนพื้นฐำนของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมูลสำรสนเทศ รวมทั้งตัดสินใจท่ีมี ประสิทธิภำพ โดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบทีเ่ กดิ ขึ้นต่อตนเอง สงั คมและสิง่ แวดล้อม 4. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต หมำยถึง ใช้กระบวนกำรต่ำง ๆ ในกำรดำเนิน ชีวิตประจำวัน เรียนรู้ด้วยตนเองต่อเนื่อง ทำงำนและอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยกำรสร้ำงเสริม ควำมสมั พนั ธ์อันดีระหว่ำงบุคคล จัดกำรปัญหำและควำมขัดแย้งต่ำง ๆอย่ำงเหมำะสม รู้จักปรับตัวให้ ทันกับกำรเปลี่ยนแปลงของสังคมสภำพแวดล้อม และหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ท่ีส่งผล กระทบตอ่ ตนเองและผ้อู ่ืน 5. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี หมำยถึง รู้จักเลือกและใช้เทคโนโลยีด้ำนต่ำง ๆ ทักษะ กระบวนกำรทำงเทคโนโลยี เพอื่ กำรพัฒนำตนเองและสังคมในด้ำนกำรเรียนรู้ กำรส่ือสำร กำรทำงำน กำรแกป้ ญั หำอยำ่ งสร้ำงสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมำะสมและมคี ณุ ธรรม 3. เอกสำรเก่ียวกับกำรจดจำคำศัพท์ 3.1 ควำมหมำยของกำรจำ อำดัม (Adam 1969,9) กล่ำวว่ำ ควำมคงทนทำงกำรเรียนรู้ คือ กำรคงไว้ซ่ึงผลกำร เรียน หรือ ควำมสำมำรถที่จะระลึกได้ต่อส่ิงเร้ำที่เคยเรียน หรือเคยมีประสบกำรณ์กำรรับรู้มำแล้ว หลงั จำกท่ีไดท้ ิ้งระยะไว้ระยะหนึง่ กมลรัตน์ หล้ำสุวงษ์ (2528 , 239) สรุปไว้ว่ำ ควำมคงทนทำงกำรเรียนรู้ หมำยถึง กำร รวบรวมประสบกำรณ์ตำ่ งๆท่เี กดิ ขนึ้ จำกกำรเรยี นรทู้ ้ังทำงตรงและทำงอ้อม

10 กล่ำวโดยสรุป ควำมคงทนทำงกำรเรียนรู้ หมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรระลึกถึงสิ่งท่ีได้ เรยี นรู้มำแลว้ หลังจำกผำ่ นช่วงระยะเวลำหนึ่ง ซ่ึงควำมคงทนทำงกำรเรยี นรู้ กค็ ือกำรจำ นั่นเอง ควำมจำ จึงหมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรสะสมประสบกำรณ์ที่ได้จำกกำรเรียนรู้แล้ว สำมำรถแสดงประสบกำรณ์ดังกลำ่ วออกมำในรปู ของกำรระลึกได้ หรอื กำรแสดงออกทำงพฤตกิ รรม สุวภรณ์ วุฒิจูรีพันธ์ุ (2555 : Web Site) ให้นิยำมกำรจดจำคำศัพท์ไว้ว่ำ 1. ควำมเก่ียวเน่ือง: ถ้ำนักเรียนจัดคำศัพท์ออกเป็นหมวดหมู่ข้ึนอยู่กับควำมเก่ียวเนื่องสัมพันธ์กัน ร ะ ห ว่ ำ ง ค ำ ศั พ ท์ แ ล้ ว เ ขี ย น อ อ ก ม ำ เ ป็ น แ ผ น ผั ง จ ะ ท ำ ใ ห้ น้ อ ง ๆ จ ำ ค ำ ศั พ ท์ ไ ด้ ง่ ำ ย ข้ึ น 2. เขียน: กำรนำคำศัพท์น้ันๆ มำใช้ จะทำจำได้ฝังใจยิ่งขึ้น ลองแต่งประโยค โดยนำคำศัพท์ใหม่ท่ี เรียนมำใช้ แตง่ เป็นเรื่องรำวๆ งำ่ ยในชีวติ ประจำวนั หรอื เขียนเป็นไดอำรี่ 3. วำดรูป: ดงึ วญิ ญำณศิลปินตัวน้อยออกมำใช้ โดยกำรวำดรูปที่แสดงถึงศพั ทท์ ี่เรียนอยู่ 4. แสดง:แสดงท่ำทำงประกอบคำศัพท์หรือสำนวนที่กำลังเรียนอยู่หรือจินตนำกำรว่ำจะแสดงออก อยำ่ งไร ในสถำนกำรณท์ ่ตี ้องใชศ้ พั ท์คำนั้น 5. สรำ้ ง: ลองออกแบบสมดุ ศัพท์ภำษำอังกฤษพร้อมควำมหมำย แล้วเปิดอ่ำน หรือท่องในยำมว่ำง ทำ เล่มใหม่ทกุ อำทิตย์ จะไดค้ ลังคำศัพท์ในหวั เพม่ิ ขึ้น 6. ควำมสมั พันธ์: กำหนดแต่ละสี ให้แต่ละคำศัพท์ ควำมสัมพันธ์ของแต่ละคู่ จะช่วยให้จำศัพท์นั้นได้ แม่นยำข้นึ เมื่อนึกถึงคำนั้นในครำวต่อไป 7. ฟัง: นึกถึงศัพท์คำอ่ืนท่ีออกเสียงคล้ำยๆ กับศัพท์ใหม่ท่ีกำลังเรียนอยู่ ใช้ควำมสัมพันธ์ตรงจุดนี้ใน กำรชว่ ยจำกำรออกเสยี งของคำใหม่นั้นไดง้ ำ่ ยข้นึ 8. เลือก:จำไว้ว่ำ กำรเรียนในหัวข้อท่ี ชอบ จะทำให้รู้สึกว่ำมันง่ำยข้ึน ดังน้ันควรใส่ใจในกำรเลือก คำศัพท์ท่ีคิดว่ำมีประโยชน์ หรือน่ำสนใจ เพรำะแม้แต่กำรเลือกคำท่ีจะเรียน ก็มีผลให้จำได้แม่นและ เรว็ ข้ึนเชน่ กนั 9. ข้อจำกัด:มันเป็นไปไม่ได้ที่คนเรำจะจำศัพท์ในดิกชันนำร่ีได้หมดในวันเดียว ดังน้ันจำกัดกำรเรียน ศัพท์ใหม่แค่วันละ 10-15 คำ ก็พอแล้ว อย่ำพยำยำมยัดให้สมองตัวเองเยอะเกินเพรำะจะทำให้ สมองตอ้ื และเบอื่ หนำ่ ย 3.2 ชนดิ ของควำมจำของมนุษย์ แอตคนิ สัน และซิฟฟริน (ชยั พร วชิ ชำวธุ . 2540 : 39 ; อำ้ งอิงจำก Atkinson andShiffrin. 1997) ธญั ญะ บปุ ผเวส และคณำจำรยม์ หำวทิ ยำลัยขอนแกน่ (2543 : 191 – 192) ไดแ้ บ่ง ควำมจำของมนุษย์ออกเปน็ 3 ชนิด ดังนี้ 1. ควำมจำจำกกำรร้สู กึ สมั ผัส (Sensory Memory) หมำยถึง กำรคงอยู่ของควำมร้สู กึ สัมผสั หลังจำก เสนอสงิ่ เรำ้ สิ้นสุดลง กำรสัมผัสด้วยอวัยวะรบั สมั ผัสท้ัง 5 ไดแ้ ก่ หู ตำ จมูก ล้นิ และผิวหนงั หรอื ส่วน ใดส่วนหน่งึ

11 2. ควำมจำระยะส้ัน (Short - Term Memory) เขียนย่อว่ำ STM คือควำมจำหลังกำรเรียนรู้เป็น ควำมจำท่ีคงอยู่ในระยะเวลำสั้น ที่ต้ังใจจำหรือใจจดจ่อต่อสิ่งนั้นเท่ำนั้น เมื่อไม่ได้ใส่ใจในสิ่งเหล่ำนั้น แล้วควำมจำกจ็ ะเลอื นหำยไป 3. ควำมจำระยะยำว (Long – Term Memory) เขียนย่อว่ำ LTM หมำยถึง ควำมจำท่ีคงทนถำวร มำกกว่ำควำมจำระยะสั้น ไม่ว่ำจะท้ิงระยะไว้เน่ินนำนเพียงใด ถ้ำเมื่อต้องกำรรื้อฟื้นควำมจำน้ันๆ จะระลึกออกมำได้ทันทีและถูกต้อง ระบบควำมจำระยะยำวน้ีเป็นระบบควำมจำท่ีมีคุณค่ำย่ิง เป็น ควำมหมำยหรอื ควำมเข้ำใจในสิ่งที่ตนรู้สึก เป็นกำรตีควำม จึงข้ึนอยู่กับประสบกำรณ์เดิม ควำมสนใจ และควำมเชื่อของแตล่ ะคน 4. เอกสำรเกี่ยวกับวิธีกำรเรยี นแบบรว่ มมือ(Cooperative learning) กำรจัดกำรเรียนรู้แบบร่วมมือนับว่ำเป็นกำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใช้กระบวนกำรกลุ่มให้ผู้เรียนได้มีโอกำสทำงำนร่วมกันเพื่อผลประโยชน์และเกิดควำมสำเร็จ ร่วมกันของกลุ่ม ซ่ึงกำรเรียนแบบร่วมมือมิใช่เป็นเพียงจัดให้ผู้เรียนทำงำนเป็นกลุ่ม เช่น ทำรำยงำน ทำกิจกรรมประดิษฐ์หรือสร้ำงช้ินงำน อภิปรำย ตลอดจนปฏิบัติกำรทดลองแล้ว ผู้สอนทำหน้ำท่ี สรุปควำมรู้ด้วยตนเองเท่ำนั้น แต่ผู้สอนจะต้องพยำยำมใช้กลยุทธ์วิธีให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนกำร ประมวลสง่ิ ทม่ี ำจำกกำรทำกิจกรรมต่ำงๆ จดั ระบบควำมรสู้ รปุ เปน็ องค์ควำมรู้ด้วยตนเองเป็นหลักกำร สำคัญ (พิมพันธ์ เดชะคุปต์, 2544 :15 ) ดังน้ัน กำรจัดกำรเรียนรู้แบบร่วมมือผู้สอนจะต้องเลือก เทคนคิ กำรจัดกำรเรียนท่ีเหมำะสมกับผู้เรียน และผู้เรียนจะต้องมีควำมพร้อมท่ีจะร่วมกันทำกิจกรรม รับผิดชอบงำนของกลุ่มร่วมกัน โดยที่กลุ่มจะประสบควำมสำเร็จได้ เมื่อสมำชิกทุกคนได้เรียนรู้บรรลุ ตำมจุดมงุ่ หมำยเดียวกนั น่ันคือ กำรเรียนเป็นกลุ่มหรือเป็นทีมอย่ำงมีประสิทธิภำพน่ันเอง เพ่ือให้เกิด ควำมเข้ำใจในกำรจัดกำรเรียนรู้แบบร่วมมือมำกย่ิงข้ึน ในบทน้ีจะกล่ำวถึง รำยละเอียดของกำร จัดกำรเรียนรู้แบบร่วมมือ ประกอบไปด้วย ควำมหมำย วัตถุประสงค์ องค์ประกอบสำคัญของกำร เรียนรู้แบบร่วมมือ ควำมแตกต่ำงระหว่ำงกำรเรียนรู้แบบร่วมมือกับกำรเรียนเป็นกลุ่มแบบด้ังเดิม ขน้ั ตอนกำรจัดกิจกรรม เทคนิคกำรเรียนรู้แบบร่วมมือ วิธีกำรเรียนแบบร่วมมือ ประโยชน์ของกำร เรียนแบบร่วมมือ เงื่อนไขกำรเลือกวิธีกำรสอนแบบต่ำง ๆ และเหตุผลของกำรผสมผสำนกำรสอน แ บ บ ต่ ำ ง ๆ แ ล ะ ส รุ ป ท้ ำ ย บ ท ร ว ม ท้ั ง ใ น ต อ น ท้ ำ ย จ ะ มี กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ค ำ ถ ำ ม ท้ ำ ย บ ท 4.1 ควำมหมำย อำภรณ์ ใจเท่ียง (2550 : 121) ได้กล่ำวว่ำ กำรจัดกำรเรียนรู้แบบร่วมมือหรือแบบมี ส่วนร่วม หมำยถึง กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีควำมรู้ควำมสำมำรถต่ำงกัน ได้ร่วมมือกัน ทำงำนกลุ่มด้วยควำมต้ังใจและเต็มใจรับผิดชอบในบทบำทหน้ำท่ีในกลุ่มของตน ทำให้งำนของกลุ่ม ดำเนินไปสู่เปำ้ หมำยของงำนได้ สลำวนิ (Slavin, 1987 : 7-13) อำ้ งใน ไสว ฟกั ขำว (2544 : 192) ได้ใหค้ วำมหมำย ของกำรเรียนรู้แบบร่วมมือว่ำ หมำยถึง วิธีกำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่ีให้นักเรียนทำงำนร่วมกัน เป็นกลุ่มเล็ก ๆ โดยทั่วไปมีสมำชิกกลุ่มละ 4 คน สมำชิกกลุ่มมีควำมสำมำรถในกำรเรียนต่ำงกัน สมำชิกในกลุ่มจะรับผิดชอบในสิ่งที่ได้รับกำรสอน และช่วยเพื่อนสมำชิกให้เกิดกำรเรียนรู้ด้วย มีกำรชว่ ยเหลอื ซงึ่ กันและกัน โดยมเี ปำ้ หมำยในกำรทำงำนร่วมกัน คือ เปำ้ หมำยของกลุ่ม

12 ไสว ฟักขำว (2544 : 193) กล่ำวถึงกำรเรียนรู้แบบร่วมมือไว้ว่ำ เป็นกำรจัดกำรเรียน กำรสอนทแี่ บ่งผ้เู รียนออกเปน็ กลุ่มเล็ก ๆ สมำชิกในกลุ่มมีควำมสำมำรถแตกต่ำงกัน มีกำรแลกเปลี่ยน ควำมคิดเห็น มีกำรช่วยเหลือสนับสนุนซึ่งกันและกัน และมีควำมรับผิดชอบร่วมกันท้ังในส่วนตน และสว่ นรวม เพอื่ ใหก้ ลมุ่ ได้รับควำมสำเรจ็ ตำมเป้ำหมำยทีก่ ำหนด จำกควำมหมำยของกำรเรียนรู้แบบร่วมมือข้ำงต้น สรุปได้ว่ำ กำรจัดกำรเรียนรู้แบบ ร่วมมือ หมำยถึง กำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่ีผู้สอนจัดให้ผู้เรียนแบ่งเป็นกลุ่มเล็กๆ ประมำณ 4-6 คน เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยกำรทำงำนร่วมกัน ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน และร่วมกันรับผิดชอบงำน ในกลุ่มที่ได้รับมอบหมำย เพื่อให้ บรรลุเป้ำหมำยและ เกิดเป็นคว ำมสำเร็จของกลุ่ม 4.2 วัตถุประสงค์ สำหรับวัตถุประสงค์ของกำรจัดกำรเรียนรู้แบบร่วมมือ อำภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 121) ได้กลำ่ วว่ำ ดงั น้ี 1. เพอื่ ให้ผู้เรียนไดเ้ รียนรแู้ ละฝึกทักษะกระบวนกำรกลมุ่ ได้ฝึกบทบำทหน้ำที่และควำมรับผิดชอบ ในกำรทำงำนกล่มุ 2. เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นได้พฒั นำทักษะกำรคดิ คน้ คว้ำ ทกั ษะกำรแสวงหำควำมรู้ด้วยตนเอง ทักษะกำรคิดสร้ำงสรรค์ กำรแก้ปัญหำ กำรตัดสินใจ กำรตั้งคำถำม ตอบคำถำม กำรใช้ภำษำ กำรพดู ฯลฯ 3. เพอื่ ให้ผเู้ รียนได้ฝกึ ทกั ษะทำงสังคม กำรอยู่รว่ มกบั ผอู้ ืน่ กำรมนี ำ้ ใจชว่ ยเหลือผู้อน่ื กำรเสยี สละ กำรยอมรับกนั และกัน กำรไวว้ ำงใจ กำรเปน็ ผนู้ ำ ผู้ตำม ฯลฯ 4.3 ลักษณะของกำรเรยี นรูแ้ บบร่วมมอื อำภรณ์ ใจเทีย่ ง (2550 : 121) ไดก้ ล่ำวถงึ กำรจดั กจิ กรรมแบบรว่ มแรงรว่ มใจวำ่ มีลกั ษณะ ดงั น้ี 1. มกี ำรทำงำนกลุม่ ร่วมกนั มปี ฏสิ ัมพนั ธภ์ ำยในกลุ่มและระหว่ำงกลมุ่ 2. สมำชกิ ในกล่มุ มจี ำนวนไม่ควรเกิน 6 คน 3. สมำชิกในกลุม่ มคี วำมสำมำรถแตกตำ่ งกันเพื่อช่วยเหลือกนั 4. ส ม ำ ชิ ก ใ น ก ลุ่ ม ต่ ำ ง มี บ ท บ ำ ท รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น ห น้ ำ ท่ี ที่ ไ ด้ รั บ ม อ บ ห ม ำ ย เ ช่ น - เป็นผู้นำกล่มุ (Leader) - เปน็ ผู้อธบิ ำย (Explainer) - เป็นผจู้ ดบันทึก (Recorder) - เปน็ ผตู้ รวจสอบ (Checker) - เปน็ ผสู้ งั เกตกำรณ์ (Observer) - เปน็ ผใู้ ห้กำลงั ใจ (Encourager) ฯลฯ สมำชิกในกลุ่มมีควำมรับผิดชอบร่วมกัน ยึดหลักว่ำ “ควำมสำเร็จของแต่ละคน คือ ควำมสำเร็จของกลมุ่ ควำมสำเร็จของกลมุ่ คอื ควำมสำเร็จของทุกคน”

13 4.4 องคป์ ระกอบสำคญั ของกำรเรียนรู้แบบร่วมมือ นักวิชำกำรหลำยท่ำนได้กล่ำวถงึ องค์ประกอบของกำรเรียนรแู้ บบรว่ มมือ ไว้ดังนี้ จอห์นสัน และจอห์นสัน (Johnson and Johnson,1987 : 13 - 14)อ้ำงใน ไสว-ฟักขำว (2544 : 193-194) ได้กล่ำวถึงองค์ประกอบที่สำคัญของกำรเรียนรู้แบบร่วมมือ ไว้ดังนี้ 1. ควำมเก่ียวขอ้ งสมั พันธก์ นั ในทำงบวก (Positive Interdependence) หมำยถึง กำรที่สมำชิกในกลุ่มทำงำนอย่ำงมีเป้ำหมำยร่วมกัน มีกำรทำงำนร่วมกัน โดยที่สมำชิกทุกคนมีส่วน ร่วมในกำรทำงำนน้ัน มีกำรแบ่งปันวัสดุ อุปกรณ์ ข้อมูลต่ำง ๆ ในกำรทำงำน ทุกคนมีบทบำท หนำ้ ที่และประสบควำมสำเร็จร่วมกัน สมำชิกในกลุ่มจะมีควำมรู้สึกว่ำตนประสบควำมสำเร็จได้ก็๖อ เมื่อสมำชิกทุกคนในกลุ่มประสบควำมสำเร็จด้วย สมำชิกทุกคนจะได้รับผลประโยชน์ หรือรำงวัล ผลงำนกลุ่มโดยเท่ำเทียมกัน เช่น ถ้ำสมำชิกทุกคนช่วยกัน ทำให้กลุ่มได้คะแนน 90% แล้ว สมำชิกแต่ละคนจะไดค้ ะแนนพิเศษเพ่ิมอีก 5 คะแนน เปน็ รำงวลั เป็นตน้ 2. กำรมีปฏิสัมพันธ์ท่ีส่งเสริมซึ่งกันและกัน (Face To Face Pronotive Interaction) เป็น กำรติดต่อสัมพันธ์กัน แลกเปลี่ยนควำมคิดเห็นซึ่งกันและกัน กำรอธิบำยควำมรู้ให้แก่เพ่ือนในกลุ่มฟัง เป็นลักษณะสำคัญของกำรติดต่อปฏิสัมพันธ์โดยตรงของกำรเรียนแบบร่วมมือ ดังน้ัน จึงควรมีกำร แลกเปล่ียน ให้ข้อมูลย้อนกลับ เปิดโอกำสให้สมำชิกเสนอแนวควำมคิดใหม่ ๆ เพ่ือเลือกในสิ่งที่ เหมำะสมท่ีสดุ 3. ควำมรับผดิ ชอบของสมำชกิ แตล่ ะคน (Individual Accountability) ควำม รบั ผิดชอบของสมำชิกแต่ละบุคคล เป็นควำมรับผิดชอบในกำรเรียนรู้ของสมำชิกแต่ละบุคคล โดยมี กำรชว่ ยเหลือสง่ เสรมิ ซงึ่ กันและกนั เพอ่ื ให้เกดิ ควำมสำเรจ็ ตำมเป้ำหมำยกลุ่ม โดยที่สมำชิกทุกคนใน กลมุ่ มคี วำมมนั่ ใจ และพร้อมท่จี ะไดร้ ับกำรทดสอบเป็นรำยบคุ คล 4. กำรใชท้ กั ษะระหวำ่ งบุคคลและทักษะกำรทำงำนกลมุ่ ยอ่ ย (Interdependence and Small Group Skills) ทักษะระหว่ำงบุคคล และทักษะกำรทำงำนกลุ่มย่อย นักเรียนควร ได้รับกำรฝึกฝนทักษะเหล่ำน้ีเสียก่อน เพรำะเป็นทักษะสำคัญที่จะช่วยให้กำรทำงำนกลุ่มประสบ ผลสำเร็จ นักเรียนควรได้รับกำรฝึกทักษะในกำรสื่อสำร กำรเป็นผู้นำ กำรไว้วำงใจผู้อื่น กำร ตัดสินใจ กำรแก้ปัญหำ ครูควรจัดสถำนกำรณ์ที่จะส่งเสริมให้นักเรียน เพื่อให้นักเรียนสำมำรถ ทำงำนได้อย่ำงมปี ระสทิ ธภิ ำพ 5. กระบวนกำรกล่มุ (Group Process) เป็นกระบวนกำรทำงำนท่มี ีขัน้ ตอนหรือวิธีกำรท่ีจะช่วย ให้กำรดำเนินงำนกลุ่มเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ น่ันคือ สมำชิกทุกคนต้องทำควำมเข้ำใจใน เป้ำหมำยกำรทำงำน วำงแผนปฏิบัติงำนร่วมกัน ดำเนินงำนตำมแผนตลอดจนประเมินผลและ ปรบั ปรงุ งำน องค์ประกอบของกำรเรียนรู้แบบร่วมมือทั้ง 5 องค์ประกอบน้ี ต่ำงมีควำมสัมพันธ์ซ่ึงกันและ กัน ในอันท่ีจะช่วยให้กำรเรียนแบบร่วมมือดำเนินไปด้วยดี และบรรลุตำมเป้ำหมำยท่ีกลุ่มกำหนด โดยเฉพำะทักษะทำงสังคม ทักษะกำรทำงำนกลุ่มย่อย และกระบวนกำรกลุ่มซึ่งจำเป็นที่จะต้อง ไดร้ ับกำรฝึกฝน ทง้ั น้เี พอื่ ใหส้ มำชกิ กลุ่มเกิดควำมรู้ ควำมเข้ำใจและสำมำรถนำทักษะเหล่ำน้ีไปใช้ให้ เกิดประโยชนไ์ ด้อยำ่ งเตม็ ท่ี

