Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือ 200 ข้อมูลอาชีพที่ตลาดแรรงงานต้องการ

หนังสือ 200 ข้อมูลอาชีพที่ตลาดแรรงงานต้องการ

Description: หนังสือ 200 ข้อมูลอาชีพที่ตลาดแรรงงานต้องการ

Search

Read the Text Version

ที่ตลาด20แร0งงขาอ้ นมตูลอ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการจา้ งงาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment สำ� หรบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านนใี้ นหนว่ ยงานของรฐั บาล และเอกชน จะไดร้ บั เงนิ คา่ จา้ งเปน็ เงนิ เดอื นตามวฒุ กิ ารศกึ ษา มีสวัสดิการตามกฎหมายแรงงาน ถ้าท�ำงานล่วงเวลาจะได้รับเงินค่าล่วงเวลาตามช่ัวโมง หรือเป็นวัน ส�ำหรับเอกชนจะไดร้ ับโบนสั ตามผลประกอบการ ผู้ประกอบนกั ออกแบบฉากละคร ทีร่ บั เหมางานอิสระอาจไดร้ บั เงินค่าจ้างเป็นชิ้นงานตามเงือ่ นไขการตกลง กบั ผวู้ า่ จา้ ง ทั้งทางด้านเวลาและเนอื้ งาน ซึง่ จะต้องแบ่งคา่ จ้างให้กบั ผู้ช่วยและชา่ งตามหนา้ ที่รบั ผิดชอบ สภาพการทำ� งาน ผู้ต้องการประกอบนักออกแบบฉากละคร จะต้องทราบว่าการท�ำงานนั้น ส่วนมากจะเป็นงานเร่งและต้อง ท�ำเสร็จเร็ว งานที่ออกแบบส่วนมาก ถ้างานระดับประเทศอาจใช้เวลาท�ำงาน 1 - 2 เดือน ซึ่งต้องแล้วแต่ขนาด ของงาน และต้องสร้างให้เสรจ็ ตามแบบ ตรงตามกำ� หนดเวลา อาจต้องคุมการท�ำงานกนั ตลอดคนื ตลอดวัน ผู้ออกแบบฉากจะมีห้องออกแบบ หรือมีฝ่ายศิลปกรรม ซึ่งมีอุปกรณ์ในการออกแบบ คือ โต๊ะออกแบบ คอมพวิ เตอร์ แอรบ์ รัชสีต่าง ๆ เพอ่ื ชว่ ยในการทำ� แบบทีอ่ อกมาสมบรู ณ์ ซงึ่ การจดั หอ้ งควรอยใู่ นทอ่ี ากาศถา่ ยเทได้ สะดวกเพอื่ ระบายกลน่ิ สี หรอื กลนิ่ เคมจี ากอปุ กรณก์ ารทำ� งานบางอยา่ ง และการจดั สรา้ งแบบจะตอ้ งใชส้ ถานทกี่ วา้ ง เพื่อใชเ้ กบ็ งานระหวา่ งรอการติดตง้ั โอกาสในการมงี านท�ำ ปัจจุบัน ผู้ท่ีต้องการปฏิบัติงานนักออกแบบฉากละคร จะเข้ามาเร่ิมท�ำงานในวงการธุรกิจได้ค่อนข้างยาก เพราะมีผู้ปฏิบัตินักออกแบบฉากละครอยู่มากมาย นอกจากจะต้องรับท�ำงานครบวงจรให้กับบริษัทประเภท ผลิตละคร หรือภาพยนตร์บันเทิง คือออกแบบ มีทีมงานสร้างฉากเองและรับติดตั้งให้แล้วเสร็จ ตลอดจนการ จัดเก็บ ร้ือถอน ดังน้ันผู้ท่ีต้องการประกอบนักออกแบบฉากละคร ไม่ควรยึดติดกับรูปแบบและประเภทของงาน 589 ทตี่ ้องการท�ำ ควรมีความยืดหยุ่นในการรบั ตำ� แหนง่ งาน และการประกอบอาชีพ เชน่ อาจรับออกแบบเวทกี ารแสดง กลางแจง้ หรือท�ำงานดา้ นศิลปกรรมทถ่ี นดั และให้เหมาะกบั ตลาด หรอื ตามความตอ้ งการของลูกคา้ โดยใช้ความรู้ ความสามารถท่ีมีอยู่มาประยุกต์ใช้ อาจหามุมมองในด้านการออกแบบสิ่งใหม่ ๆ สร้างความแตกต่างท่ีแปลก แหวกแนว มคี วามเข้าใจทางด้านการตลาด จึงจะสามารถประกอบอาชพี ให้เป็นธุรกจิ ได้ ดังน้ัน ขณะเป็นนักศึกษาและต้องท�ำการฝึกงานควรจะสร้างผลงาน มองหาโอกาสและวิเคราะห์แนวการ ประกอบอาชพี ในอนาคต ซงึ่ จะชว่ ยทำ� ใหเ้ หน็ ภาพกวา้ งของนกั ออกแบบฉากละคร และเปน็ การสรา้ งโอกาสใหต้ นเอง ในการมีงานทำ� มากขึน้ คุณสมบัติของผ้ปู ระกอบอาชพี 1. ส�ำเรจ็ การศกึ ษาประโยควชิ าชีพช้ันสูงทางด้านชา่ งศิลป์ หรอื ปริญญาตรี สาขาศลิ ปกรรม นเิ ทศศลิ ป์ 2. เปน็ ผู้มจี นิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์ สนใจศลิ ปะทกุ ประเภท และมีความละเอยี ดอ่อน 3. เปน็ ผูม้ รี สนิยม มคี วามรใู้ นเร่อื งการตกแต่งบ้าน หนงั สอื และงานศลิ ปะ หรอื รูปเขยี น 4. มคี วามสามารถในการสือ่ สาร มีมนุษยสัมพนั ธ์ดี 5. เปน็ ผแู้ สวงหาความรตู้ ่าง ๆ อยูเ่ สมอ มคี วามอยากรูอ้ ยากเหน็ ช่างสังเกต 6. มีความสนใจศิลปะการละคร ภาพยนตร์ และดนตรี

2ท0่ีต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี ้องการ ประจำ�ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน 7. เปน็ ผมู้ ไี หวพริบ ตัดสนิ ใจแก้ปญั หาเฉพาะหน้าได้ Department of Employment 8. รูจ้ ักวัสดตุ า่ ง ๆ ท่ีนำ� มาใชป้ ระกอบเปน็ ฉาก และสามารถประมาณราคาออกแบบข้ันต้นได้ สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบันการศึกษา ผู้ทจี่ ะประกอบนกั ออกแบบฉากละคร ควรเตรียมความพรอ้ มดังน้ี : สำ� เรจ็ การศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอน ต้นสามารถเข้ารับการศึกษาต่อในสายอาชีพได้ในโรงเรียนศิลป์ทั้งของรัฐบาลและเอกชน และสามารถศึกษาต่อใน ประโยควิชาชพี ช้ันสงู ไดใ้ นวทิ ยาลัยของกรมอาชวี ศกึ ษา สว่ นการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี สามารถเขา้ รบั การศกึ ษาตอ่ ไดท้ คี่ ณะวจิ ติ รศลิ ป์ หรอื ศลิ ปกรรมศาสตร์ หรอื สาขานเิ ทศศลิ ป์ ทงั้ มหาวทิ ยาลยั ในภาครฐั และเอกชน เชน่ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยรังสิต โอกาสความกา้ วหน้าในอาชพี ผู้ประกอบนักออกแบบฉากละคร ท่ีปฏิบัติงานกับสถานีวิทยุและโทรทัศน์ จะอยู่ในหน่วยงานศิลปกรรม อาจจะไดร้