14 อำภรณ์ ใจเทย่ี ง (2550 : 122) กล่ำวถงึ องคป์ ระกอบของกำรจดั กำรเรยี นรแู้ บบ ร่วมมือไว้ว่ำ ตอ้ งคำนงึ ถึงองคป์ ระกอบในกำรให้ผู้เรียนทำงำนกลุ่ม ดงั ขอ้ ตอ่ ไปนี้ 1. มีกำรพ่ึงพำอำศยั กัน (Positive Interdependence) หมำยถงึ สมำชกิ ในกลมุ่ มี เป้ำหมำยรว่ มกนั มสี ่วนรบั ควำมสำเร็จรว่ มกัน ใช้วัสดุอุปกรณ์ร่วมกัน มีบทบำทหน้ำที่ทุกคนทั่วกัน ทกุ คนมีควำมร้สู กึ ว่ำงำนจะสำเร็จไดต้ อ้ งช่วยเหลือซงึ่ กนั และกนั 2. มปี ฏิสมั พนั ธ์อยำ่ งใกล้ชิดในเชิงสรำ้ งสรรค์ (Face to Face Promotive Interaction) หมำยถึง สมำชิกกลุ่มได้ทำกิจกรรมอย่ำงใกล้ชิด เช่น แลกเปล่ียนควำมคิดเห็น อธบิ ำยควำมรแู้ ก่กัน ถำมคำถำม ตอบคำถำมกนั และกนั ด้วยควำมรู้สกึ ทดี่ ตี อ่ กัน 3. มีกำรตรวจสอบควำมรับผิดชอบของสมำชิกแต่ละคน (IndividualAccountability) เป็น หน้ำที่ของผู้สอนที่จะต้องตรวจสอบว่ำ สมำชิกทุกคนมีควำมรับผิดชอบต่องำนกลุ่มหรือไม่ มำกน้อย เพยี งใด เช่น กำรสุม่ ถำมสมำชิกในกลมุ่ สังเกตและบันทึกกำรทำงำนกลุ่ม ให้ผู้เรียนอธิบำยส่ิงที่ตน เรียนรใู้ หเ้ พ่ือนฟัง ทดสอบรำยบคุ คล เปน็ ต้น 4. มกี ำรฝกึ ทกั ษะกำรชว่ ยเหลือกันทำงำนและทักษะกำรทำงำนกลุ่มย่อย (Interdependence and Small Groups Skills) ผู้เรียนควรได้ฝึกทักษะที่จะช่วยให้งำนกลุ่ม ประสบควำมสำเรจ็ เชน่ ทกั ษะกำรสื่อสำร กำรยอมรับและช่วยเหลือกัน กำรวิจำรณ์ควำมคิดเห็น โดยไม่วิจำรณ์บุคคล กำรแก้ปัญหำควำมขัดแย้ง กำรให้ควำมช่วยเหลือ และกำรเอำใจใส่ต่อทุกคน อยำ่ งเท่ำเทยี มกนั กำรทำควำมรู้จกั และไว้วำงใจผอู้ ื่น เป็นต้น 5. มกี ำรฝกึ กระบวนกำรกล่มุ (Group Process) สมำชิกตอ้ งรบั ผิดชอบต่อกำร ทำงำนของกลุ่ม ต้องสำมำรถประเมินกำรทำงำนของกลุ่มได้ว่ำ ประสบผลสำเร็จมำกน้อยเพียงใด เพรำะเหตุใด ต้องแก้ไขปัญหำท่ีใด และอย่ำงไร เพื่อให้กำรทำงำนกลุ่มมีประสิทธิภำพดีกว่ำเดิม เป็นกำรฝกึ กระบวนกำรกลมุ่ อยำ่ งเป็นกระบวนกำร จำกองค์ประกอบสำคัญของกำรเรียนรู้แบบรว่ มมือ จงึ สรุปได้วำ่ กำรเรียนรู้แบบร่วมมือ น้นั มอี งคป์ ระกอบ 5 ประกำรดว้ ยกัน คอื 1. มีกำรพ่งึ พำอำศัยซงึ่ กนั และกัน โดยสมำชิกแต่ละคนมีเปำ้ หมำยในกำรทำงำนกล่มุ รว่ มกนั ซึ่งจะต้องพึงพำอำศัยซง่ึ กันและกันเพื่อควำมสำเรจ็ ของกำรทำงำนกลุ่ม 2. มีปฏสิ ัมพนั ธ์กันอย่ำงใกล้ชิดในเชิงสร้ำงสรรค์ เป็นกำรให้สมำชิกได้ร่วมกันทำงำนกลุ่มกันอย่ำง ใกล้ชิด โดยกำรเสนอและแสดงควำมคดิ เหน็ กันของสมำชิกภำยในกลุ่ม ด้วยควำมรสู้ ึกที่ดตี อ่ กัน 3. มีควำมรับผิดชอบของสมำชิกแต่ละคน หมำยควำมว่ำ สมำชิกภำยในกลุ่มแต่ละคนจะต้องมี ควำมรับผิดในกำรทำงำน โดยที่สมำชิกทุกคนในกลุ่มมีควำมม่ันใจ และพร้อมที่จะได้รับกำรทดสอบ เป็นรำยบุคคล 4. มีกำรใช้ทักษะกระบวนกำรกลุ่มย่อย ทักษะระหว่ำงบุคคล และทักษะกำรทำงำนกลุ่มย่อย นกั เรยี นควรไดร้ ับกำรฝกึ ฝนทกั ษะเหลำ่ นเ้ี สียกอ่ น เพรำะเป็นทกั ษะสำคญั ท่ีจะช่วยให้กำรทำงำนกลุ่ม ประสบผลสำเร็จ เพื่อใหน้ กั เรยี นจะสำมำรถทำงำนไดอ้ ย่ำงมีประสิทธภิ ำพ 5. มีกำรใช้กระบวนกำรกลุ่ม ซ่ึงเป็นกระบวนกำรทำงำนท่ีมีข้ันตอนหรือ วิธีกำรที่จะช่วยให้กำร ดำเนินงำนกลุ่มเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ ในกำรวำงแผนปฏิบัติงำนและเป้ำหมำยในกำรทำงำน รว่ มกัน โดยจะต้องดำเนินงำนตำมแผนตลอดจนประเมินผลและปรบั ปรุงงำน

15 4.5 ข้นั ตอนกำรจัดกจิ กรรม อำภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 122-123) กลำ่ วถึงขน้ั ตอนกำรจดั กจิ กรรมกำรจดั กำรเรียนรู้แบบ รว่ มมอื ไวด้ งั น้ี 1. ขนั้ เตรยี มกำร ผูส้ อนชแ้ี จงจดุ ประสงค์ของบทเรียน ผสู้ อนจัดกลุ่มผเู้ รยี นเป็นกลุม่ ย่อย กลุ่มละประมำณไม่เกนิ 6 คน มสี มำชิกทมี่ คี วำมสำมำรถแตกต่ำงกนั ผสู้ อนแนะนำวิธกี ำรทำงำนกลมุ่ และบทบำทของ สมำชกิ ในกล่มุ 2. ขั้นสอน ผสู้ อนนำเขำ้ สู่บทเรียน บอกปัญหำหรืองำนทตี่ อ้ งกำรให้กลมุ่ แก้ไขหรือคิด วิเครำะห์ หำคำตอบผ้สู อนแนะนำแหลง่ ข้อมูล ค้นควำ้ หรือให้ข้อมูลพื้นฐำนสำหรบั กำรคิดวิเครำะห์ ผสู้ อนมอบหมำยงำนที่กลมุ่ ต้องทำใหช้ ัดเจน 3. ข้นั ทำกิจกรรมกลุ่ม ผเู้ รียนรว่ มมือกนั ทำงำนตำมบทบำทหนำ้ ที่ทไ่ี ดร้ ับ ทุกคนรว่ มรับผดิ ชอบ รว่ มคิด รว่ มแสดงควำมคิดเห็น กำรจัดกิจกรรในขนั้ นี้ ครูควรใชเ้ ทคนิคกำรเรียนรู้แบบร่วมแรงร่วมใจ ท่ี นำ่ สนใจและเหมำะสมกับผเู้ รยี น เชน่ กำรเลำ่ เรอื่ งรอบวง มุมสนทนำ ค่ตู รวจสอบ คู่คดิ ฯลฯ ผสู้ อนสังเกตกำรณท์ ำงำนของกลุ่ม คอยเป็นผู้อำนวยควำมสะดวก ให้ควำมกระจำ่ งในกรณที ผ่ี ูเ้ รียน สงสยั ต้องกำรควำมชว่ ยเหลอื 4. ขน้ั ตรวจสอบผลงำนและทดสอบ ข้นั นผ้ี ู้เรยี นจะรำยงำนผลกำรทำงำนกลุ่ม ผสู้ อนและเพอื่ นกลมุ่ อ่ืนอำจซักถำมเพื่อใหเ้ กดิ ควำมกระจำ่ งชดั เจน เพอ่ื เป็นกำรตรวจสอบผลงำน ของกล่มุ และรำยบคุ คล 5. ข้ันสรปุ บทเรียนและประเมนิ ผลกำรทำงำนกลุ่ม ขน้ั นีผ้ ู้สอนและผเู้ รียนชว่ ยกัน สรปุ บทเรียน ผูส้ อนควรชว่ ยเสริมเพ่มิ เติมควำมรู้ ชว่ ยคดิ ใหค้ รบตำมเปำ้ หมำยกำรเรยี นที่กำหนดไว้ และช่วยกันประเมนิ ผลกำรทำงำนกลุ่มทัง้ ส่วนทเ่ี ด่นและสว่ นทีค่ วรปรบั ปรุงแก้ไข 4.6 เทคนคิ กำรเรยี นรู้แบบรว่ มมอื วฒั นำพร ระงับทุกข์ (2545 : 177 – 195) อำ้ งใน อำภรณ์ ใจเท่ียง (2550 : 123 – 125) กล่ำวถึง เทคนิคกำรจัดกำรเรยี นรูแ้ บบรว่ มมือ ไวว้ ่ำ เทคนิคท่ีนำมำใชใ้ นกำรเรยี นรแู้ บบ รว่ มมือ มีหลำยวิธี ไดแ้ นะนำไว้ดงั น้ี 1. ปรศิ นำควำมคิด (Jigsaw) ปรศิ นำควำมคิด เป็นเทคนคิ ท่ีสมำชกิ ในกลุม่ แยกยำ้ ยกนั ไปศึกษำหำควำมรู้ ในหัวขอ้ เนือ้ หำท่ี แตกต่ำงกนั แล้วกลบั เขำ้ กลมุ่ มำถ่ำยทอดควำมรทู้ ี่ไดม้ ำให้สมำชกิ กลมุ่ ฟงั วิธนี ีค้ ลำ้ ยกบั กำรตอ่ ภำพ จกิ ซอร์ จงึ เรียกวธิ นี ว้ี ่ำ Jigsaw หรือปรศิ นำกำรคิด ลักษณะกำรจดั กิจกรรมผูเ้ รียนที่มีควำมสำมำรถ ตำ่ งกันเข้ำกลุ่มรว่ มกนั เรียกวำ่ กล่มุ บำ้ น (Home Group) สมำชิกในกล่มุ บ้ำนจะรบั ผิดชอบศึกษำ หัวขอ้ ทแ่ี ตกตำ่ งกนั แลว้ แยกยำ้ ยไปเข้ำกลมุ่ ใหมใ่ นหวั ขอ้ เดียวกัน กลุ่มใหม่นเี้ รียกว่ำ กลมุ่ ผู้เชย่ี วชำญ (Expert Group) เมอื่ กลุ่มผ้เู ชี่ยวชำญทำงำนร่วมกนั เสร็จ ก็จะยำ้ ยกลบั ไปกลมุ่ เดิมคือ

16 กลุม่ บ้ำนของตน นำควำมรู้ท่ีไดจ้ ำกกำรอภิปรำยจำกกลุ่มผู้เชย่ี วชำญมำสรุปให้กลมุ่ บำ้ นฟัง ผู้สอน ทดสอบและใหค้ ะแนน 2. กลมุ่ ร่วมมือแข่งขนั (Teams – Games – Toumaments : TGT) เทคนิคกลุม่ ร่วมมือแขง่ ขนั เป็นกิจกรรมท่สี มำชิกในกลุม่ เรยี นรู้เนือ้ หำสำระจำกผู้สอน ด้วยกนั แล้วแตล่ ะคนแยกยำ้ ยไปแขง่ ขันทดสอบควำมรู้ คะแนนที่ไดข้ องแต่ละคนจะนำมำรวมกนั เปน็ คะแนนของกลมุ่ กลุ่มทไ่ี ดค้ ะแนนรวมสงู สดุ ได้รบั รำงวัล ลกั ษณะกำรจดั กจิ กรรม สมำชกิ กลุม่ จะช่วยกนั เตรยี มตัวเข้ำแข่งขนั โดยผลัดกันถำมตอบใหเ้ กิดควำมแมน่ ยำในควำมรู้ ทีผ่ ูส้ อนจะทดสอบ เม่ือไดเ้ วลำแข่งขัน แต่ละทมี จะเขำ้ ประจำโตะ๊ แข่งขัน แลว้ เริ่มเลน่ เกมพร้อมกนั ด้วยชุดคำถำมทีเ่ หมอื นกัน เม่ือกำรแข่งขนั จบลง ผ้เู ข้ำรว่ มแข่งขนั จะกลับไปเข้ำทีมเดิมของตนพรอ้ ม คะแนนทไ่ี ด้รบั ทีมท่ีไดค้ ะแนนรวมสูงสุดถือวำ่ เปน็ ทีมชนะเลศิ 3. กลมุ่ รว่ มมือชว่ ยเหลือ (Team Assisted Individualization : TAT) เทคนิคกำรเรียนรู้วิธีน้ี เป็นกำรเรียนรู้ท่ีเปิดโอกำสให้สมำชิกแต่ละคนได้แสดงควำมสำมำรถ เฉพำะตนก่อน แล้วจึงจับคู่ตรวจสอบกันและกัน ช่วยเหลือกันทำใบงำนจนสำมำรถผ่ำนได้ ต่อจำกน้ันจึงนำคะแนนของแต่ละคนมำรวมเป็นคะแนนของกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดจะเป็นฝ่ำย ได้รบั รำงวลั ลกั ษณะกำรจัดกจิ กรรม กลุ่มจะมีสมำชิก 2 – 4 คน จับคู่กันทำงำนตำมใบงำนท่ีได้รับมอบหมำย แล้วแลกเปลี่ยนกัน ตรวจผลงำน ถ้ำผลงำนยังไม่ถูกต้องสมบูรณ์ ต้องแก้ไขจนกว่ำจะผ่ำน ต่อจำกน้ันทุกคนจะทำข้อ ทดสอบ คะแนนของทกุ คนจะมำรวมกนั เป็นคะแนนของกลุ่ม กลุ่มทไ่ี ด้คะแนนสูงสดุ จะได้รับรำงวลั 4. กลุม่ สืบค้น (Group Investigation : GI) กลุ่มสืบค้น เป็นเทคนิคกำรจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะกำรศึกษำค้นคว้ำแสวงหำ ควำมรู้ด้วยตนเอง ผูเ้ รียนแตล่ ะกลุ่มไดร้ บั มอบหมำยให้คน้ ควำ้ หำควำมรู้มำนำเสนอ ประกอบเน้ือหำ ท่ีเรียน อำจเปน็ กำรทำงำนตำมใบงำนท่ีกำหนด โดยทีท่ กุ คนในกล่มุ รบั รแู้ ละชว่ ยกันทำงำน ลกั ษณะกำรจัดกิจกรรม สมำชิกกลุ่มจะช่วยกันศึกษำค้นคว้ำหำคำตอบ หรือควำมรู้มำนำเสนอต่อช้ันเรียน โดยผู้สอน แบ่งเนื้อหำเป็นหวั ขอ้ ยอ่ ย แตล่ ะกล่มุ ศึกษำกลุ่มละ 1 หัวข้อ เมื่อพร้อม ผู้เรียนจะนำเสนอผลงำนที ละกลุ่ม แล้วร่วมกนั ประเมนิ ผลงำน 5. กลุ่มเรยี นร้รู ่วมกนั (Learning Together : LT) กลุ่มเรียนรู้ร่วมกัน เป็นเทคนิคกำรจัดกิจกรรมที่ให้สมำชิกในกลุ่มได้รับผิดชอบ มีบทบำท หน้ำที่ทุกคน เช่น เป็นผู้อ่ำน เป็นผู้จดบันทึก เป็นผู้รำยงำนนำเสนอ เป็นต้น ทุกคนช่วยกัน ทำงำน จนได้ผลงำนสำเรจ็ สง่ และนำเสนอผู้สอน ลกั ษณะกำรจดั กจิ กรรม กลุ่มผู้เรียนจะแบ่งหน้ำที่กันทำงำน เช่น เป็นผู้อ่ำนคำส่ังใบงำน เป็นผู้จดบันทึกงำน เป็นผู้หำ คำตอบ เปน็ ผู้ตรวจคำตอบ กลมุ่ จะได้ผลงำนท่เี กดิ จำกกำรทำงำนของทกุ คน 6. กลุ่มรว่ มกนั คดิ (Numbered Heads Together : NHT)

17 กิจกรรมนีเ้ หมำะสำหรบั กำรทบทวนหรือตรวจสอบควำมเข้ำใจ สมำชิกกลุ่มจะประกอบด้วย ผู้เรียนท่ีมีควำมสำมำรถเก่ง ปำนกลำง และอ่อนคละกัน จะช่วยกันค้นคว้ำเตรียมตัวตอบคำถำมท่ี ผู้สอนจะทดสอบ ผู้สอนจะเรียกถำมทีละคน กลุ่มที่สมำชิกสำมำรถตอบคำถำมได้มำกแสดงว่ำได้ ชว่ ยเหลอื กนั ดี ลักษณะกำรจัดกิจกรรม สมำชิกกลุ่มที่มีควำมสำมำรถแตกต่ำงกัน จะร่วมกันอภิปรำยปัญหำที่ได้รับเพ่ือให้เกิดควำม พร้อมและควำมม่ันใจท่ีจะตอบคำถำมผู้สอน ผู้สอนจะเรียกสมำชิกกลุ่มให้ตอบทีละคน แล้วนำ คะแนนของแต่ละคนมำรวมเป็นคะแนนของกล่มุ 7. กลุม่ ร่วมมอื (Co – op Co - op) กลุ่มร่วมมือเป็นเทคนิคกำรทำงำนกลุ่มวิธีหน่ึง โดยสมำชิกในกลุ่มที่มีควำมสำมำรถและควำม ถนัดแตกต่ำงกันได้ แสดงบทบำทตำมหน้ำที่ที่ตนถนัดอย่ำงเต็มท่ี ทำให้งำนประสบผลสำเร็จ วิธีนี้ ทำให้ผเู้ รยี นไดฝ้ ึกควำมรบั ผิดชอบกำรทำงำนกลุ่มร่วมกนั และสนองต่อหลักกำรของกำรเรียนรู้ และ ร่วมมือท่ีว่ำ “ควำมสำเร็จแต่ละคน คือ ควำมสำเร็จของกลุ่ม ควำมสำเร็จของกลุ่ม คือ ควำมสำเร็จ ของทกุ คน” ลกั ษณะกำรจัดกิจกรรม สมำชิกกลุ่มท่ีมีควำมสำมำรถแตกต่ำงกันจะแบ่งหน้ำที่รับผิดชอบไปศึกษำหัวข้อย่อยทีได้รับ มอบหมำย แล้วนำงำนจำกกำรศึกษำค้นคว้ำมำรวมกันเป็นงำนกลุ่มปรับปรุงให้ต่อเนื่องเช่ือมโยง มีควำมสละสลวย เสร็จแล้วจึงนำเสนอต่อช้ันเรยี น ทุกกล่มุ จะชว่ ยกันประเมนิ ผลงำน จำกที่กลำ่ วมำทัง้ หมดสรุปไดว้ ำ่ กำรเรียนรู้แบบร่วมมือ เป็นวิธีกำรท่ีผู้เรียนได้ฝึกทักษะกำรมี ปฏสิ ัมพนั ธ์กบั บคุ คลอนื่ อย่ำงแท้จริง ได้ฝึกควำมรับผิดชอบ ฝึกเป็นผนู้ ำ ผตู้ ำมกลุ่มฝึกกำรทำงำนให้ ประสบผลสำเร็จ และฝกึ ทกั ษะทำงสงั คม ผูส้ อนควรเลอื กใชเ้ ทคนคิ วิธีต่ำง ๆ ดงั กลำ่ มำให้เหมำะสม กบั เนื้อหำสำระ และจดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ท่กี ำหนดไว้ 4.7 รปู แบบกำรเรยี นรู้แบบร่วมมือ ไสว ฟักขำว ( 2544 : 195 - 217) กล่ำวถึง รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือที่นิยมใช้ใน ปจั จุบนั มี 7 รูปแบบ ดังน้ี 1. รูปแบบ Jigsaw เป็นกำรสอนท่ีอำศัยแนวคิดกำรต่อภำพ ผู้เสนอวิธีกำรนี้คนแรก คือ อำรอนสันและคณะ (Aronson and Ohters, 1978 : 22 - 25) ต่อมำมีกำรปรับและเพิ่มเติม ข้ันตอน แต่วิธีกำรหลักยังคงเดิม กำรสอนแบบนี้นักเรียนแต่ละคนจะได้ศึกษำเพียงส่วนหน่ึงหรือ หัวข้อย่อย ของเนื้อหำทั้งหมด โดยกำรศึกษำเรื่องน้ัน ๆ จำกเอกสำรหรือกิจกรรมท่ีครูจัดให้ ในตอนที่ศึกษำหัวข้อย่อยน้ัน นักเรียนจะทำงำนเป็นกลุ่มกับเพื่อนที่ได้รับมอบหมำยให้ศึกษำหัวข้อ ยอ่ ยเดยี วกัน และเตรยี มพร้อมที่จะกลบั ไปอธิบำยหรอื สอนเพือ่ นสมำชกิ ในกลุ่มพน้ื ฐำนของตนเอง Jigsaw มอี งคป์ ระกอบทส่ี ำคัญ 3 ส่วน คือ 1) กำรเตรยี มสอ่ื กำรเรยี นกำรสอน (Preparation of Materials) ครูสรำ้ งใบงำน ใหผ้ เู้ ชย่ี วชำญแตล่ ะคนของกลุ่ม และสร้ำงแบบทดสอบย่อยในแต่ละหน่วยกำรเรียน แต่ถ้ำมีหนังสือ เรียนอยู่แล้วย่ิงทำให้ง่ำยขึ้นได้ โดยแบ่งเน้ือหำในแต่ละหัวข้อเรื่องที่จะสอนเพ่ือทำใบงำนสำหรับ ผู้เช่ียวชำญ ในใบงำนควรบอกว่ำนักเรียนต้องทำอะไร เช่น ให้อ่ำนหนังสือหน้ำอะไร อ่ำนหัวข้อ

18 อะไร จำกหนังสือหน้ำไหนถึงหน้ำไหน หรือให้ดูวีดีทัศน์ หรือให้ลงมือปฏิบัติกำรทดลองพร้อมกับ คำถำมใหต้ อบตอนทำ้ ยของกจิ กรรมท่ีทำดว้ ย 2) กำรจัดสมำชิกของกลุ่มและของกลุ่มผู้เชี่ยวชำญ (Teams And Expert Groups) ครูจะแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ (Home Groups) แต่ละกลุ่มจะมีผู้เช่ียวชำญในแต่ละเรื่องตำม ใบงำนท่คี รูสร้ำงขน้ึ ครูแจกใบงำนให้ผู้เชี่ยวชำญแต่ละคนในกลุ่ม และให้ผู้เชี่ยวชำญแต่ละคนศึกษำ ใบงำนของตนก่อนท่ีจะแยกไปตำมกลุ่มของผู้เชี่ยวชำญ (Expert Groups) เพื่อทำงำนตำมใบงำน นั้น ๆ เม่ือนักเรียนพร้อมท่ีจะทำกิจกรรม ครูแยกกลุ่มนักเรียนใหม่ตำมใบงำน กิจกรรมในกลุ่ม ผู้เชี่ยวชำญแต่ละกลุ่มอำจแตกต่ำงกัน ครูพยำยำมกระตุ้นให้นักเรียนศึกษำหัวข้อตำมใบงำนท่ี แตกตำ่ งกัน ดังนัน้ ใบงำนท่คี รสู ร้ำงขึ้นจึงมีควำมสำคัญมำก เพรำะในใบงำนจะนำเสนอด้วยกิจกรรม ท่ีแตกต่ำงกัน ซึ่งผู้เช่ียวชำญในแต่ละกลุ่มอำจจะลงมือปฏิบัติกำรทดลองศึกษำเกี่ยวกับสิ่งที่ได้รับ มอบหมำย พร้อมกับเตรียมกำรนำเสนอส่ิงนั้นอย่ำงสั้น ๆ เพื่อว่ำเขำจะได้นำกลับไปสอนสมำชิกคน อนื่ ๆ ในกลุม่ ทไ่ี ม่ไดศ้ ึกษำในหวั ข้อดงั กล่ำว 3) กำรรำยงำนและกำรทดสอบย่อย (Reports And Quizzes) เม่ือกลุ่มผู้เชี่ยวชำญ แต่ละกลุ่มทำงำนเสร็จแล้ว ผู้เช่ียวชำญแต่ละคน ก็จะกลับไปยังกลุ่มเดิมของตัวเอง (Home Group) แล้วสอนเรื่องท่ีตัวเองทำให้กับสมำชิกคนอื่น ๆ ในกลุ่มครู กระตุ้นให้นักเรียนใช้ วิธีกำรต่ำง ๆ ในกำรนำเสนอส่ิงที่จะสอน นักเรียนอำจใช้วิธีกำรสำธิต อ่ำนรำยงำน ใช้คอมพิวเตอร์ รูปถำ่ ย ไดอะแกรม แผนภมู ิหรอื ภำพวำดในกำรนำเสนอควำมคิดเห็น ครูกระตุ้นให้สมำชิกในกลุ่มได้มี กำรอภิปรำยและซักถำมปญั หำต่ำง ๆ โดยทีส่ มำชิกแต่ละคนต้องมคี วำมรับผิดชอบในกำรเรียนรู้แต่ละ เร่ืองทีผ่ ูเ้ ชีย่ วชำญแต่ละคนนำเสนอ เมอื่ ผเู้ ชีย่ วชำญไดร้ ำยงำนผลงำนกับกลุ่มของตัวเองแล้ว ควรมีกำรอภปิ รำย ผู้เช่ียวชำญแต่ละคนได้ศึกษำ หลังจำกน้ันครูก็ทำกำรทดสอบย่อย เกณฑ์กำรประเมินกำรให้คะแนน เหมือนกับวิธีกำรของ STAD วิธกี ำรของ Jigsaw จะดีกว่ำ STAD ตรงทว่ี ำ่ เป็นกำรฝึกใหน้ กั เรียนแต่ละคนมี ควำมรับผิดชอบในกำรเรียนมำกขึ้น และนักเรียนยังรับผิดชอบกับกำรสอนสมำชิกคนอ่ืน ๆ ของกลุ่ม อกี ดว้ ย นักเรยี นไม่วำ่ จะมีควำมสำมำรถมำกนอ้ ยแค่ไหนจะต้องรับผดิ ชอบ เหมอื น ๆ กัน ถงึ แมว้ ำ่ ควำมลึกควำมกวำ้ งหรอื คณุ ภำพของรำยงำนจะแตกต่ำงกันกต็ ำม 2. รปู แบบ STAD (Student Teams – Achievement Division) (8. : 208-211) สลำวนิ (Slavin : 1980) ไดเ้ สนอรปู แบบกำรเรยี นแบบเป็นทีม (Student Teams Learning Method) ซ่ึงมี 4 รูปแบบ คือ student Teams – Achievement Divisions (STAD) และ Teams – Games – Toumaments (TGT) ซ่ึงเป็นรูปแบบท่ีสำมำรถปรับใช้กับทุก วิชำและระดับชั้น Team Assisted Individualization (TAI) เป็นรูปแบบท่ีเหมำะกับกำรสอน วชิ ำคณิตศำสตร์ และ Cooperative Integrated Reading and Composition (CIRC) ซ่ึงเป็น รปู แบบในกำรสอนอำ่ นและกำรเขยี น หลกั กำรพื้นฐำนของรูปแบบกำรเรยี นแบบเป็นทมี ของสลำวนิ ประกอบด้วย 1 .กำรใหร้ ำงวลั เปน็ ทมี (Team Rewards) ซ่ึงเป็นวธิ กี ำรหนึ่งในกำรวำงเง่ือนไขให้นักเรียน พึ่งพำกัน จัดว่ำเปน็ Positive Interdependence

19 2. กำรจัดสภำพกำรณ์ให้เกิดควำมรับผิดชอบในส่วนบุคคลท่ีจะเรียนรู้ (Individual Accountability) ควำมสำเร็จของทมี หรือกลุ่ม อยทู่ ี่กำรเรยี นรขู้ องสมำชกิ แตล่ ะคนในทีม 3. กำรจัดให้มีโอกำสเท่ำเทียมกันท่ีจะประสบควำมสำเร็จ (Equal Opportunities For Success) นักเรียนมสี ่วนชว่ ยให้ทีมประสบควำมสำเร็จด้วยกำรพยำยำมทำผลงำนให้ดีข้ึนกว่ำเดิมใน รปู ของคะแนนปรับปรงุ ดังน้ัน แมแ้ ต่คนที่เรยี นอ่อนก็สำมำรถมีส่วนช่วยทีมได้ ด้วยกำรพยำยำมทำ คะแนนใหด้ ีกว่ำคร้ังก่อน ๆ นักเรยี นทั้งเก่ง ปำนกลำง และอ่อน ต่ำงได้รับกำรส่งเสริมให้ต้ังใจเรียน ใหด้ ีที่สดุ ผลงำนของทกุ คนในทีมมีคำ่ ภำยใตร้ ปู แบบกำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นแบบนี้ สำหรับรปู แบบ STAD เปน็ รูปแบบหนึง่ ที่ สลำวิน (Slavin) ไดเ้ สนอไว้ เมอ่ื ปี ค.ศ. 1980 นน้ั มอี งคป์ ระกอบท่สี ำคัญ 5 ประกำร คือ องคป์ ระกอบที่สำคญั 5 ประกำร คอื 1. กำรนำเสนอส่ิงที่ต้องเรียน (Class Presentation) ครูเป็นผู้นำเสนอสิ่งท่ีนักเรียนต้องเรียน ไม่ ว่ำจะเป็นมโนมติ ทักษะและ/หรือกระบวนกำร กำรนำเสนอส่ิงท่ีต้องเรียนนี้อำจใช้กำรบรรยำย กำร สำธิตประกอบกำรบรรยำย กำรใช้วีดีทัศน์หรือแม้แต่กำรให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกำรทดลองตำม หนงั สือเรียน 2. กำรทำงำนเป็นกลุ่ม (Teams) ครูจะแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ แต่ละกลุ่มจะประกอบด้วย นักเรียนประมำณ 4 – 5 คน ที่มีควำมสำมำรถแตกต่ำงกัน มีทั้งเพศหญิงและเพศชำย และมี หลำยเชื้อชำติ ครูต้องชี้แจงให้นักเรียนในกลุ่มได้ทรำบถึงหน้ำท่ีของสมำชิกในกลุ่มว่ำนักเรียนต้อง ช่วยเหลือกนั เรียนร่วมกัน อภิปรำยปัญหำรว่ มกนั ตรวจสอบคำตอบของงำนที่ได้รับมอบหมำยและ แก้ไขคำตอบรว่ มกัน สมำชิกทุกคนในกลุ่มต้องทำงำนให้ดีท่ีสุดเพื่อให้เกิดกำรเรียนรู้ ให้กำลังใจและ ทำงำนร่วมกนั ได้ 3. กำรทดสอบยอ่ ย (Quizzes) หลงั จำกทน่ี ักเรยี นแตล่ ะกลุ่มทำงำนเสร็จ เรียบร้อยแล้ว ครูก็ทำกำรทดสอบย่อยนักเรียน โดยนักเรียนต่ำงคนต่ำงทำ เพ่ือเป็นกำรประเมิน ควำมรทู้ ่นี กั เรยี นไดเ้ รียนมำ ส่งิ นีจ้ ะเป็นตัวกระต้นุ ควำมรับผดิ ชอบของนักเรียน 4. คะแนนพฒั นำกำรของนกั เรียนแต่ละคน (Individual Improvement Score) คะแนนพัฒนำกำรของนักเรียนจะเป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนทำงำนหนักข้ึน ในกำรทดสอบแต่ละครั้ง ครูจะมีคะแนนฐำน (Base Score) ซ่ึงเป็นคะแนนต่ำสุดของนักเรียนในกำรทดสอบย่อยแต่ละคร้ัง ซึ่ ง ค ะ แ น น พั ฒ น ำ ก ำ ร ข อ ง นั ก เ รี ย น แ ต่ ล ะ ค น ไ ด้ จ ำ ก ค ว ำ ม แ ต ก ต่ ำ ง ร ะ ห ว่ ำ ง ค ะ แ น น พื้ น ฐ ำ น (คะแนนต่ำสดุ ในกำรทดสอบ) กับคะแนนที่นักเรยี นสอบได้ในกำรทดสอบย่อยนั้น ๆ ส่วนคะแนนของ กลุม่ (Team Score) ไดจ้ ำกกำรรวมคะแนนพฒั นำกำรของนกั เรียนทุกคนในกลุ่มเขำ้ ด้วยกัน 5. กำรรบั รองผลงำนของกลุ่ม (Team Recognition) โดยกำรประกำศคะแนน ของกลุ่มแตล่ ะกลุ่มใหท้ รำบ พร้อมกับให้คำชมเชย หรือให้ประกำศนียบัตรหรือให้รำงวัลกับกลุ่มท่ีมี คะแนนพัฒนำกำรของกลุ่มสูงสุด โปรดจำไว้ว่ำ คะแนนพัฒนำกำรของนักเรียนแต่ละคนมี ควำมสำคญั เท่ำเทยี มกบั คะแนนท่ีนกั เรยี นแตล่ ะคนได้รบั จำกกำรทดสอบ 3. รปู แบบ LT (Learning Together)

20 รูปแบบ LT (Learning Together) นี้จอห์นสันและจอห์นสัน (Johnson and Johnson) เป็นผู้เสนอในปี ค.ศ. 1975 ต่อมำในปี ค.ศ. 1984 เขำเรียกรูปแบบนี้ว่ำ วงกลมกำรเรียนรู้ (Circles of Learning) รูปแบบน้ีมีกำรกำหนดสถำนกำรณ์และเงื่อนไขให้นักเรียนทำผลงำนเป็น กลุ่ม ให้นักเรียนแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็นและแบ่งปันเอกสำร กำรแบ่งงำนท่ีเหมำะสม และกำรให้ รำงวัลกลุ่ม ซึ่งจอห์นสันและจอห์นสันได้เสนอหลักกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนแบบร่วมมือไว้ว่ำ กำรจดั กิจกรรมกำรเรียนแบบรว่ มมือตำมรปู แบบ LT จะต้องมอี งค์ประกอบดงั น้ี 1. สร้ำงควำมร้สู ึกพง่ึ พำกนั (Positive Interdependence) ใหเ้ กิดขนึ้ ในกล่มุ นกั เรยี น ซงึ่ อำจทำได้หลำยวิธี 2. จดั ใหม้ ปี ฏสิ ัมพันธร์ ะหวำ่ งนกั เรียน (Face – To – Face Interaction) ใหน้ ักเรยี นทำงำนดว้ ยกันภำยใต้บรรยำกำศของควำมช่วยเหลอื และสง่ เสริมกัน 3. จัดใหม้ ีควำมรับผดิ ชอบในส่วนบคุ คลท่จี ะเรียนรู้ (Individual Accountability) เปน็ กำรทำใหน้ ักเรยี นแต่ละคนตั้งใจเรยี นและช่วยกนั ทำงำน ไม่กนิ แรงเพอื่ น 4. ให้ควำมรู้เก่ยี วกับทกั ษะสังคม(Social Skills) กำรทำงำนร่วมกบั ผอู้ ื่นได้อย่ำงดี นักเรียนต้องมีทักษะทำงสังคมที่จำเป็น ได้แก่ ควำมเป็นผู้นำ กำรตัดสินใจ กำรสร้ำง ควำม ไว้ใจ กำรสอ่ื สำร และทักษะกำรจดั กำรกับข้อขัดแย้งอยำ่ งสรำ้ งสรรค์ 5. จดั ใหม้ กี ระบวนกำรกลมุ่ (Group Processing) เป็นกำรเปิดโอกำสให้ นักเรียนประเมินกำรทำงำนของสมำชิกในกลุ่ม ให้กำลังใจซึ่งกันและกัน และหำทำงปรับปรุงกำร ทำงำนกลุ่มให้ดขี ึ้น จำกหลกั กำรดงั กลำ่ วทำใหไ้ ด้รูปแบบกำรเรียนรรู้ ว่ มกัน หรอื Learning Together ที่นักเรียนทำงำนเป็นกลุ่มเพ่ือให้ได้ผลงำนกลุ่ม ในขณะทำงำนนักเรียนช่วยกันคิดและช่วยกันตอบ คำถำม พยำยำมทำใหส้ มำชกิ ทุกคนมีสว่ นรว่ มและทุกคนเข้ำใจที่มำของคำตอบ ให้นักเรียนขอควำม ช่วยเหลอื จำกเพอ่ื นก่อนทจ่ี ะถำมครู และครูชมเชยหรอื ใหร้ ำงวลั กลุ่มตำมผลงำนของกลมุ่ เป็นหลัก 4. รูปแบบ TAI (Team Assisted Individualization) TAI (Team Assisted Individualization) คือ วิธีกำรสอนที่ผสมผสำนระหว่ำงกำรเรียน แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) และกำรสอนรำยบุคคล (Individualization Instruction) เข้ำด้วยกนั โดยใหผ้ ้เู รยี นไดล้ งมือทำกิจกรรมในกำรเรียนได้ด้วยตนเองตำมควำมสำมำรถของตนและ สง่ เสริมควำมร่วมมอื ภำยในกล่มุ มกี ำรแลกเปลีย่ นประสบกำรณก์ ำรเรยี นรแู้ ละปฏสิ มั พนั ธท์ ำงสังคม ข้ันตอนกำรจดั กิจกรรมกำรเรยี นกำรสอน 1. จดั นักเรียนเป็นกลุ่ม กลมุ่ ละ 4 – 5 คน ประกอบดว้ ยนกั เรียนเก่ง ปำนกลำง และอ่อน 2. ทดสอบจัดระดบั (Placement Test) ตำมคะแนนทไี่ ด้ 3. นักเรียนศึกษำเอกสำรแนะนำบทเรยี น ทำกิจกรรมจำกสื่อท่ไี ด้รับจบแลว้ สง่ ใหเ้ พื่อนในกลุ่ม 4. เมื่อนักเรยี นทำแบบฝกึ หดั ทกั ษะในส่ือท่ีได้เรยี นจบแลว้ 1. รปู แบบ TGT (Teams-Games-Tournaments) กำรจัดกำรเรียนกำรสอนแบบร่วมมอื ตำมรูปแบบ TGT เปน็ กำรเรียนแบบร่วมมอื กันแขง่ ขันทำกิจกรรม โดยมีข้นั ตอนกำรจัดกจิ กรรมดังนี้ ขนั้ ท่ี 1 : ครทู บทวนบทเรยี นท่เี รียนมำแลว้ ครัง้ ก่อน ด้วยกำรซักถำมและอธิบำย

21 ตอบข้อสงสยั ของนกั เรยี น ขัน้ ที่ 2 : จดั กลุ่มแบบคละกัน (Home Team) กลุ่ม 3 – 4 คน ขนั้ ที่ 3 : แต่ละทมี ศกึ ษำหวั ข้อทเ่ี รียนในวนั น้จี ำกแบบฝกึ นักเรียนแต่ละคนทำหน้ำที่และปฏิบัติตำมกติกำของ Cooperative Learning เช่น เป็นผู้ จด บันทึก ผู้คำนวณ ผู้สนับสนุนเม่ือสมำชิกทุกคน เข้ำใจและสำมำรถทำ แบบฝึกหัดได้ ถูกต้องทุก ขอ้ ทมี จะเริ่มทำกำรแขง่ ขนั ตอบปญั หำ ขน้ั ที่ 4 : กำรแข่งขนั ตอบปัญหำ (Academic Games Tournament) ขั้นท่ี 5 : นักเรยี นกลับมำสู่เดิม (Home Team) รวมแตม้ โบนัสของทกุ คน ทมี ใดที่ มแี ต้มโบนสั สูงสุด จะให้รำงวลั หรือตดิ ประกำศไวใ้ นมุมขำ่ วของห้อง 2. รูปแบบ GI (Group Investigation) สมำชิกในกล่มุ GI มกี ำรกระตุน้ บทบำทที่แตกต่ำงกนั ท้งั ภำยในกล่มุ และระหวำ่ งกลมุ่ แนวคิดในกำรจดั กำรเรียนกำรสอน 1. นกั เรียนแตล่ ะคนจะไดแ้ สดงควำมสำมำรถของตน ในกำรแสวงหำควำมรู้ 2. นักเรยี นแตล่ ะคน ตอ้ งถ่ำยทอดควำมรหู้ รือวิธกี ำรทำงำนให้เพ่ือนนักเรยี นเขำ้ ใจด้วย 3. ทุกคนตอ้ งรว่ มแสดงควำมคดิ เห็นอภปิ รำยซกั ถำมจนเข้ำใจในทกุ เร่ือง (หรอื ทกุ งำน) 4. ทุกคนตอ้ งร่วมมอื กนั สรปุ ควำมเขำ้ ใจทไี่ ด้ (สูตรหรอื ควำมสัมพนั ธห์ รือผลงำน) นำสง่ อำจำรยเ์ พยี ง 1 ฉบบั เท่ำนั้น 5. เหมำะกบั กำรสอนควำมร้ทู ่ีสำมำรถแยกเป็นอิสระได้เปน็ สว่ น ๆ หรือแยกทำได้ หลำยวิธี หรอื กำรทบทวนเร่อื งใดทแี่ บ่งเปน็ เรอื่ งย่อย ๆ ได้ หรอื กำรทำงำนท่ีแยกออกเป็นชิ้น ๆ ได้ GI มีองค์ประกอบอยูด่ ้วยกัน 6 ประกำร คอื 1. กำรเลือกหัวขอ้ เร่ืองที่จะศึกษำ (Topic Selection) นักเรยี นเลอื กหวั ข้อทเี่ ฉพำะเจำะจงของ ปญั หำทเี่ ลือก แล้วกลุม่ จะแบ่งภำระงำนออกเปน็ งำนย่อย ๆ ทมี่ ีสมำชกิ 2 – 5 คน ร่วมกนั ทำงำน 2. กำรวำงแผนร่วมมอื กันในกำรทำงำน (Cooperative Planning) ครแู ละ นักเรียนวำงแผนร่วมกันในวิธีดำเนินกำร ภำระงำนท่ีทำ และเป้ำหมำยของงำนในแต่ละหัวข้อย่อย ตำมปญั หำทเี่ ลือก 3. กำรดำเนินงำนตำมแผนกำรทวี่ ำงไว้ (Implementation) นกั เรยี นดำเนินงำนตำมแผนกำรท่ี วำงไว้ในขั้นที่ 2 กิจกรรมและทักษะต่ำง ๆ ที่นักเรียนจะต้องศึกษำควรมำจำกแหล่งข้อมูลท้ัง ภำยในและภำยนอกโรงเรียน ครูจะให้คำปรึกษำกับกลุ่มพร้อมกับติดตำมควำมก้ำวหน้ำในกำรทำงำน ของนกั เรียนและชว่ ยเหลอื นกั เรียนเมื่อเขำต้องกำรควำมช่วยเหลือ 4. กำรวิเครำะหแ์ ละสังเครำะหง์ ำนท่ีทำ (Analysis and Synthesis) นักเรยี นวเิ ครำะหแ์ ละ ประเมินข้อมูลท่ีเขำรวบรวมได้ในขั้นท่ี 3 และวำงแผนหรือลงข้อสรุปในรูปแบบท่ีน่ำสนใจเพื่อ นำเสนอต่อชนั้ เรยี น 5. กำรนำเสนอผลงำน (Presentation of Final Report) กลมุ่ นำเสนอผลงำนตำมหวั ข้อ เร่ืองที่เลือก ครูต้องพยำยำมให้นักเรียนทุกคนได้มีส่วนร่วมขณะท่ีมีกำรนำเสนอผลงำนหน้ำช้ันเรียน เพ่ือเป็นกำรขยำยควำมคิดของตัวนักเรียนเองให้กว้ำงไกล โดยเฉพำะในหัวข้อเรื่องท่ีกลุ่มไม่ได้ศึกษำ ครูจะทำหน้ำท่ีเป็นผู้ประสำนงำนในระหวำ่ งกำรเสนผลงำน

22 6. กำรประเมนิ ผล (Evaluation) ครูและนักเรยี นจะรว่ มกนั ประเมินผลงำนทถี่ กู นำเสนอ พร้อม ทง้ั แสดงควำมคิดเห็นที่มีต่อผลงำนทุกชิ้น กำรประเมินผลอำจรวมท้ังกำรประเมินเป็นรำยบุคคลและ เป็นกลมุ่ GI เป็นกำรเรยี นแบบร่วมมอื ท่มี อบหมำยควำมรบั ผิดชอบอย่ำงสูงใหก้ ับนกั เรยี น ในกำรทจี่ ะบ่งช้ีว่ำเรยี นอะไรและเรยี นอยำ่ งไร ในกำรรวบรวมข้อมูล วิเครำะห์และตีควำมหมำยของ ส่งิ ทีศ่ กึ ษำ โดยเนน้ กำรสอื่ ควำมหมำยและกำรแลกเปลี่ยนควำมคิดเหน็ ของกันและกันในกำรทำงำน 7. โปรแกรม CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition) CIRC คอื โปรแกรมสำหรับสอนกำรอำ่ น กำรเขยี นและทักษะทำงภำษำ (Language arts) ใช้กับนักเรียนระดับประถมศึกษำตอนปลำย โดยเน้นที่หลักสูตรและวิธีกำรสอน ในกำรพยำยำมนำกำรเรียนรู้แบบร่วมมือมำใช้ โปรแกรม CIRC พัฒนำข้ึนโดย Madden, Slavin และ Stevens ในปี 1986 นับว่ำเป็นโปรแกรมที่ใหม่ท่ีสุดของวิธีกำรเรียนรู้เป็นทีม ซ่ึงเป็น โปรแกรมกำรเรียนแบบร่วมมือที่น่ำสนใจยิ่ง เนื่องจำกเป็นโปรแกรมกำรเรียนกำรสอนท่ีนำกำรเรียน แบบรว่ มมือมำใชก้ บั กำรอำ่ นและกำรเขยี นโครงกำร CIRC – Writing/Language Arts สำหรับกำรเขยี น วิธกี ำรทใ่ี ชข้ ้ึนอย่กู ับรูปแบบ กระบวนกำรเขียน ซ่ึงใช้รูปแบบทีมเหมือนกับโปรกรม CIRC สำหรับกำรอ่ำน วิธีกำรนี้นักเรียน ทำงำนร่วมกันเพื่อวำงแผน (plan) ร่ำงต้นฉบับ (draft) ทบทวนแก้ไข (revise) รวบรวมและ ลำดับเรื่อง (edit) และพิมพ์หรือแสดงผลงำน (publish) เรื่องที่แต่งออกมำ โดยครูเป็นผู้เสนอ เน้ือหำเพยี งเลก็ นอ้ ยเก่ยี วกบั แนวทำงเนอื้ หำ และกลวธิ ขี องกำรเขยี น CIRC สำหรับกำรอำ่ นและกำรเขียนนน้ั โดยปกติแลว้ จะใช้ควบคู่ไปดว้ ยกัน แต่ กระนน้ั กส็ ำมำรถใชโ้ ปรแกรมนีแ้ ยกในกำรสอนอ่ำน หรอื สอนกำรเขยี นเพยี งอยำ่ งใดอย่ำงหนึ่งได้ ประโยชน์ของกำรเรยี นแบบรว่ มมอื วนั เพ็ญ จันเจรญิ (2542 : 119) กล่ำวถงึ ประโยชนข์ องกำรเรยี นแบบร่วมมอื มดี งั นี้ 1. สรำ้ งควำมสัมพันธท์ ดี่ ีระหว่ำงสมำชกิ เพรำะทกุ ๆ คนรว่ มมอื ในกำรทำงำนกล่มุ ทกุ ๆ คนมสี ่วนรว่ มเทำ่ เทียมกนั 2. สมำชิกทุกคนมีโอกำสคดิ พูดแสดงออก แสดงควำมคิดเหน็ ลงมอื กระทำอย่ำงเทำ่ เทยี มกัน 3. เสริมให้มคี วำมชว่ ยเหลอื กนั เช่น เด็กเก่งช่วยเด็กที่เรยี นไมเ่ ก่ง ทำให้เด็กเก่ง ภำคภมู ใิ จ ร้จู กั สละเวลำ สว่ นเด็กที่ไม่เกง่ เกดิ ควำมซำบซง้ึ ในน้ำใจของเพ่ือนสมำชกิ ด้วยกัน 4. รว่ มกันคิดทกุ คน ทำให้เกดิ กำรระดมควำมคิด นำข้อมลู ทีไ่ ดม้ ำพิจำรณำ ร่วมกัน เพ่ือประเมินคำตอบท่ีเหมำะสมท่ีสุด เป็นกำรส่งเสริมให้ช่วยกันคิดหำข้อมูลให้มำก และ วิเครำะห์และตดั สินใจเลอื ก 5. สง่ เสริมทกั ษะทำงสังคม เช่น กำรอย่รู ่วมกนั ด้วยมนุษยสมั พันธท์ ดี่ ีต่อกนั 5. เอกสำรเกยี่ วกบั แผนท่คี วำมคดิ (Mind Mapping) กำรจัดกำรเรียนรู้โดยใช้เทคนิคแผนท่ีควำมคิด Mind Mapping ได้บัญญัติข้ึนมำเม่ือ พ.ศ. 2517 โดย คุณโทนี บูซำน ซ่ึง Mind Mapping นี้เป็น Graphic Organizers รูปแบบหน่ึงที่ทำงำน ตำมธรรมชำติควำมคิดของเรำ เป็นเทคนิคเชิงกรำฟิกท่ีทรงพลังเสมือนกุญแจสำรพัดประโยชน์ท่ีจะ

23 เปิดสมองให้ทำงำนได้อย่ำงเต็มศักยภำพ เพรำะเป็นกำรใช้ควำมสำมำรถของสมองท้ัง 2 ซีก คือ ซ้ำย และขวำให้มีกระบวนกำรคิดที่เชื่อมโยงกัน กำรถ่ำยทอดควำมคิด หรือ ข้อมูลต่ำง ๆ ท่ีมีอยู่ในสมอง ลอกลงกระดำษ โดยกำรใช้ ภำพ สี เส้น และกำรโยงใย แทนกำรจดย่อแบบเดิม คนท่ีคิดเรื่อง Mind mapping ขึน้ มำคือ 'โทน่ี บซู ำน' โทนี่เป็นคนท่ีสนใจ ศึกษำถึงเร่ืองกำรทำงำนของสมองมนุษย์ เม่ือ 30 ปีก่อนนักวิทยำศำสตร์พบว่ำสมองของมนุษย์มี 2 ซีก ซีกซ้ำยจะเป็นเร่ืองรำวเกี่ยวกับทฤษฎี ตำ่ ง ๆ เหตผุ ล ตวั เลขตรรกะ ลำดับ กำรวิเครำะห์ จังหวะ ส่วนซีกขวำ คือเร่ือง จินตนำกำร ภำพ มิติ ภำพรวม สี แต่ขบวนกำรกำรเรียนกำรสอนในปัจจุบัน ฝึกให้เรำใช้สมองซีกซ้ำยเพียงข้ำงเดียว คือ จำแต่ตัวหนังสือ อ่ำนแต่ตัวหนังสือ เรำจึงไม่ได้ใช้สมองท้ังสองส่วนอย่ำงเต็มท่ี โทนี่ สังเกตว่ำ คนที่ เรยี นเก่ง ๆ จะมีวิธีกำรจดบันทึกท่ีไม่เหมือนคนท่ัวไป คือแทนท่ีจะเริ่มเขียนจำก มุมซ้ำยกระดำษเป็น แถวๆ ไปจนจบบรรทัดแล้วข้ึนบรรทัดใหม่ แต่คนเหล่ำน้ีจะเลือกใช้คำหรือประเด็นหลักๆ หรือภำพ แทนประโยคยำวๆ เขำเลยพัฒนำแนวควำมคิดขึ้นมำ Mind mapping น้ีก็เป็นท่ีนิยมไปท่ัวโลก มีคน ใช้วธิ กี ำรนที้ งั่ ในด้ำนกำรเรียนและกำรทำงำนเปน็ ลำ้ นๆ คน กำรใช้ Mind mapping ในประเทศไทย ในตำ่ งประเทศ มหี ลำยๆ ประเทศทนี่ ำเรือ่ ง Mind mapping มำใช้ในกำรเรยี นหรือกำรทำงำนมำ นำนแล้ว โดยเฉพำะในบริษัทใหญ่ ๆ ทั่วโลก ส่วนในเอเชียเท่ำท่ีทรำบข้ำรำชกำรตำรวจในประเทศ สิงคโปร์ก็ใชเ้ รอ่ื งนี้มำชว่ ยในกำรสบื คดี กำรเช่ือมโยงข้อมูลของคดีต่ำง ๆ กำรสืบหำตัวคนร้ำย ส่วนใน ประเทศไทย เรื่องMind mapping เข้ำมำค่อนข้ำงช้ำ แต่ปัจจุบันน้ีก็เริ่มแพร่หลำยมำกขึ้นในระดับ ธุรกิจทรำบมำว่ำ บริษัท AMD(Thailand) ก็นำมำใช้ในกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ โดยรับมำจำก บริษัทแม่ที่สหรัฐ ในด้ำนกำรเรียนกำรสอนก็มีหลำยสถำบันศึกษำท่ีนำเร่ือง Mind mapping มำใช้ เช่น สถำบนั รำชภฎั นครศรีธรรมรำช โรงเรียนรัตนำธิเบศร์ นนทบุรี เปน็ ตน้ ควำมหมำยของแผนผังควำมคดิ (Mind Mapping) แผนผังควำมคดิ (Mind Mapping) เปน็ วิธกี ำรช่วยบันทกึ ควำมคดิ เพอ่ื ให้เห็นภำพควำมคดิ ที่ หลำกหลำยมุมมองท่ีกว้ำงและชัดเจนกว่ำกำรบันทึกท่ีเรำคุ้นเคยโดยยังไม่จัดระบบระเบียบควำมคิด ใดๆ ท้ังสิ้นเป็นวิธีกำรท่ีสอดคล้องกับโครงสร้ำงกำรคิดของมนุษย์ที่บำงช่วงสมองจะกระโดดออกนอก ทำงขณะ ท่ีกำลังคิดเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง กำรทำให้สมองได้คิด ได้ทำงำนตำมธรรมชำตินั้น มีลักษณะ เหมอื นตน้ ไมท้ ี่แตกก่ิงก้ำนออกไปเร่อื ยๆ (สำนักงำนกองทุนสนบั สนนุ กำรวิจัย, 2548) แผนผังควำมคิด (Mind Mapping) เป็นกำรนำเอำทฤษฎีท่ีเกี่ยวกับสมองไปใช้ให้เกิด ประโยชน์อย่ำงสูงสุด กำรเขียนแผนผังควำมคิด (MIND MAPPING) นั้น เกิดจำกกำรใช้ทักษะท้ังหมด ของสมองหรือเป็นกำรทำงำนร่วมกันของสมองท้ัง 2 ซีก คือสองซีกซ้ำยและซีกขวำ ซ่ึงสมองซีกซ้ำย จะทำหน้ำท่ีในกำรวิเครำะห์คำภำษำ สัญลักษณ์ ระบบ ลำดับ ควำมเป็นเหตุผล ตรรกวิทยำ ส่วน สมองซีกขวำจะทำหน้ำท่ีสังเครำะห์ คิดสร้ำงสรรค์ จินตนำกำร ควำมงำม ศิลปะ จังหวะโดยมีแถบ เส้นประสำทคอรป์ ัสคอโลซม่ั เป็นเสมอื นสะพำนเชือ่ ม (คณิตศำสตร์, 2548) แผนผังควำมคิด (Mind Mapping) คือ กำรนำทฤษฎีเก่ียวกับสมองไปใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดในกำรคิดวิเครำะห์คำ ภำษำ สัญลักษณ์ระบบ ลำดับ คำนวณ ควำมเป็นเหตุเป็นผล ควำมคิด สรำ้ งสรรคจ์ ินตนำกำรโดยกระบวนกำรที่เชื่อมโยงกนั (กระทรวงศกึ ษำธิกำร, 2548)

24 สุจินต์ พุทธสำรสิชฌน์ (2548) กล่ำวไว้ว่ำ แผนผังควำมคิด (Mind Mapping) คือกำร เชื่อมโยงข้อมูลเก่ียวกับเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงระหว่ำงควำมคิดหลัก ควำมคิดรองและควำมคิดย่อยที่ เกี่ยวข้องสัมพนั ธก์ นั 5.1 ควำมสำคญั ของแผนผังควำมคิด (Mind Mapping) อำไพ เกตสุ ถิตย์ (2548) ใหค้ วำมสำคัญไวว้ ำ่ 1) ประเด็น /ควำมคดิ สำคญั ท่อี ยู่กลำงภำพ ควรใชภ้ ำพทีส่ ือ่ ควำมหมำย และชดั เจนสวยงำม เพ่ือเปน็ กำรดงึ ดูดควำมสนใจ และสำมำรถคน้ หำได้ง่ำยกว่ำกำรใชต้ วั อกั ษร เมือ่ เกบ็ รวบรวมไว้ด้วยกนั 2) กำรแตกแขนง ควรจัดลำดบั ควำมสำคัญของขอ้ ควำมในแต่ละกงิ่ ที่แตกออกจำกจุดกึง่ กลำง จำก มำกไปหำนอ้ ย และถำ้ มคี วำมสำคญั ในระดับใกล้เคียงกัน จะแตกออกจำกจดุ เดียวกนั 3) กำรใช้ถ้อยคำ ใชถ้ อ้ ยคำทก่ี ระชบั ง่ำย และสือ่ ควำมหมำยชัดเจน 4) กำรผสมผสำนเช่ือมโยง ระหวำ่ งขอ้ ควำมในแต่ละก่ิงยอ่ ย และก่ิงใหญ่เพ่ือให้เกิดควำมคดิ รวบยอด ทสี่ อดคลอ้ งกับภำพตรงกลำง 5) เป็นเทคนิคที่เหมำะสำหรับคนข้ีเกียจเขียน และเป็นกำรบริหำรสมองทั้ง 2 ซีกตัวอย่ำงแผนผัง ควำมคิด 5.2 หลกั กำรสรำงแผนที่ควำมคดิ (Mind Mapping)/วธิ กี ำรเขยี นแผนท่คี วำมคิด หลักสำคญั ของ Mind Mapping เร่ิมตนจำกกำรเขียนหวั เรอ่ื งหรอื แกนของเร่ืองทจ่ี ะเปนจุด ศูนยกลำงควำมคิดทุกอยำงท่ีเก่ียวของ โดยมีเสนเช่ือมโยงควำมคิดรองและแตกกิ่งกำนออกไปจำก ศูนยกลำงคล้ำยกับทีส่ มองทำงำน ซึง่ มีขั้นตอนกำรทำดงั นี้ (ชนิดำ บุญชรโชตกิ ลุ , 2547, หนำ 30) 1) Paper: หำกระดำษที่มีพื้นท่ีวำง ต้ังกระดำษตำมแนวนอน และเริ่มกำรเขียน Mind Mapping ดวยหัวเรอื่ งทกี่ ่ึงกลำงหนำกระดำษ 2) Use: ใชรูปภำพ สแี ละคำในกำรชวยสอ่ื ควำมหมำยของแกนเรอื่ งและควำมคิดรอง 3) Lines: ใชเสนชวยเช่ือมควำมสัมพันธระหวำงแกนของเรื่องที่จะเปนศูนยกลำงควำมคิดทุกอยำง กบั ควำมคิดรองทเี่ ก่ยี วของ 4) Style: รูปแบบกำรนำเสนอสำมำรถกำหนดไดตำมตองกำร 5) Structure: โครงสรำงมีหลำยรูปแบบ เชน มีโครงสรำงอยำงชดั เจน โดยจัดตำมลำดับควำมสำคัญ หรือเสนอแบบควำมสมั พนั ธของขอมลู เปนตน บูซำน (Buzan.1997:96) ไดอ้ ธบิ ำยถึงวธิ ีกำรเขียนแผนทีค่ วำมคดิ ไว้ดังน้ี 1. เรม่ิ ด้วยภำพสีตรงก่ึงกลำงหนำ้ กระดำษ 2. ใชภ้ ำพใหม้ ำกทสี่ ุดใน Mind Map ของคณุ ตรงไหนทใี่ ชภ้ ำพได้ให้ใช้ก่อนคำ หรอื รหัส เป็นกำร ช่วยกำรทำงำนของสมอง ดงึ ดดู สำยตำ และช่วยควำมจำ 3. ควรเขียนคำบรรจงตัวใหญ่ๆ ถ้ำเป็นภำษำอังกฤษให้ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ จะช่วยให้เรำสำมำรถ ประหยัดเวลำได้ เมื่อย้อนกลับไปอำ่ นอกี ครัง้ 4. เขียนคำเหนือเส้นใต้ แต่ละเส้นต้องเชื่อมต่อกับเส้นอ่ืนๆ เพ่ือให้ Mind Map มีโครงสร้ำงพื้น ฐำนรองรบั 5. คำควรมีลักษณะเป็น \"หนว่ ย\" เปิดทำงให้ Mind Map คล่องตัวและยดื หยุ่นได้มำกขึ้น 6. ใช้ สี ท่ัว Mind Map เพรำะสีช่วยยกระดบั ควำมคดิ เพลนิ ตำ กระตุ้นสมองซกี ขวำ

25 7. เพอ่ื ให้เกดิ ควำมคดิ สร้ำงสรรคใ์ หม่ ควรปล่อยให้สมองคิดมีอิสระมำกทส่ี ุดเท่ำที่จะเป็นไปได้ สัมฤทธ์ิ บญุ นยิ ม (2548: 51) สรปุ เป็นวธิ ีสร้ำงแผนท่คี วำมคดิ ไดด้ ังนี้ 1. เตรยี มกระดำษเปลำ่ ท่ไี ม่มเี ส้นบรรทดั และวำงกระดำษภำพแนวนอน 2. วำดภำพสีหรอื เขียนคำหรอื ข้อควำมทส่ี ื่อหรือแสดงถงึ เร่ืองจะทำ Mind Map กลำง หนำ้ กระดำษ โดยใชส้ อี ย่ำงน้อย 3 สี และตอ้ งไมต่ ีกรอบด้วยรปู ทรงเรขำคณติ 3. คิดถึงหัวเรือ่ งสำคญั ที่เป็นส่วนประกอบของเรื่องท่ที ำ Mind Map โดยให้เขียนเปน็ คำ ที่มีลักษณะ เป็นหนว่ ย หรือเป็นคำสำคญั (Key Word) ส้ัน ๆ ทีม่ คี วำมหมำย บนเส้น ซ่งึ เส้นแต่ละเส้นจะต้อง แตกออกมำจำกศนู ย์กลำงไม่ควรเกนิ 8 กิง่ 4. แตกควำมคิดของหัวเร่ืองสำคัญแต่ละเรื่องในข้อ 3 ออกเป็นกิ่ง ๆ หลำยกงิ่ โดยเขียนคำหรือวลี บนเส้นท่ีแตกออกไป ลักษณะของก่งิ ควรเอนไม่เกิน 60 องศำ 5. แตกควำมคิดรองลงไปท่เี ปน็ ส่วนประกอบของแต่ละกิ่ง ในข้อ 4 โดยเขยี นคำหรือวลีเสน้ ท่ีแตก ออกไป ซง่ึ สำมำรถแตกควำมคิดออกไปเรื่อยๆ 6. กำรเขียนคำ ควรเขียนดว้ ยคำท่ีเปน็ คำสำคัญ (Key Word) หรือคำหลกั หรอื เป็นวลที ่ีมี ควำมหมำยชัดเจน 7. คำ วลี สญั ลักษณ์ หรือรปู ภำพใดทต่ี ้องกำรเน้น อำจใชว้ ิธีกำรทำให้เดน่ เชน่ กำรล้อมกรอบ หรอื ใสก่ ล่อง เป็นต้น 8. ตกแตง่ Mind Map ทเี่ ขยี นด้วยควำมสนุกสนำนทัง้ ภำพและแนวคดิ ท่ีเช่ือมโยงต่อกัน จำกกำรศึกษำสำมำรถสรุปได้ว่ำ ขั้นตอนกำรสร้ำงแผนท่ีควำมคิด ต้องเขียนควำมคิดหลักไว้ กลำงหน้ำกระดำษ ซึ่งเนื้อหำอำจจะเป็นรูปภำพ หรือสัญลักษณ์แทนควำมหมำยนั้นๆ และใช้เส้นเพื่อ เช่ือมโยงไปยังควำมคิดรองและควำมคิดย่อย นอกจำกนั้นยังใช้สีระบำยเพิ่มเติมเพื่อให้ง่ำยต่อกำร จดจำในเร่ืองนัน้ ๆ 5.3 ประโยชนข์ องแผนทคี่ วำมคิดกบั กำรเรยี นกำรสอน ดร.ปรำมศึก หวลประไพ (Dr.Bird)Brain Friendly Academyสถำบันพัฒนำทักษะกำรคิด และกำรเรียนรู้ 1. Mind Mapping ช่วยเร่อื งกำรจัดระเบยี บควำมคดิ สำมำรถนำส่ิงท่ีจำเอำไว้ออกมำใช้ได้งำ่ ย 2. ช่วยเรอ่ื งกำรคิดวิเครำะห์ แยกแยะ แกป้ ญั หำ กำรตดั สนิ ใจ 3. ช่วยกำรระดมควำมคิด 4. ชว่ ยเร่ืองกำรคิดสร้ำงสรรค์ นวัตกรรม หำไอเดียใหม่ ๆ 5. ช่วยเรื่องกำรจำไดง้ ำ่ ยข้นึ จำเป็นระบบ 6. ชว่ ยใหเ้ ช่อื มโยงข้อมลู ควำมคดิ ไดม้ ำกขึน้ และฟืน้ ควำมจำไดด้ ขี ้นึ 7. ชว่ ยเร่ืองกำรเรียนรู้ ทำใหเ้ รียนร้เู ร่ืองต่ำง ๆ เรว็ ขนึ้ 8. ใช้ช่วยดงึ ข้อมูลควำมรู้ เข้ำ – ออก ไดร้ วดเร็วขนึ้ 9. วำงกลยุทธ์กำรสอบ กำรอ่ำนหนังสือสอบ ทำคะแนน หำจุดบกพร่อง 10. ชว่ ยในกำรจดบนั ทึก คำบรรยำยกำรสอนในชน้ั เรียน ด้วยวธิ ที งี่ ำ่ ยและรวดเรว็ 11. ชว่ ยสรปุ -ยอ่ หนังสอื และตำรำเรียน ตลอดจนหนังสืออำ่ นนอกเวลำ 12. ช่วยทำควำมเข้ำใจเนอ้ื หำบทเรยี นทย่ี ำก ใหเ้ หน็ ทัง้ ภำพรวมและเชิงลกึ

26 13. ชว่ ยเรอื่ งกำรเขียน รำยงำน เรยี งควำม บทควำม หนงั สือ 14. ช่วยรวบรวม เรียบเรยี ง และจัดเก็บข้อมลู อย่ำงเป็นระบบ 15. ชว่ ยในกำรมองเห็นภำพรวม ใหเ้ ห็นขอ้ มลู หรอื ควำมคดิ ทั้งหมด 16. ช่วยสรุป – ย่อ สิ่งที่ต้องกำรเรียนรู้ได้ในรูปแบบท่ีรวดเร็ว เช่น หนังสือเรียน บทสนทนำ สัมภำษณ์ กำรประชมุ ข่ำวทวี ี วิทยุ หนงั สอื พมิ พ์ 17. ช่วยในกำรจับประเด็นสำคัญ สรุปสำระสำคัญ ไดง้ ำ่ ย 18. ชว่ ยเรื่องกำรวำงแผน เรอ่ื งส่วนตวั / งำน / กจิ กรรม / องคก์ ร / ระบบ 19. ช่วยกำรจดั ลำดับควำมสำคัญก่อน – หลงั เรอื่ งหลกั เร่อื งรอง เรือ่ งย่อย 20. ชว่ ยเรือ่ งกำรจัดกำรเวลำ 21. ช่วยเร่ืองกำรวำงแผนกำรประชุม กลยทุ ธ์ 22. ชว่ ยเรื่องกำรวำงแผนกำรตงั้ เป้ำหมำย เรื่องเรยี น เรือ่ งงำน เร่อื งกำรเงิน หรือเรอ่ื งอ่นื ๆ 23. ชว่ ยเรื่องกำรนำเสนอ กำรจัดเตรียมงำน เตรยี มกำรพดู กำรรำยงำน 24. ช่วยในกำรจดจำเนอ้ื หำไดอ้ ยำ่ งงำ่ ยดำย เวลำตอ้ งพูดนำเสนอหนำ้ ช้ันเรยี น 25. ชว่ ยเร่อื งกำรส่อื สำร 26. ช่วยประหยัดเวลำในกำรทบทวนกำรอำ่ น 27. ชว่ ยเรอ่ื งกำรประหยดั เวลำกำรเรยี นรู้ กำรจด และกำรจำ ใหง้ ำ่ ย สะดวก สนุก รวดเร็ว สำหรับกำรเรียนกำรสอนนั้น แผนที่ควำมคิด มีประโยชน์อย่ำงน้อย 4 ประกำร (ไสว ฟกั ขำว.2544: 39 - 40) ได้กล่ำวไว้ว่ำ 1. ใชใ้ นกำรแวงแผนกำรสอน 2. เป็นกจิ กรรมกำรเรียนรทู้ ี่ผู้เรยี นสำมำรถทำเปน็ รำยบคุ คลหรือเปน็ กล่มุ กไ็ ด้ 3. ใชส้ รุปควำมคดิ รว่ มยอดของบทเรียน 4. เปน็ เครอ่ื งมอื ในกำรประเมนิ ผลกำรเรยี นรขู้ องผ้เู รียน สรุปได้ว่ำกรเขียนแผนที่ควำมคิดมีประโยชน์ท่ีหลำกหลำย สำมำรถช่วยเร่ืองกำร ประหยัดเวลำกำรเรยี นรู้ กำรจด และกำรจำ ให้งำ่ ย สะดวก สนกุ รวดเร็วยง่ิ ขึ้น 6. เอกสำรเกย่ี วกับกำรสอนคำศพั ท์ 6.1 ควำมหมำยของคำศัพท์ ควำมหมำยของคำศัพทต์ ำมพจนำนุกรมฉบับรำชบณั ฑติ ยสถำน (2542) หมำยถึงกลุ่มเสียง เสียงเสียงพูดหรือลำยลักษณ์อักษรทีเ่ ขยี นหรือพิมพ์ขึน้ เพ่ือควำมคิดเปน็ คำหรือคำยำกที่ต้องแปล คำศัพท์หมำยถึงกลุ่มเสียงกลุ่มหนงึ่ ซึ่งมีควำมหมำยใหร้ ู้ว่ำเป็นคนส่ิงของอำกำรหรือลักษณะอำกำร อย่ำงใดอยำ่ งหนง่ึ ธนสิทธิ์ ศรรี ตั น์ (2543:10) สรุปไว้ว่ำ คำศัพทภ์ ำษำอังกฤษหมำยถึง \"คำ\" ทง้ั ในภำษำพดู และภำษำเขียนได้แก่คำนำมคำกิริยำคำคณุ ศัพท์และคำกรยิ ำวิเศษณซ์ ่ึงมคี วำมหมำยแนน่ อนในตัวเอง

27 สรปุ ได้วำ่ คำศัพท์หมำยถึงกลุ่มเสยี งเสยี งพูดทัง้ ในภำษำพดู และภำษำเขยี นไดแ้ ก่คำนำม คำกรยิ ำคำคณุ ศพั ท์และคำกริยำวิเศษณ์ซึ่งมีควำมหมำยในตัวเอง 6.2 ควำมสำคัญของคำศพั ท์ ควำมรู้ในด้ำนคำศัพท์ถือว่ำเป็นส่วนที่สำคัญในกำรเรียนภำษำฟรี สมใจ หอมสุวรรณำ (2544: 39) กล่ำวไว้ว่ำ ควำมสำเร็จในกำรเรียนภำษำต่ำงประเทศส่วนหนึ่งน้ันขึ้นอยู่กับ ควำมสำมำรถในกำรใช้องค์ประกอบของภำษำซ่ึงประกอบด้วยเสียงโครงสร้ำงไวยำกรณ์และคำศัพท์ องค์ประกอบท้ัง 3 อย่ำงนี้ คือสำมำรถใช้สื่อสำรควำมหมำยได้คำศัพท์จึงถือว่ำเป็นพ้ืนฐำนของกำร เรยี นภำษำดังทสี่ ตวี คิ (Stewick 8 เมษำยน พ.ศ. 2515:2) กลำ่ วว่ำผ้เู รียนไดเ้ รียนภำษำต่ำงประเทศ ต่อเมื่อ 1 ได้เรยี นรูใ้ นระบบเสียงคอื สำมำรถพดู ไดด้ ีและสำมำรถเข้ำใจไดด้ ี 2 ไดเ้ รยี นรู้และสำมำรถใช้ไวยำกรณ์ของภำษำนัน้ ๆ ได้ 3 ได้เรียนรคู้ ำศัพท์จำนวนมำกพอสมควรทีจ่ ะสำมำรถนำมำใช้ กำเดสซ่ี (Ghadessy. 1979: 24) ให้ควำมเห็นว่ำกำรสอนคำศัพท์มีควำมสำคัญย่ิงกว่ำกำร สอนโครงสรำ้ งทำงไวยำกรณเ์ พรำะคำศัพท์เป็นพ้ืนฐำนของกำรเรยี นภำษำหำกผเู้ รียนมีควำมรู้เกี่ยวกับ คำศัพท์ก็สำมำรถจะนำคำศัพท์มำสร้ำงเป็นหน่วยท่ีใหญ่ขึ้น วลีประโยคควำมเรียงแต่หำกไม่เข้ำใจ คำศพั ทก์ ็ไม่สำมำรถเขำ้ ใจหนว่ ยทำงภำษำท่ใี หญ่กวำ่ ได้เลย วรรณพร ศลิ ำขำว (2538: 18) ทใี่ หค้ วำมเห็นวำ่ คำศัพท์เปน็ หน่วยพน้ื ฐำนทำงภำษำซึ่ง ผ้เู รียนจะต้องเรยี นรเู้ ป็นอันดับแรกเพรำะคำศัพท์เป็นองค์ประกอบทสี่ ำคัญในกำรเรยี นรแู้ ละฝกึ ฝน ทักษะกำรฟังพดู อ่ำนและเขยี นภำษำ สรปุ ไดว้ ่ำคำศัพทเ์ ป็นหน่วยพ้ืนฐำนทำงภำษำซึ่งผู้เรียนจะต้องเรยี นรเู้ ป็นอนั ดบั แรกเพรำะ คำศัพทเ์ ปน็ องคป์ ระกอบท่ีสำคัญในกำรเรยี นทกั ษะฟังพดู อ่ำนและเขียนภำษำ 6.3 ประเภทของคำศัพท์ บำรุง โตรตั น์ (2535 : 10) , ศรีวยั สุวรรณกติ ติ (2522 : 15) และ อญั ชลี แจ่มเจรญิ (2526:7)แบง่ ประเภทของคำศพั ท์ได2้ ชนดิ ตำมลักษณะของกำรใชเ้ ปน็ ดังนค้ี ือ 1. คำศพั ท์ท่ีผเู้ รียนในระดบั น้ันๆได้พบเหน็ บ่อยๆท้ังในกำรฟงั พูดอำ่ นและเขียน (Active Vocabulary) นอกจำกครูจะสอนใหร้ จู้ กั ควำมหมำยแลว้ จะต้องสอนใหน้ ักเรยี นสำมำรถใช้คำประโยคไดท้ ้ังในกำรพูด และกำรเขียนซงึ่ ถือว่ำเป็นทักษะข้ันกำรนำไปใช้ 2. คำศัพทท์ ่ีผ้เู รยี นในระดบั ช้ันนนั้ ๆ ไม่ค่อยพบเห็นหรือนำนๆ จะปรำกฏคร้ังหน่ึงในกำรฟงั และกำร

28 อำ่ นกำรสอนคำศพั ทท์ ่ผี เู้ รียนไมค่ ่อยพบเห็นบอ่ ยครูเพียงสอนแตใ่ หร้ ู้ควำมหมำยท่ีใชใ้ นประโยคก็ เพียงพอโดยไมเ่ น้นใหน้ กั เรียนเอำคำศพั ทน์ ั้นมำใชใ้ นกำรพดู และเขยี น นอกจำกน้ี ยังได้มีกำรแบ่งประเภทของคำศัพท์ตำมโอกำสทจ่ี ะได้ใชห้ รือได้พบใน แต่ละ ทกั ษะทำงภำษำสำมำรถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 4 ประเภท (นนั ทิยำ แสงสิน.2527:92) ดังน้ี 1. คำศัพทเ์ พื่อกำรฟัง เปน็ คำศัพท์ทใี่ ช้มำกในเด็กเล็ก เพรำะไม่เคยเรียนรู้ภำษำมำก่อน เปน็ คำศัพทท์ ่ี ค่อนข้ำงงำ่ ย และกำรเรยี นร้เู กิดจำกกำรฟงั ก่อน 2. คำศัพท์เพอ่ื กำรพูด เป็นคำศพั ท์ท่ใี ชใ้ นภำษำพูด ซึ่งต้องสัมพนั ธก์ บั กำรฟงั คำศัพทท์ ี่ใช้ในกำรพูด นน้ั ตอ้ งสำมำรถใชส้ ่อื ควำมหมำยได้ โดยคำศพั ท์เพื่อกำรพูดจำแนกออกได้เป็น 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ คำศพั ท์ ที่ใชภ้ ำยในบำ้ นหรอื ระหวำ่ งเพ่อื นฝูง คำศัพทท์ ่ีใช้ในกำรเรียนหรือกำรทำงำน และคำศัพท์ที่ใชใ้ นกำร ติดตอ่ รำชกำร หรือใช้ในชวี ติ ประจำวนั 3. คำศพั ท์เพอ่ื กำรอำ่ น เป็นคำศพั ท์ท่ีใชใ้ นกำรอ่ำนและเป็นปัญหำมำกสำหรับเด็กทเ่ี รียนภำษำ คอื ต้องรู้ควำมหมำยเพ่ือทจ่ี ะนำไปตคี วำมเนอ้ื หำ และข้อควำมที่อ่ำนได้ 4. คำศพั ท์เพ่อื กำรเขียน เป็นคำศัพท์ที่ใชใ้ นกำรเขียน ซ่ึงถือว่ำเปน็ ทักษะท่สี งู และยำก เปน็ คำศัพทท์ ่ี ผเู้ รยี นจะตอ้ งได้รบั กำรสอนท่ีถกู ต้องและเป็นทำงกำร อิสรำ สำระงำม (2529 : 78 , 1981 : 76) แบ่งคำศัพท์ออกเป็นประเภทตำมลักษณะ กำรใช้และตำมโอกำสดังที่กล่ำวมำนี้ มีผลสำคัญต่อกี่จัดกำรเรียนกำรสอนเป็นอย่ำงย่ิง กล่ำวคือ สำหรับบทบำทของผู้สอนแล้ว ผู้สอนจะต้องช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้คำศัพท์ท่ีจำเป็นสำหรับกำรใช้ ในโอกำสและสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ได้อย่ำงถูกต้องและเหมะสม โดยในกำรช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ คำศัพท์นั้น หมำยถงึ กำรช่วยให้ผู้เรียนมีควำมรู้เก่ียวกับคำศัพท์และเกิดพฤติกรรมดังนี้ คือ ออกเสียง และสะกดคำได้ บอกควำมหมำยของคำศัพท์ได้ และสำมำรถนำคำศัพท์ท่ีรู้น้ันไปใช้ในกำรฟัง กำรพูด กำรอ่ำน และกำรเขยี นไดอ้ ยำ่ งถูกต้อง 6.4 องค์ประกอบของคำศัพท์ ศธิ ร แสงธนู และ คิด พงศทตั (2521 : 35) กล่ำววำ่ องค์ประกอบทส่ี ำคัญของคำศพั ท์ มี ดงั น้ี 1. รูปคำ (Form) ไดแ้ ก่ รปู ร่ำง หรอื กำรสะกดคำนน้ั ๆ ถำ้ จะกล่ำวตำมหลักของภำษำศำสตรอ์ ยำ่ ง เครง่ ครดั แลว้ คำ ๆ เดียวกัน ควำมหมำยเดียวกัน อำจมีรูปร่ำงตำ่ งกนั ก็ได้ 2. ควำมหมำย (Meaning) ได้แก่ ควำมหมำยของคำน้ันๆ จะมีควำมหมำยที่แฝงอย่ถู ึง 4 นัยดว้ ยกัน 2.1 ควำมหมำยตำมพจนำนกุ รม (Lexical Meaning) ไดแ้ ก่ ควำมหมำยของคำตำม พจนำนุกรม สำหรับภำษำองั กฤษแล้ว คำหน่งึ ๆ มคี วำมหมำยหลำยอยำ่ ง บำงคำอำจใช้ใน ควำมหมำยแตกต่ำงกันเปน็ ร้อย ทำใหบ้ ำงคนเข้ำใจวำ่ ควำมหมำยทแ่ี ตกตำ่ งออกไปหรอื ควำมหมำยที่

29 คนไม่ค่อยรจู้ ักนน้ั เป็น “สำนวน” ของภำษำแตกตำ่ งกันเป็นร้อย ทำใหบ้ ำงคนเข้ำใจว่ำ ควำมหมำย แตกตำ่ งออกไป หรือควำมหมำยที่คนไม่ค่อยร้จู กั น้นั เป็น “สำนวน” ของภำษำ 2.2 ควำมหมำยทำงไวยำกรณ์ (Morphological Meaning) คำศัพท์ประเภทน้ี เมือ่ อยู่ตำม ลำพังโดด ๆ อำจหำควำมหมำยได้ง่ำย เช่น s เม่ือต่อทำ้ ยคำนำมบำงจำพวก เชน่ hats , pens จะ แสดงควำมหมำยเปน็ พหูพจน์ของนำมนัน้ ๆ คือ ช่วยบอกว่ำมจี ำนวน “มำกกวำ่ หนึ่ง” 2.3 ควำมหมำยจำกกำรเรียงคำ (Syntactic Meaning) ไดแ้ ก่ ควำมหมำยท่ีเกิดขน้ึ หรือ เปลย่ี นแปลงไป แล้วแตก่ ำรเรียงลำดบั 2.4 ควำมหมำยจำกเสียงข้นึ – ลง (Intonation Meaning) ได้แก่ ควำมหมำยของคำที่ เปลยี่ นแปลงไปตำมเสยี งข้ึนลงของผู้พูดเปลง่ ออกมำ ไม่ว่ำจะเป็นเสียงทมี่ ีพยำงค์เดียวหรือมำกกว่ำ 3. ขอบเขตของกำรใช้คำ (Distribution) ซง่ึ มขี ้อจำกัดแตกตำ่ งกนั ไปแล้วแตไ่ วยำกรณข์ องภำษำนนั้ ๆ สำหรับภำษำอังกฤษจำแนกออกได้เป็น 3.1 ขอบเขตด้ำนไวยำกรณ์ เชน่ ในภำษำองั กฤษกำรเรยี งลำดับคำเป็นส่ิงสำคัญท่ีสุด ฉะน้ัน ตำแหนง่ ของคำในประโยคที่ต่ำงกนั ไป ทำให้คำนัน้ มคี วำมหมำยแตกต่ำงกันออกไป 3.2 ของเขตทำงภำษำพดู และทำงภำษำเขียน คำบำงคำใชใ้ นภำษำพดู เท่ำน้นั ไม่ใชใ้ นภำษำ เขียนเลย ทำนองเดยี วกนั คำบำงคำใชใ้ นภำษำเขียนโดยเฉพำะ หำกนำมำพูดจะฟงั แปร่งหู ผ้ฟู ังจะรู้ ทันทีวำ่ ผู้พูดไมใ่ ช่เจำ้ ของภำษำ นอกจำกขอบเขตของกำรใชค้ ำแตกตำ่ งกันไปดงั กล่ำวขำ้ งตน้ แลว้ ยงั มีกำรใชค้ ำท่ีแตกต่ำงกัน แลว้ แต่ทอ้ งถนิ่ เชน่ กำรใช้คำที่แตกต่ำงกนั ระหวำ่ ง British English กับ American English แมแ้ ต่ ภำยในประเทศเดยี วกนั ก็ยังมีภำษำถนิ่ ท่ีแตกต่ำงกนั ออกไป ยิ่งกวำ่ น้นั ในท้องถิ่นเดยี วกัน ยังใช้คำ หรือภำษำท่แี ตกต่ำงกัน แล้วแตร่ ะดบั ช้ันของบุคคล กย็ งั ปรำกฏอยเู่ ป็นเร่ืองธรรมดำ 6.5 กำรจัดกจิ กรรมกำรสอนคำศพั ท์ บำรุง โตรตั น์ (2535 : 5 – 6) อัญชลี แจม่ เจริญ และคณะ (2526 : 8) ได้สรปุ ลำดับ ขนั้ ตอนของกำรสอนคำศัพท์ไว้ดังนี้ 1. ขน้ั สอนฟังและสอนควำมหมำย 2. ข้นั สอนพดู ให้ออกเสยี งได้ถูกต้อง 3. ขน้ั สอนอ่ำน ให้เห็นสว่ นประกอบของคำ อ่ำนให้ฟังให้อ่ำนและสะกดคำพร้อมกัน 4. ขน้ั สอนเขยี น ใหเ้ ห็นภำพหรือได้ฟังคำนน้ั และเขียนใหถ้ ูกตอ้ ง 5. ขั้นทดสอบควำมเขำ้ ใจและฝกึ ให้นักเรียนใชค้ ำศัพท์ 6. ใหน้ ักเรยี นจดคำศัพท์พร้อมควำมหมำย จำกข้ันตอนกำรสอนคำศพั ท์ทีก่ ล่ำวมำ สรุปกำรสอนคำศัพท์ไดด้ ังนี้

30 ข้นั ท่ี 1 ขั้นกำรสอนฟัง – พูด ควำมหมำยของคำศัพท์และกำรออกเสียงทีถ่ ูกตอ้ งอำจจะมกี ิจกรรม ดงั นี้ คือ เร่ิมจำกแนะนำคำศัพท์โดยกำรใช้สื่อประกอบ จำกนน้ั ออกเสียงและให้นักเรียนออกเสียง เลียนเสียงอยำ่ งถูกต้อง ขน้ั ที่ 2 ขั้นกำรสอนอำ่ น กจิ กรรมในขนั้ นอ้ี ำจจะเป็นกำรจับคภู่ ำพกับคำศัพท์ โดยใช้บัตรภำพและ บตั รคำ สำหรับให้นักเรียนอำ่ น ขน้ั ที่ 3 ขั้นกำรสอนเขยี นเริ่มจำกกำรสอนตวั อักษรให้ออกเสยี งและเขยี นลีลำตัวอักษรในอำกำศ จำกน้นั เขียนตวั อักษรตำมเสน้ ประ แลว้ จงึ คดั และบรรทกุ ลงในสมุด ขั้นท่ี 4 ขน้ั กำรฝึกปฏิบตั ิกจิ กรรม ในขนั้ นเี้ ปน็ กำรนำคำศัพทท์ ่ีเรยี นแล้วฝึกสนทนำ วำรี หอมอดุ ม (2553 : Web Site) ได้นยิ ำมบทบำทของคำศัพท์ในกำรสอนภำษำ เทคนคิ กำรสอนคำศัพท์ แบบฝึกหดั ในกำรสอนคำศัพท์ไวว้ ำ่ 2.1 บทบำทของคำศัพท์ในกำรสอนภำษำ กำรสอนคำศัพทโ์ ดยมีจดุ หมำยให้ผเู้ รียนนำไปส่ือสำรได้ ผู้เรยี นต้องมีควำมร้คู ำศพั ท์ อยำ่ งลึกซ้ึงในเรื่องตอ่ ไปน้ี - สำรมำรถออกเสียงไดถ้ ูกตอ้ ง - สำมำรถสะกดคำได้ถูกต้อง - ใชค้ ำศพั ทร์ ว่ มกับคำอ่นื ได้ - สำมำรถจดจำได้ทั้งภำษำพูดและภำษำเขยี น - สำมำรถนึกคำศัพทไ์ ด้ทันทีท่ีเวลำตอ้ งกำรพูด - สำมำรถนำคำศัพท์ไปใชใ้ นสถำนกำรณต์ ่ำงๆได้ - สำมำรถนำไปใช้ไดอ้ ยำ่ งเหมำะสมกับสถำนกำรณ์ 2.2 เทคนิคกำรสอนคำศัพท์ - สอนโดยกำรสำธติ ใชท้ ่ำทำงประกอบ - สอนโดยใชส้ ือ่ เช่น รปู ภำพ หุน่ จำลอง ของจริง เขยี นบนบตั รคำ 2.3 แบบฝกึ หดั เกี่ยวกับคำศัพท์ เช่น - Vocabulary game and activities 7. ควำมพึงพอใจ แนวคดิ ทฤษฎเี ก่ยี วกบั ควำมพึงพอใจ ควำมหมำยของควำมพึงพอใจ ควำมพึงพอใจ (Satisfaction) ได้มีผู้ให้ควำมหมำยของควำมพึงพอใจไว้หลำยควำมหมำย ดงั น้ี

31 พจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตสถำน (2542) ได้ให้ควำมหมำยของควำมพึงพอใจไว้ว่ำ พึง พอใจ หมำยถงึ รัก ชอบใจ และพึงใจ หมำยถงึ พอใจ ชอบใจ ดิเรก (2528) กล่ำวว่ำ ควำมพึงพอใจ หมำยถึง ทัศนคติทำงบวกของบุคคลที่มีต่อสิ่งใด สิ่งหนึง่ เป็นควำมรูส้ ึกหรอื ทัศนคตทิ ดี่ ีต่องำนที่ทำของบุคคลที่มีต่องำนในทำงบวก ควำมสุขของบุคคล อันเกิดจำกกำรปฏิบัติงำนและได้รับผลเป็นท่ีพึงพอใจ ทำให้บุคคลเกิดควำมกระตือรือร้น มีควำมสุข ควำมมุ่งม่ันท่ีจะทำงำน มีขวัญและมีกำลังใจ มีควำมผูกพันกับหน่วยงำน มีควำมภำคภูมิใจใน ควำมสำเร็จของงำนที่ทำ และส่ิงเหล่ำน้ีจะส่งผลต่อประสิทธิภำพและประสิทธิผลในกำรทำงำนส่งผล ต่อถึงควำมก้ำวหนำ้ และควำมสำเรจ็ ขององค์กำรอีกด้วย วิรุฬ (2542) กล่ำวว่ำ ควำมพึงพอใจเป็นควำมรู้สึกภำยในจิตใจของมนุษย์ที่ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับแต่ละบคุ คลว่ำจะมีควำมคำดหมำยกับส่ิงหน่ึงสิ่งใดอย่ำงไร ถ้ำคำดหวังหรือมีควำมต้ังใจมำก และได้รับกำรตอบสนองด้วยดีจะมีควำมพึงพอใจมำกแต่ในทำงตรงกันข้ำมอำจผิดหวังหรือไม่พึงพอใจ เป็นอย่ำงยิ่ง เม่ือไม่ได้รับกำรตอบสนองตำมที่คำดหวังไว้ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับส่ิงที่ตั้งใจไว้ว่ำจะมีมำกหรือ นอ้ ยสอดคล้องกบั ฉัตรชัย (2535) กลำ่ ววำ่ ควำมพงึ พอใจหมำยถึงควำมรูส้ ึกหรือทศั นคติของบุคคล ทม่ี ีตอ่ ส่ิงหน่ึงหรือปัจจัยต่ำงๆท่ีเก่ียวข้อง ควำมรู้สึกพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อควำมต้องกำรของบุคคลได้รับ กำรตอบสนองหรือบรรลุจดุ มุง่ หมำยในระดบั หนึง่ ควำมรสู้ กึ ดังกล่ำวจะลดลงหรอื ไม่เกิดข้ึน หำกควำม ต้องกำรหรือจดุ ม่งุ หมำยนนั้ ไม่ได้รบั กำรตอบสนอง กำญจนำ (2546) กล่ำวว่ำ ควำมพึงพอใจของมนุษย์เป็นกำรแสดงออกทำงพฤติกรรมที่ เป็นนำมธรรม ไม่สำมำรถมองเห็นเป็นรูปร่ำงได้ กำรท่ีเรำจะทรำบว่ำบุคคลมีควำมพึงพอใจหรือไม่ สำมำรถสังเกตโดยกำรแสดงออกที่ค่อนข้ำงสลับซับซ้อนและต้องมีสิ่งเร้ำที่ตรงต่อควำมต้องกำรของ บคุ คล จึงจะทำใหบ้ ุคคลเกิดควำมพึงพอใจ ดังนั้นกำรส่ิงเร้ำจึงเป็นแรงจูงใจของบุคคลนั้นให้เกิดควำม พงึ พอใจในงำนนัน้ นภำรัตน์ (2544) กล่ำวว่ำ ควำมพึงพอใจเป็นควำมรู้สึกทำงบวกควำมรู้สึกทำงลบและ ควำมสุขทม่ี ีควำมสมั พนั ธ์กันอย่ำงซบั ซ้อน โดยควำมพึงพอใจจะเกิดข้ึนเม่ือควำมรู้สึกทำงบวกมำกกว่ำ ทำงลบ เทพพนม และสวิง (2540) กล่ำวว่ำ ควำมพึงพอใจเป็นภำวะของควำมพึงใจหรือภำวะที่มี อำรมณ์ในทำงบวกทีเ่ กิดขึ้น เนื่องจำกกำรประเมนิ ประสบกำรณ์ของคนๆหน่งึ ส่ิงท่ีขำดหำยไประหว่ำง กำรเสนอให้กับส่ิงที่ไดร้ บั จะเป็นรำกฐำนของกำรพอใจและไม่พอใจได้ จำกข้ำงต้นสรุปได้ว่ำ ควำมพึงพอใจ หมำยถึง ควำมรู้สึกท่ีดีหรือทัศนคติที่ดีของบุคคล ซึ่ง มกั เกดิ จำกกำรได้รับกำรตอบสนองตำมที่ตนต้องกำร ก็จะเกิดควำมรู้สึกท่ีดีต่อส่ิงน้ัน ตรงกันข้ำมหำก ควำมต้องกำรของตนไม่ได้รับกำรตอบสนองควำมไม่พึงพอใจก็จะเกิดข้ึนแนวคิดเก่ียวกับควำมพึง พอใจ

32 8. บริบทของสถำนศึกษำและห้องเรียน 8.1 ควำมเป็นมำของโรงเรียน โรงเรียนภูเวียงวิทยำคม (อักษรย่อ ภ.ว.ค.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษำขนำดใหญ่ และเป็น โรงเรียนมัธยมประจำอำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2515 สังกัดกรมสำมัญ ศึกษำ กระทรวงศึกษำธิกำร เริ่มแรกเปิดสอนระดับมัธยมศึกษำตอนต้น มีจำนวนนักเรียน 98 คน ครู 2 คน โดยอำศัยเรียนที่อำคำรเรียนของโรงเรียนชุมชนภูเวียง อำเภอภูเวียง จังหวัด ขอนแก่น ต่อมำได้ย้ำยไปทำสอนที่ป่ำสงวนแห่งชำติป่ำกุดน้ำใส โดยท่ำนศึกษำธิกำรอำเภอและ คณะกรรมกำรของอำเภอภูเวียงจัดหำท่ีดินไว้ให้ มีเนื้อท่ี 70 ไร่ ต่อมำเม่ือปี พ.ศ. 2519 ได้ขยำย พื้นที่เป็น 104 ไร่ 2 งำน 60 ตำรำงวำ และได้ขออนุญำต ให้ทำงรำชกำรอนุมัติเป็นท่ีรำชพัสดุ เม่ือ วนั ที่ 15 กมุ ภำพันธ์ 2521 ปจั จุบันได้จดั กำรเรยี นกำรสอนในสำยสำมัญ รูปแบบสหศึกษำ ตั้งแต่ช้ัน มัธยมศึกษำปีท่ี 1-6 มีจำนักเรียนรำว 2,100 คน และบุคลำกรทำงกำรศึกษำอีกกว่ำ 140 คน ซ่ึงปัจจุบันจัดอยู่ในสังกัดสำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต 25 สำนักงำนคณะกรรมกำร กำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร ซ่ึงมีเนื้อที่ท้ังหมดของโรงเรียนจำนวน 104 ไร่ 2 งำน 60 ตำรำงวำ 8.2 กำรบรหิ ำร โรงเรียนภูเวียงวทิ ยำคมบริหำรจัดกำรด้วยระบบคุณภำพ มุ่งพัฒนำนักเรียนให้มีคุณภำพตำม มำตรฐำนสำกล บนพนื้ ฐำนหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง 8.3 สภำพกำรเรยี นภำษำจีนในโรงเรียน ปัจจุบันโรงเรียนภูเวียงวิทยำคม มีครูผู้สอนภำษำจีนทั้งหมด 3 คน เป็นครูคนไทยท่ีจบ หลักสูตรกำรสอนภำษำจีนมำโดยตรง ครูผู้ช่วย 2 อัตรำจ้ำง 1 สภำพกำรจัดกำรเรียนกำรสอนใน รำยวิชำภำษำจีน มีกำรกระจำยลงสู่ผู้เรียนในหลำยๆ ระดับช้ัน ไม่ว่ำจะเป็นห้องโครงกำร ห้องเรียน พิเศษ มีกำรจัดห้องเรียนศิลป์ - ภำษำ คณิต – ภำษำ ให้แก่ผู้เรียนท่ีควำมสนใจเรียน มีห้องเรียน ภำษำจีน สอื่ อุปกรณภ์ ำยในห้องเรยี นมีควำมพรอ้ มในกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนในระดบั ดี 8.4 สภำพห้องเรียนและผู้เรียน 1) สภำพท่ัวไปของห้องเรยี น โรงเรียนภูเวียงวิทยำคม มีกำรใช้กระดำนดำ กระดำนไวท์บอร์ดในบำงห้องเรียน และใน ห้องเรยี นทกุ หอ้ งเรียนจะมโี ปรเจคเตอรแ์ ละโทรทัศน์ บำงห้องก็ใชง้ ำนได้บำงห้องก็ใชง้ ำนไม่ได้ กำรจัดโต๊ะและเก้ำอี้ในช้ันเรียน จัดเป็นโต๊ะน่ัง 2 คน และบำงห้องเรียนโต๊ะเรียนมีสภำพ เก่ำและสกปรก มีรอยปำกกำ ดินสอ โต๊ะ เก้ำอี้มีขนำดเหมำะสมกับรูปร่ำงและวัยของนักเรียน ซึ่งจัด โต๊ะเก้ำอ้ี ใหม้ ีช่องว่ำงระหว่ำงแถวทนี่ ักเรียนจะลุกน่ังได้สะดวก และทำกิจกรรมได้อย่ำงคล่องตัว และ ยังสะดวกต่อกำรทำควำมสะอำดและเคลื่อนย้ำยเปล่ียนรูปแบบท่ีนั่งเรียน และโต๊ะแถวหน้ำอยู่ห่ำง จำกกระดำนดำพอสมควร ทำให้นักเรียนไม่ต้องแหงนมองกระดำนดำ กำรตกแต่งห้องเรียน ในทุกห้อง จะมีป้ำยนิเทศไว้ทฝ่ี ำผนังของห้องเรยี น สว่ นใหญ่จะติดไว้ท่ีข้ำงกระดำนดำท้ัง 2 ข้ำง ที่เป็นประโยชน์

33 ต่อกำรเรียนกำรสอน จัดตกแต่งได้สวยงำม สร้ำงควำมสนใจให้แก่นักเรียน เน้ือหำสำระให้สอดคล้อง กับบทเรียน เพื่อเป็นกำรเสริมควำมรู้ให้แก่นักเรียน และมีเหตุกำรณ์สำคัญ หรือวันสำคัญต่ำง ๆ ท่ี นกั เรียนเรยี นและควรรู้ ควำมสะอำดในช้ันเรียนค่อนข้ำงดีในระดับหน่ึง ห้องเรียนแต่ละห้องมีถังขยะแต่มีบำง ห้องเรียนที่ยังสกปรกอีกท้ังยังนำผลงำนของผู้เรียนท่ีไม่ได้ใช้แล้วท้ิงไว้หลังห้องหรือตำมมุมต่ำงๆของ ห้องเรียน กำรตกแต่งบำงมุมชำรุดไม่ได้มีกำรแก้ไข ซ่อมแซมทำให้สกปรก และเสียบรรยำกำศกำร เรียน กำรจัดสภำพห้องเรียน มีอำกำศถ่ำยเทได้ดี มีหน้ำต่ำงพอเพียง และมีประตูเข้ำออกได้ สะดวก มีแสงสวำ่ งพอเหมำะ เพอ่ื ชว่ ยให้ผู้เรียนอ่ำนหนังสือได้ชัดเจน ปรำศจำกส่ิงรบกวนต่ำง ๆ เช่น เสียง กล่ิน ควัน ฝุ่น มีควำมสะอำด (เป็นบำงห้องเรียน) โดยจัดเวรให้นักเรียนรับผิดชอบเก็บกวำด เช็ดถู เปน็ กำรปลูกฝงั นสิ ยั รกั ควำมสะอำด และฝกึ กำรทำงำนร่วมกัน 2) สภำพผู้เรยี นในขณะเรียน โรงเรียนภูเวียงวิทยำคม เป็นโรงเรียนขนำดใหญ่ ซ่ึงมีจำนวนนักเรียนมำก มีกำรนั่งแยก ชำย-หญิง (บำงห้องที่แยกชำยหญิง) นักเรียนมีปัญหำทำงด้ำนควำมรู้พ้ืนฐำนท่ีแตกต่ำงกันมำก ผู้สอนควรมีควำมเข้ำใจและหำแนวทำงในกำรทำให้นักเรียนสำมำรถเรียนร่วมกันได้อย่ำงมีควำมสุข ในระหว่ำงกำรเรียนกำรสอนผู้สอนให้นักเรียนจดคำศัพท์ตำมละจำ นักเรียนไม่สำมำรถจำคำศัพท์ได้ จะมีแค่นักเรียนท่ีเก่งบำงคนเท่ำน้ันที่จำได้ นักเรียนคุยกันในขณะทำกำรเรียนกำรสอน เมื่อผู้สอน ตักเตือนก็ดีข้ึน แต่ยังชวนเพื่อนคุยเหมือนเดิม เม่ือผู้สอนขออำสำสมัครในกำรตอบคำถำมหรือทำ กจิ กรรมในชัน้ เรียน นกั เรยี นให้ควำมร่วมมือเป็นอย่ำงดีไม่มีกำรเขินอำย โดยไม่ต้องรอให้ผู้สอนบังคับ หรอื เรียกเป็นรำยบุคคล 9. งำนวจิ ัยท่เี กย่ี วขอ้ ง เทิดพล วงษ์รักษำ (2553) ได้ศึกษำกำรพัฒนำกำรเรียนกำรสอนโดยกำรใช้แผนท่ีควำมคิด (Mind Map) มำประกอบกำรเรียน กำรสอนวิชำสังคมศึกษำ 2 ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษำปีที่ 4/4 ภำคเรียนที่ 2/2553 โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรีพบว่ำ 1) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่4/4 จำนวน 54 คน สำมำรถใช้ แผนท่ีควำมคิด (Mind Map) ในกำรสร้ำงเน้ือหำ เชื่อมโยงควำมคิด สำมำรถต้ังคำถำม และตอบคำถำม บทเรียนได้เป็นระบบ มีเหตุมีผลข้ึน 2) นักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษำปีที่4/4 จำนวน 54 คน สำมำรถทำ คะแนนแบบฝึกหัดกำรใช้แผนที่ควำมคิด (Mind Map) ได้ 5 คะแนนเต็มทุกคน และนักเรียนสำมำรถนำข้อมูลควำมรู้ควำมเข้ำใจที่ได้จำกกำร ทำแผนทีค่ วำมคดิ (Mind Map) ไปใชใ้ นกำรสอบปลำยภำคไดอยำ่ งมปี ระสทิ ธิภำพ ชนัญชิดำ จิตตปำลกุล (2545) ทำกำรศึกษำผลกำรใชกิจกรรมพัฒนำผูเรียนแบบแผนที่ ควำมคดิ (Mind Mapping) ทมี่ ีตอผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรยี นวิชำภำษำองั กฤษ ชั้นมธั ยมศกึ ษำปที่ 1/1 ผลกำรวิจัยพบวำกำรสอนโดยใชกิจกรรมพัฒนำผูเรียนแบบแผนที่ควำมคิด สงผลใหผลสัมฤทธ์ิ ทำงกำรเรยี นโดยภำพรวมสงู ขนึ้ เพียง เล็กนอยเทำนั้น และเม่ือดูจำกกำรเปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ยี ผลสมั ฤทธ์ทิ ำงกำรเรยี นกลำงภำคเรียนกบั ปลำยภำคเรียน ในแต่ละระดบั สตปิ ญญำ จะเหน็ วำกลมุ

34 เกงและกลุมออนมกี ำรพฒั นำข้ึน แตในกลุมปำนกลำงกลับมีคะแนนเฉล่ียลดนอยลง ซึ่งอำจแปรผลได วำกิจกรรมพัฒนำผูเรียนวิธีน้ีไมเหมำะกับผูเรียนในกลุมนี้จึงควรไดมีกำรศึกษำกิจกรรมพัฒนำผูเรียน หรือวิธกี ำรสอนท่ีเหมำะสม กบั กำรพฒั นำผูเรียนในกลุมน้ีตอไป ในกำรเลือกเนื้อหำ35เพ่ือนำมำใชใน กำรสรำงแผนทีค่ วำมคิดควรเปนเรื่องท่ีไมยุงยำกซับซอน หรือเนื้อควำมมำกเกินไปและกำรสรำงแบบ ทดสอบอำจมีผลตอกำรเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนไดถำผูสอนและผูออกแบบทดสอบไมใช บุคคลเดียวกัน และควรสรำงแบบทดสอบจำกเนื้อหำที่ไดสอนดวยวิธีแผนท่ีควำมคิดเทำนั้น มิฉะน้ัน อำจทำใหไดขอมูลที่ไมตรงกบั จุดมงุ หมำยท่ีตัง้ ไว อัจฉรำ อินทร์น้อย (2555) ได้ศึกษำวิจัย เร่ือง ผลกำรสอนโดยวิธีกำรจัดกำรเรียนรู้แบบ แผนท่ี ควำมคิดที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน วิชำสังคม ศำสนำและวัฒนธรรม ของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษำปีท่ี 3 โรงเรียนสำธิตมหำวิทยำลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสำนมิตร(ฝ่ำยประถม) พบว่ำ ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน เรื่องเศรษฐศำสตร์ท่ีใช้ในชีวิตประวันของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษำปีที่3 ท่ีเรียนด้วยวิธีกำรจัดกำรเรียนรู้ แบบแผนที่ควำมคิด (Mind Mapping) หลังกำรทดลองสูงกว่ำก่อน กำรทดลองอย่ำงงมนี ัยสำคญั ทำงสถิตทิ ี่ ระดบั .01 วิโรจน์ เด่นวำนิช (2560) ได้ศึกษำวิจัย เร่ือง ควำมคงทนในกำรเรียนรู้ของกระบวนกำร เรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative Learning) โดยใช้เทคนิคแผนผังควำมคิด (Mind Mapping) ของนักศึกษำระดับประกำศนียบัตรวิชำชีพชั้นปีท่ี 3 สำขำงำนคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปีกำรศึกษำ2560 ทีล่ งทะเบียนเรยี นวิชำโปรแกรมมลั ตมิ ีเดยี เพอ่ื กำรนำเสนอ หลงั จำกเสรจ็ สิน้ กำรเรียนเน้ือหำ ในหน่วย ที 1 ผวู้ จิ ยั ทำกำรทดสอบผ้เู รียน จำนวน 3 ครั้ง ห่ำงกัน ครั้งละ 2 สัปดำห์ แล้วนำผลกำรทดสอบใน แต่ละครั้งของผู้เรียนทั้งสองกลุ่มมำเปรียบเทียบกัน ผลกำรทดลองพบว่ำ ผู้เรียนกลุ่มทดลองที่เรียนรู้ ด้วยกระบวนกำรเรียนรู้แบบร่วมมือ มีควำมคงทนในกำรเรียนรู้นำนกว่ำผู้เรียนกลุ่มควบคุม ท่ีใช้ กระบวนกำรเรียนร้แู บบเดย่ี วอย่ำงมีนัยสำคญั ทำงสถติ ิ ทอปัด ทิพย์บุญมี,ชำตรี มณีโกศล และ ผจงกำญจน์ ภู่วิภำดำวรรธน์ ได้ศึกษำวิจัยเรื่อง กำร ใช้แผนผังควำมคิดเพ่ือพัฒนำควำมสำมำรถในกำรเรียนภำษำอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี 6โรงเรียนชุมชนบ้ำนปำงหมู เครื่องมือที่ใช้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ เคร่ืองมือที่ใช้ในกำรจัด กิจกรรมกำรเรียนรู้ คือ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมแผนผังควำมคิด และเคร่ืองมือท่ีใช้ใน กำรเก็บข้อมูล ประกอบด้วย แบบวัดควำมสำมำรถด้ำนกำรฟัง ด้ำนกำรอ่ำน ด้ำนกำรพูด ด้ำนกำร เขียนภำษำอังกฤษ และแบบสังเกตพฤติกรรมกำรเรียนภำษำอังกฤษ ผลกำรวิจัยสรุปได้ดังน้ี ผลกำร ทดสอบควำมสำมำรถด้ำนกำรฟังและด้ำนกำรอ่ำนจับใจควำมสำคัญภำษำอังกฤษ โดยใช้แผนผัง ควำมคิด พบว่ำ คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่ำก่อนเรียน ผลกำรทดสอบควำมสำมำรถด้ำนกำรเขียน แผนผังควำมคิดและด้ำนกำรพูดนำเสนอโดยใช้แผนผังควำมคิด พบว่ำโดยรวมควำมสำมำรถอยู่ใน ระดับมำกและผลกำรสังเกตพฤติกรรมกำรเรียนภำษำอังกฤษของนักเรียนโดยใช้แผนผังควำมคิด พบวำ่ โดยรวมผเู้ รียนมพี ฤตกิ รรมสนใจกำรเรยี นภำษำอังกฤษอยู่ในระดับมำกซึ่งพฤติกรรมส่วนใหญ่ท่ี นักเรียนแสดงออกระหว่ำงกจิ กรรมกำรเรียน กำรสอน ได้แก่ พฤติกรรมกำรแสดงควำมคิดสร้ำงสรรค์ ในกำรวำงแผน กำรออกแบบแผนผังควำมคิดในรูปแบบท่ีหลำกหลำยมีควำมสุข สนใจ ต้ังใจและกล้ำ แสดงออกมำกข้ึน เข้ำใจเน้ือหำท่ีเรียนในมิติที่กว้ำงและรอบด้ำนครอบคลุมประเด็นท่ีศึกษำ มีกำร ทำงำนเป็นระบบ มีพัฒนำกำรด้ำนกำรเขียนและกำรนำเสนอที่ดีขึ้น มีควำมสนใจในกำรค้นคว้ำหำ

35 ควำมรู ้เพิ่มเติมด้วยตนเอง มีควำมรับผิดชอบและมีวินัยในตนเองมำกขึ้น ตลอดจนผู้เรียนสำมำรถ เชื่อมโยงเนื้อหำจำกบทเรียนสู่กำรใช้ชีวติ จริงไดด้ ี จำกกำรศึกษำงำนวิจัยที่เกี่ยวขอ้ งสรปุ ได้วำ่ กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนโดยใช้รูปแบบ กำรเรยี นรแู้ บบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนทีค่ วำมคดิ (Mind Mapping) ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้ ของนักเรียนเพิม่ มำกขน้ึ ผู้เรียนมีควำมรับผิดชอบและมวี ินัยในตนเองมำกขน้ึ ตลอดจนผู้เรียนสำมำรถ เชอ่ื มโยงเนื้อหำจำกบทเรยี นสกู่ ำรใชช้ วี ิตจริงได้

36 บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ กำรวจิ ยั กำรดำเนนิ กำรวจิ ยั เรือ่ งกำรพฒั นำควำมสำมำรถในกำรจดจำคำศัพท์ภำษำจีน โดยใช้ รปู แบบกำรเรยี นร้แู บบร่วมมือรว่ มกับเทคนิคแผนท่คี วำมคิด(Mind Mapping) ของนกั เรียนชั้น มัธยมศึกษำปที ่ี 6 ผวู้ ิจยั ไดด้ ำเนินกำรตำมลำดับ ข้ันตอนดังนี้ 3.1 กลุ่มเปำ้ หมำย 3.2 เคร่ืองมือท่ใี ช้ในกำรวจิ ัย 3.3 กำรสรำ้ งเครื่องมือทีใ่ ช้ในกำรวิจยั 3.4 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล 3.5 กำรวิเครำะห์ข้อมูล 3.6 สถติ ิท่ใี ช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมลู 1. กลุ่มเปำ้ หมำย กลุ่มเป้ำหมำยในกำรวจิ ัยครั้งนี้ ได้แก่ นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษำปที ี่ 6 จำนวน 31 คน ภำคเรียนท่ี 2 ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓ โรงเรียนภูเวยี งวิทยำคม จงั หวดั ขอนแก่น 2. เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นกำรวจิ ยั เคร่อื งมือที่ใช้ในกำรวิจัยคร้งั นเ้ี ป็นเครือ่ งมือท่ผี ้วู ิจยั สร้ำงข้ึน ประกอบดว้ ย 1. แผนกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้เรื่อง 学校里边有邮局吗? 2. แบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง 学校里边有邮局吗? สถำนท/ี่ ทศิ ทำง จำนวน 1 ฉบบั จำนวนทั้งหมด 30 ข้อ 3. แบบสอบถำมควำมพงึ พอใจของนักเรยี นท่ีมีต่อกำรจัดกำรเรียนกำรสอน 4. แผนท่คี วำมคิด (Mind Mapping) 3. กำรสรำ้ งเคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นกำรวจิ ยั ผวู้ จิ ยั ไดด้ ำเนนิ กำรสรำ้ งเครอื่ งมือในกำรวจิ ัย ตำมลำดับ ดงั น้ี 1. แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ ศึกษำโครงสรำ้ งหลักสูตรวเิ ครำะหเ์ นอื้ วิชำ กำหนดจดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม และ จดั ทำ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ จำนวน 1 แผน รวมระยะเวลำในกำรทดลองใช้ 9 ชั่วโมง สำระของแผนท่ีพัฒนำข้นึ สอดคล้องกบั สำระที่ปรำกฏในกลมุ่ สำระวิชำภำษำต่ำงประเทศ ตำมหลกั สูตรกำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำน พุทธศักรำช 2551

37 กำรสรำ้ งแผนกำรจดั กำรเรียนรู้ มขี ้ันตอนกำรสร้ำง ดงั น้ี 1.1 ศกึ ษำหลักสตู รกำรศึกษำขั้นพนื้ ฐำน 2551 1.2 ศึกษำสำระวิชำภำษำต่ำงประเทศ ตำมหลกั สตู รกำรศกึ ษำขั้นพ้ืนฐำน พุทธศกั รำช 2551 1.3 ศึกษำเอกสำร ตำรำ บทควำม และงำนวจิ ัยที่เกย่ี วข้องกับกำรสอนโดยใช้รูปแบบกำร เรยี นรู้แบบร่วมมอื รว่ มกบั เทคนิคแผนที่ควำมคดิ (Mind Mapping) 1.4 คัดเลือกเนื้อหำที่ใช้ในกำรจดั กำรเรยี นรู้ให้มคี วำมเหมำะสมกับนักเรยี น ดำเนินกำรปรบั ปรุงแกไ้ ขแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมคำแนะนำ 2. นำแผนกำรจดั กำรเรียนรู้ไปทดลองใช้กบั นักเรียน นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 6 จำนวน 31 คน ภำคเรียนที่ 2 โรงเรยี นภเู วยี งวิทยำคม จงั หวัดขอนแก่น 3. นวัตกรรม ระยะเวลำในทดลองใช้ 6 ชัว่ โมง กำรสรำ้ ง นวัตกรรมเกม มีขั้นตอน ดังน้ี 3.1 ใหน้ ักเรียนเขยี นแผนท่ีควำมคดิ จำกคำศพั ท์ในบทเรียน 3.2 ใหน้ กั เรยี นดูส่อื นำเสนอ Power Point ดภู ำพแล้วเลน่ เกมทำยคำศัพท์ 3.3 ใหน้ กั เรียนแต่งประโยคจำกคำศพั ท์ทคี่ รูสอนจำกนน้ั เขียนแผนที่ควำมคิด 4. ใบงำนหลงั เรยี น กำรสร้ำงใบงำน ขัน้ ตอน ดังนี้ 4.1 นำคำศัพท์ที่ใชใ้ นกำรสอนมำทำเป็นใบงำนเพ่ือวดั ควำมจำนักเรียน 5. แบบวัดผลสัมฤทธิท์ ำงกำรเรียนก่อนเรยี นและหลังเรียน จำนวน 1 ฉบบั จำนวน 30 ขอ้ กำรสร้ำงแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี นก่อนเรยี นและหลงั เรยี น 5.1 นำคำศัพท์ท่ใี ชใ้ นกำรสอนมำทำแบบทดสอบทำ้ ยบทเรยี น มที ง้ั กำรโยงเส้น เติมคำศัพท์ ลงในชอ่ งวำ่ ง 5.2 เกณฑ์กำรประเมิน เกณฑ์กำรประเมนิ ระดบั คุณภำพ คะแนน ควำมสำมำรถในกำรจดจำคำศัพท์ จำได้ 25-30 คำ ดีมำก 5 ควำมสำมำรถในกำรจดจำคำศพั ท์ จำได้ 19-24 คำ ดี 4 ควำมสำมำรถในกำรจดจำคำศัพท์ จำได้ 13-18 คำ ปำนกลำง 3 ควำมสำมำรถในกำรจดจำคำศัพท์ จำได้ 7-12 คำ พอใช้ 2 ควำมสำมำรถในกำรจดจำคำศัพท์ จำได้ 1-6 คำ ควรปรับปรุง 1

38 6. แบบสอบถำมควำมพึงพอใจของนักเรยี นทมี่ ตี ่อกำรใชเ้ กมเพ่อื พัฒนำควำมสำมำรถในกำร จดจำคำศัพทแ์ ละวธิ ีกำรสอนของครู มขี น้ั ตอนกำรสรำ้ งดงั น้ี 6.1ศกึ ษำค้นคว้ำเอกสำร ตำรำ เกีย่ วกบั แบบสอบถำมควำมพงึ พอใจ 6.2ศกึ ษำวธิ กี ำรสรำ้ งแบบสอบถำมควำมพึงพอใจ 6.3กำหนดรูปแบบหวั ข้อท่ีจะสอบถำม จำนวน 12 ขอ้ เพื่อให้นกั เรียนประเมินตำมควำมเป็น จรงิ โดยใช้มำตรำสว่ นประมำณคำ่ ตำมเกณฑก์ ำรวัด 5 ระดบั ดังน้ี ระดบั ควำมพงึ พอใจ 5 หมำยถึง มำกทสี่ ุด ระดับควำมพึงพอใจ 4 หมำยถงึ มำก ระดบั ควำมพงึ พอใจ 3 หมำยถึง ปำนกลำง ระดบั ควำมพงึ พอใจ 2 หมำยถึง นอ้ ย ระดบั ควำมพงึ พอใจ 1 หมำยถึง น้อยที่สุด 4. กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู กำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผวู้ ิจยั ไดด้ ำเนนิ ตำมข้นั ตอน ดงั น้ี 1. ให้นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 2. ตน้ ชว่ั โมง มกี ำรพดู คยุ ควำมรู้ทวั่ ไปเก่ยี วกบั เร่ืองในบทเรยี น 2. ให้นักเรียนสร้ำงแผนทค่ี วำมคดิ 3. สอนคำศัพทภ์ ำษำจีนโดยกำรใช้สือ่ Power Point 4. ใหน้ ักเรยี นทำใบงำนเกย่ี วกับคำศัพทใ์ นบทเรยี น เพอ่ื วัดควำมจำของนกั เรยี น 5. ใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบท้ำยบทเรียน 6. หลงั เสร็จสิ้นกำรสอนกำรทดสอบแลว้ ผู้วจิ ยั ให้นกั เรยี นทำแบบสอบถำมควำมพึงพอใจ ท่ีมตี ่อกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนโดยกำรใช้รูปแบบกำรเรียนรแู้ บบร่วมมือรว่ มกบั เทคนิค แผนทคี่ วำมคิด (Mind Mapping) 5. กำรวเิ ครำะห์ข้อมลู ผวู้ จิ ัยดำเนนิ กำรวเิ ครำะหข์ ้อมูล ดงั น้ี 1. วเิ ครำะหข์ อ้ มูลท่ีไดจ้ ำกแบบทดสอบทำ้ ยบทเรยี นของนักเรยี นโดยกำรหำค่ำเฉล่ยี 2. วิเครำะหข์ อ้ มูลจำกแบบสอบถำมควำมพึงพอใจของนักเรยี นที่มตี ่อกำรจดั กำรเรยี นกำร สอนโดยกำรใช้รปู แบบกำรเรียนรแู้ บบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนท่ีควำมคดิ (Mind Mapping) โดย กำรหำคำ่ เฉลย่ี และสว่ นเบ่ียงเบนมำตรฐำน

39 6.สถติ ิทใี่ ชใ้ นกำรวเิ ครำะห์ข้อมลู 1. สถติ ทิ ใี่ ช้ในกำรวเิ ครำะห์หำคณุ ภำพของเครื่องมือ 1.1 กำรหำควำมเที่ยงตรงของเนื้อหำ (Content Validity) ของแผนกำรจัดกำรเรียนรแู้ ละ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี นโดยใชส้ ูตรดัชนีควำมสอดคลอ้ ง IOC โดยคำนวณได้จำกสตู ร ดังน้ี I.O.C. =  R N เมอื่ I.O.C. แทน ค่ำดชั นคี วำมสัมพันธร์ ะหว่ำงจดุ ประสงค์กบั เน้อื หำ แทน ผลรวมระหว่ำงคะแนนควำมคิดเห็นของผู้เชีย่ วชำญ N แทน จำนวนผเู้ ชี่ยวชำญ หมำยเหตุ +1 หมำยถงึ แน่ใจวำ่ มคี วำมสอดคล้องระหวำ่ ง จดุ ประสงค์ เนอ้ื หำและกำรจดั กิจกรรม กำรเรียนรู้ 0 หมำยถงึ ไมแ่ นใ่ จวำ่ มีควำมสอดคลอ้ งระหวำ่ ง จดุ ประสงค์ เน้ือหำและกำรจดั กิจกรรมกำรเรยี นรู้ -1 หมำยถึง แนใ่ จวำ่ ไมม่ ีควำมสอดคล้องระหวำ่ ง จุดประสงค์ เนื้อหำและกำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนรู้ 1.2 กำรหำคำ่ อำนำจจำแนก (Discrimination) แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิข์ องแบรนแนน Brennan B  U  L N1 N2 เมื่อ B แทน ค่ำอำนำจจำแนก U แทน จำนวนผูร้ อบรูห้ รอื ผู้สอบผำ่ นเกณฑ์ทต่ี อบถูก L แทน จำนวนผู้ไมร่ อบรูห้ รอื ผ้สู อบไมผ่ ่ำนเกณฑ์ทตี่ อบถูก N1 แทน จำนวนผู้รอบรู้ทีส่ อบผ่ำนเกณฑ์ N2 แทน จำนวนผไู้ มร่ อบรหู้ รอื ผสู้ อบไมผ่ ำ่ นเกณฑ์

40 1.3 กำรหำคำ่ ควำมเชอ่ื มัน่ (Reliability) โดยใช้วิธีกำรของ โลเวท (Lovett) (บญุ ชม ศรีสะอำด, 2545) ดังนี้ rcc 1  Kxi   x 2 i k 1x i  C2  เมื่อ rcc แทน ควำมเชื่อมน่ั ของแบบทดสอบ K แทน จำนวนขอ้ สอบ Xi แทน คะแนนของแต่ละขอ้ C แทน คะแนนเกณฑห์ รอื จดุ ตัดของแบบทดสอบ 2. สถติ ิพนื้ ฐำน ได้แก่ 2.1 กำรหำค่ำเฉลย่ี X = x n X = คะแนนทไ่ี ด้ N = จำนวนนกั เรยี นทงั้ หมด = ผลรวมของคะแนนท้ังหมด 2.2 กำรหำค่ำร้อยละ P = F 100 n เมอื่ P แทน ร้อยละ F แทน ควำมถที่ ีต่ อ้ งกำรแปลค่ำใหเ้ ป็นรอ้ ยละ 3. สถติ ิทใี่ ช้ในกำรเิ ครำะหป์ ระสทิ ธภิ ำพของแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ โดยใชส้ ตู รคำนวณ หำคำ่ E1/ E2

41 เกณฑก์ ำรแปลควำม มีดังน้ี 1. กำรแปลควำมค่ำเฉล่ียกำรใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนท่ี ควำมคิด(Mind Mapping) ซึ่งผูว้ ิจยั กำหนดเกณฑไ์ ว้ดังน้ี ระดับคะแนนเฉลย่ี 4.50 – 5.00 หมำยถึง ดีมำก ระดับคะแนนเฉลีย่ 3.50 – 4.49 หมำยถึง ดี ระดับคะแนนเฉลย่ี 2.50 – 3.49 หมำยถงึ ปำนกลำง ระดับคะแนนเฉลย่ี 1.50 – 2.49 หมำยถงึ พอใช้ ระดบั คะแนนเฉล่ยี 1.00 – 1.49 หมำยถงึ ควรปรับปรงุ 2. กำรแปลควำมค่ำเฉลีย่ ควำมพึงพอใจของนักเรยี นท่มี ีต่อกำรจดั กำรเรยี นกำรสอน โดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนที่ควำมคิด(Mind Mapping) ของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษำปีที่ 6 ได้กำหนดเกณฑก์ ำรแปลควำมไวด้ ังนี้ 4.21 – 5.๐๐ อย่ใู นเกณฑ์ระดับ ควำมพงึ พอใจมำกทส่ี ดุ 3.41 - 4.20 อยู่ในเกณฑร์ ะดบั ควำมพึงพอใจมำก 2.61 - 3.40 อยใู่ นเกณฑร์ ะดับ ควำมพงึ พอใจปำนกลำง 1.81 - 2.60 อยู่ในเกณฑร์ ะดับ ควำมพึงพอใจน้อย 1.00 - 1.80 อยใู่ นเกณฑ์ระดับ ควำมพงึ พอใจนอ้ ยที่สุด

42 บทท่ี 4 ผลกำรวเิ ครำะห์ขอ้ มลู 1. ผลกำรศึกษำเพือ่ เปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์กิ อ่ นเรียนและหลังเรียน ทเ่ี รยี นโดยใช้ รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนท่ีควำมคิด (Mind Mapping) ของนักเรียนช้ัน มัธยมศกึ ษำปที ี่ 6 2. ผลกำรศึกษำควำมพึงพอใจของนักเรียนทเ่ี รยี นโดยใชร้ ูปแบบกำรเรียนรแู้ บบรว่ มมือ รว่ มกับเทคนคิ แผนที่ควำมคดิ (Mind Mapping) ของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษำปีที่ 6 ในกำรศกึ ษำค้นคว้ำงำนวิจัยในชั้นเรียนเรื่องกำรพัฒนำควำมสำมำรถในกำรจดจำคำศัพท์ ภำษำจีน โดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนที่ควำมคิ ด(Mind Mapping) ของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษำปีที่ 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยำคม จังหวัดขอนแก่น ในภำคเรียน 2 ปีกำรศึกษำ 2563 ในกำรเรยี นภำษำจนี ครง้ั นม้ี ผี ลกำรวเิ ครำะห์ออกเปน็ 2 ส่วน สว่ นท่ี 1 ผลกำรศึกษำเพ่ือเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธกิ์ อ่ นเรียนและหลงั เรยี น ทีเ่ รียนโดยใช้ รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนที่ควำมคิด (Mind Mapping) ของนักเรียนช้ัน มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 6 ส่วนท่ี 2 ผลกำรศึกษำควำมพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบ รว่ มมอื รว่ มกบั เทคนิคแผนท่คี วำมคิด (Mind Mapping) ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษำปที ่ี 6

43 สว่ นท่ี 1 ผลกำรศึกษำเพอ่ื เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์ก่อนเรียนและหลงั เรยี น ทเี่ รยี นโดยใช้ รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนที่ควำมคิด (Mind Mapping) ของนักเรียนช้ัน มัธยมศกึ ษำปที ่ี 6 ตำรำง 1 แสดงผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน ที่เรียนโดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับ เทคนคิ แผนท่คี วำมคดิ (Mind Mapping) ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษำปที ่ี 6 นกั เรียนคนที่ คะแนน คะแนนตำมเกณฑก์ ำร ระดบั คณุ ภำพ ก่อนเรยี น (30) ประเมิน 1 14 3 ปำนกลำง 2 15 3 ปำนกลำง 3 16 3 ปำนกลำง 4 10 2 พอใช้ 5 13 3 ปำนกลำง 6 10 2 พอใช้ 7 10 2 พอใช้ 8 19 4 ดี 9 15 3 ปำนกลำง 10 11 2 พอใช้ 11 17 4 ดี 12 20 4 ดี 13 11 2 พอใช้ 14 12 2 พอใช้ 15 20 4 ดี 16 22 4 ดี 17 23 4 ดี 18 19 4 ดี 19 7 2 พอใช้ 20 10 2 พอใช้ 21 16 3 ปำนกลำง 22 17 3 ปำนกลำง 23 16 3 ปำนกลำง 24 16 3 ปำนกลำง 25 10 2 พอใช้ 26 19 4 ดี

44 ตำรำง 1 แสดงผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียน ท่ีเรียนโดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับ เทคนคิ แผนท่ีควำมคิด (Mind Mapping) ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษำปีที่ 6 (ตอ่ ) นักเรียนคนท่ี คะแนน คะแนนตำมเกณฑ์กำร ระดับคณุ ภำพ กอ่ นเรียน (30) ประเมิน 27 10 2 พอใช้ 28 19 4 ดี 29 15 3 ปำนกลำง 30 11 2 พอใช้ 31 20 4 ดี ผลคำ่ เฉล่ีย 15.00 3.16 ปำนกลำง ตำรำง 2 แสดงผลสัมฤทธ์ิหลังเรียน ที่เรียนโดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับ เทคนคิ แผนทีค่ วำมคิด (Mind Mapping) ของนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษำปที ่ี 6 นกั เรยี นคนที่ คะแนน คะแนนตำมเกณฑ์กำร ระดบั คณุ ภำพ หลังเรียน (30) ประเมนิ 1 19 4 ดี 2 20 4 ดี 3 22 4 ดี 4 20 4 ดี 5 19 4 ดี 6 23 4 ดี 7 24 4 ดี 8 22 4 ดี 9 16 5 ดีมำก 10 19 4 ดี 11 26 5 ดมี ำก 12 24 4 ดี 13 20 4 ดี 14 28 5 ดมี ำก 15 23 4 ดี 16 28 5 ดมี ำก 17 27 5 ดมี ำก 18 22 4 ดี 19 26 5 ดีมำก 20 19 4 ดี

45 ตำรำง 2 แสดงผลสัมฤทธิ์หลังเรียน ท่ีเรียนโดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับ เทคนคิ แผนทค่ี วำมคิด (Mind Mapping) ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษำปที ี่ 6 (ตอ่ ) นักเรยี นคนท่ี คะแนน คะแนนตำมเกณฑ์กำร ระดับคณุ ภำพ หลงั เรียน (30) ประเมนิ 21 20 4 ดี 22 21 4 ดี 23 20 4 ดี 24 19 4 ดี 25 24 4 ดี 26 28 5 ดมี ำก 27 19 4 ดี 28 25 5 ดมี ำก 29 26 5 ดมี ำก 30 19 4 ดี 31 28 5 ดีมำก ผลค่ำเฉล่ยี 22.45 4.29 ดี ตำรำง 3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนหลังเรียน ที่เรียนโดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบ ร่วมมอื ร่วมกบั เทคนิคแผนท่ีควำมคดิ (Mind Mapping) ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ 6 นักเรยี น คะแนน คะแนนตำม คะแนน คะแนนตำม ผลตำ่ งคะแนน คนท่ี ก่อนเรยี น (30) เกณฑ์กำร หลังเรยี น (30) เกณฑ์กำร กอ่ นและหลังเรยี น ประเมิน ประเมนิ 1 14 19 5 2 15 3 20 4 5 3 16 3 22 4 6 4 10 3 20 4 10 5 13 2 19 4 6 6 10 3 23 4 13 7 10 2 24 4 14 8 19 2 22 4 3 9 15 4 16 4 1 10 11 3 19 5 8 11 17 2 26 4 9 12 20 4 24 5 4 13 11 4 20 4 9 14 12 2 28 4 16 15 20 2 23 5 3 4 4

46 ตำรำง 3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนหลังเรียน ที่เรียนโดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบ ร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนที่ควำมคดิ (Mind Mapping) ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 6 (ตอ่ ) นักเรยี นคนที่ คะแนน คะแนนตำม คะแนน คะแนนตำม ผลตำ่ งคะแนน กอ่ นเรียน (30) เกณฑ์กำร หลังเรียน (30) เกณฑ์กำร ก่อนและหลงั เรยี น ประเมนิ ประเมิน 16 22 28 6 17 23 4 27 5 4 18 19 22 3 4 5 4 4 19 7 2 26 5 19 9 20 10 2 19 4 4 4 21 16 3 20 4 4 22 17 3 21 4 23 16 3 20 4 24 16 3 19 4 3 25 10 2 24 4 14 26 19 4 28 5 9 27 10 2 19 4 9 28 19 4 25 5 6 29 15 3 26 5 9 30 11 2 19 4 8 31 20 4 28 5 8 ผลคำ่ เฉลย่ี 15.00 3.16 22.45 4.29 7.45 จำกตำรำงผลกำรประเมินผลเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์กิ ่อนเรียนและหลังเรียน ที่เรียนโดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนท่ีควำมคิด (Mind Mapping) ของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษำปที ี่ 6 พบว่ำ ผลคะแนนทดสอบหลังเรยี นสูงกวำ่ คะแนนทดสอบก่อนเรียน อยู่ท่ี 7.45 นักเรียนที่มีเกณฑ์กำรประเมินระดับคุณภำพที่สูงข้ึนจำกก่อนเรียน คืออยู่ในระดับดีมำก จำนวน 10 คน และระดับคุณภำพดี จำนวน 21 คน มีผลค่ำเฉล่ียของคะแนนท้ังหมด คือ 4.29 ซ่ึงอยใู่ นระดับคณุ ภำพดี

47 สว่ นท่ี 2 ผลกำรศึกษำควำมพึงพอใจของนักเรยี นทเี่ รยี นโดยใชร้ ปู แบบกำรเรยี นรูแ้ บบร่วมมือ รว่ มกบั เทคนคิ แผนทค่ี วำมคิด (Mind Mapping) ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษำปที ่ี 6 ตำรำง 4 แสดงผลกำรศึกษำควำมพงึ พอใจของนกั เรียนทเี่ รียนโดยใชร้ ูปแบบกำรเรยี นรู้แบบ ร่วมมือรว่ มกับเทคนิคแผนที่ควำมคดิ (Mind Mapping) ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษำปีท่ี 6 ท่ี ประเด็นวดั ควำมพอใจ ค่ำเฉล่ยี สว่ นเบย่ี งเบน เกณฑก์ ำรแปรผล ร้อยละ มำตรฐำน ควำมพงึ พอใจตอ่ ครผู สู้ อน 1 ครผู สู้ อนแตง่ กำยสภุ ำพเรยี บร้อย 4.48 1.24 ควำมพงึ พอใจมำกทส่ี ุด 2 ครผู สู้ อนพดู จำไพเรำะ ไมห่ ยำบคำย 4.48 1.24 ควำมพงึ พอใจมำกทส่ี ุด 3 ครผู สู้ อนมคี วำมเปน็ กนั เองกับนักเรียน 4.48 1.24 ควำมพึงพอใจมำกทส่ี ดุ 4 ครผู สู้ อนยม้ิ แยม้ อยเู่ สมอ 4.45 1.31 ควำมพงึ พอใจมำกทส่ี ุด 5 ครผู สู้ อนเสมอภำคกับนกั เรียนทกุ คน 4.48 1.24 ควำมพงึ พอใจมำกที่สุด 6 ครูผสู้ อนรับฟังควำมต้องกำรของนกั เรียน 4.57 1.45 ควำมพงึ พอใจมำกท่สี ุด ควำมพงึ พอใจตอ่ กำรสอนของครู 4.48 1.24 ควำมพึงพอใจมำกทส่ี ดุ 7 กำรเตรยี มกำรสอนของครู 4.48 1.24 ควำมพึงพอใจมำกทส่ี ดุ 8 เทคนคิ กำรสอนของครู 4.48 1.24 ควำมพงึ พอใจมำกทีส่ ดุ 9 เน้อื หำทคี่ รูนำมำสอน 4.48 1.24 ควำมพึงพอใจมำกทีส่ ุด 10 กจิ กรรมทีค่ รจู ดั ขน้ึ ระหวำ่ งสอน 4.63 2.02 ควำมพงึ พอใจมำกที่สุด 11 วสั ด-ุ อุปกรณป์ ระกอบกำรสอน 4.51 2.23 ควำมพงึ พอใจมำกทส่ี ดุ 12 กำรมีสว่ นร่วมระหว่ำงครูกบั นักเรยี น 4.50 1.41 ควำมพึงพอใจมำกท่สี ุด ผลเฉลี่ยโดยรวม จำกตำรำง ผลกำรศึกษำควำมพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบ ร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนที่ควำมคิด (Mind Mapping) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 พบว่ำผล เฉลี่ยโดยรวมของควำมพึงพอใจของนักเรียน คือ 4.50 และส่วนเบี่ยงแบนมำตรฐำน เท่ำกับ 1.41 ซ่งึ อยู่ในเกณฑร์ ะดับ ควำมพงึ พอใจมำกทส่ี ุด

48 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รำยผล และขอ้ เสนอแนะ กำรวิจัยคร้ังน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนและหลังเรียน ท่ีเรียนโดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนท่ีควำมคิด(Mind Mapping) ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษำปีท่ี 6 และเพื่อศึกษำควำมพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบกำร เรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนท่ีควำมคิด(Mind Mapping) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยำคม อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต 25 ท่ีเรียนในภำคเรียนที่ 2 ปีกำรศึกษำ 2563 จำนวน 31 คน เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย ได้แก่ แผนกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้เร่ือง 学校里边有邮局吗? ใบงำน แผนผัง ควำมคิด เรื่องสถำนท่ี ใบงำน 2 แผนผังควำมคิด เร่ืองทิศทำง แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบ หลังเรียน แบบสอบถำมควำมพึงพอใจของนักเรียนท่มี ตี อ่ กำรจดั กำรเรียนกำรสอนในรำยวิชำภำษำจีน สรปุ ผล จำกกำรวิจยั สำมำรถสรปุ ผลได้ดังน้ี 1. จำกตำรำงผลแสดงผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน ท่ีเรียนโดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้ แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนท่ีควำมคิด (Mind Mapping) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 6 พบว่ำ ผลคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่ำคะแนนทดสอบก่อนเรียนอยู่ท่ี 7.45 นักเรียนที่มีเกณฑ์ กำรประเมนิ ระดับคุณภำพ ดีมำก จำนวน 10 คน และระดับคุณภำพ ดี จำนวน 21 คน มีผลค่ำเฉล่ีย ของคะแนนทง้ั หมด คือ 4.29 ซึ่งอยู่ในระดับคณุ ภำพดี 2. นักเรียนมีควำมพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับ เทคนิคแผนท่ีควำมคิด (Mind Mapping) ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษำปีที่ 6 โดยภำพรวมอยู่ในระดับ 4.50 หมำยถงึ ควำมพงึ พอใจมำกทสี่ ดุ ผลกำรวิจยั ทค่ี น้ พบในครง้ั นเ้ี ปน็ ไปตำมสมมติฐำนที่กำหนด ไม่ว่ำจะเป็น ระดับควำมสำมำรถ ในกำรจดจำคำศพั ทภ์ ำษำจีนท่สี งู ข้ึน รวมถึงควำมพงึ พอใจของนักเรียนต่อกำรเรียนโดยใช้รูปแบบกำร เรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนท่ีควำมคิด (Mind Mapping) เพื่อพัฒนำควำมสำมำรถในกำร จดจำคำศัพท์ภำษำจนี ทอ่ี ยู่ในระดับควำมพึงพอใจมำกท่ีสุด

49 กำรอภิปรำยผล จำกผลกำรวจิ ยั สำมำรถอภปิ รำยประเด็นสำคัญต่ำง ๆ ไดด้ ังน้ี จำกกำรท่ีผู้วิจัย ใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนที่ควำมคิด (Mind Mapping) เพื่อพฒั นำควำมสำมำรถในกำรจดจำคำศัพท์ภำษำจีน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำ ปีท่ี 6 พบว่ำ ในกำรเรียนกำรสอนโดยกำรใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนที่ ควำมคิด (Mind Mapping) อยู่ในระดับดี อำจเป็นเพรำะว่ำเทคนิคแผนที่ควำมคิด (Mind Mapping) เปน็ สิ่งทด่ี งึ ดูดควำมสนใจในกำรเรียนรู้ของนักเรียน นักเรียนเกิดกระบวนกำรคิดอย่ำงเป็นระบบ เป็น กำรกระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดนอกกรอบ ทำอะไรท่ีแปลกใหม่ ทำให้ผู้เรียนมีควำมใส่ใจในกำรเรียน และ กำรเขียนแผนผงั ควำมคดิ (Mind mapping) ทำให้นกั เรียนสำมำรถจำคำศัพท์ได้ง่ำย สอดคล้องกับ งำนวิจัยของ อัจฉรำ อินทร์น้อย (2555) ได้ศึกษำวิจัย เรื่อง ผลกำรสอนโดยวิธีกำรจัดกำรเรียนรู้ แบบแผนท่ี ควำมคิดทมี่ ีตอ่ ผลสมั ฤทธิท์ ำงกำรเรียน วิชำสังคม ศำสนำและวัฒนธรรม ของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษำปีท่ี 3 โรงเรียนสำธิตมหำวิทยำลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสำนมิตร(ฝ่ำยประถม) พบว่ำ ผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรยี น เร่อื งเศรษฐศำสตรท์ ่ีใชใ้ นชีวติ ประวันของนักเรียนช้ัน ประถมศกึ ษำปีท3่ี ท่ีเรียนด้วยวิธีกำรจัดกำรเรียนรู้ แบบแผนที่ควำมคิด (Mind Mapping) หลังกำรทดลองสูงกว่ำก่อน กำรทดลองอย่ำงงมีนัยสำคัญทำงสถิติที่ ระดับ .01 และสอดคล้องกับงำนวิจัยของ วิโรจน์ เด่นวำนิช (2560) ได้ศึกษำวิจัย เรื่อง ควำมคงทนในกำรเรียนรู้ของกระบวนกำรเ รียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative Learning) โดยใช้เทคนิคแผนผังควำมคิด (Mind Mapping) ของนักศึกษำระดับ ประกำศนียบัตรวิชำชีพชั้นปีท่ี 3 สำขำงำนคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปีกำรศึกษำ2560 ท่ีลงทะเบียนเรียน วิชำโปรแกรมมลั ตมิ ีเดยี เพอื่ กำรนำเสนอ หลังจำกเสร็จส้นิ กำรเรียนเน้ือหำ ในหน่วยที 1 ผู้วิจัยทำกำร ทดสอบผู้เรียน จำนวน 3 ครั้ง ห่ำงกัน คร้ังละ 2 สัปดำห์ แล้วนำผลกำรทดสอบในแต่ละคร้ังของ ผู้เรียนท้ังสองกลุ่มมำเปรียบเทียบกัน ผลกำรทดลองพบว่ำ ผู้เรียนกลุ่มทดลองท่ีเรียนรู้ด้วย กระบวนกำรเรียนรู้แบบร่วมมือ มีควำมคงทนในกำรเรียนรู้นำนกว่ำ ผู้เรียนกลุ่มควบคุม ทใ่ี ช้กระบวนกำรเรยี นรแู้ บบเดย่ี วอย่ำงมนี ัยสำคญั ทำงสถิติ ดังนนั้ สรุปโดยรวมแล้ว กำรใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคแผนท่ีควำมคิด (Mind Mapping) ใช้ได้ผลดแี ละมปี ระสทิ ธิภำพ จำกกำรศึกษำควำมพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือ ร่วมกับเทคนิคแผนที่ควำมคิด(Mind Mapping) ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษำปีที่ 6 พบว่ำ คะแนน เฉล่ียของ ควำมพึงพอใจในภำพรวมอยู่ในระดับ ควำมพึงพอใจมำกที่สุด ซ่ึงเป็นผลจำกกำรจัด กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนท่ีให้ นกั เรยี นมสี ่วน ร่วมในกำรปฏิบัตกิ ิจกรรมตำมกระบวนกำรคิด ดังนั้นโดยสรุปแล้ว กำรจัดกำรเรียนรู้โดยใช้รูปแบบกำรเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิค แผนทค่ี วำมคิด(Mind Mapping) เพ่ือพัฒนำควำมสำมำรถในกำรจดจำคำศัพท์ภำษำจีน ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 6 สำมำรถพัฒนำควำมคงทนในกำรจดจำคำศัพท์ได้ดีข้ึน และเป็นท่ีพึงพอใจใน ระดับมำกทส่ี ุดของผเู้ รยี น

50 ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะสำหรบั กำรทำวิจัยคร้ังตอ่ ไป 1. ควรมกี ำรวิจยั ทีเ่ น้นใหม้ ีกำรใชก้ ลวธิ กี ำรสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ 2. ควรมีกำรใช้เกมทีห่ ลำกหลำยมำกข้ึนกวำ่ นี้ 3. ควรนำกำรสอนด้วยกำรใช้เกมเพ่ือพัฒนำควำมสำมำรถในกำรจดจำคำศัพท์ไปใช้กับ นกั เรียนในระดับชนั้ อน่ื ต่อไป 4. ควรมีกำรเปรียบเทียบกำรใช้ส่ือนวัตกรรมกำรสอนเพ่ือพัฒนำควำมสำมำรถในกำร จดจำคำศัพท์กบั กำรสอนแบบอื่น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook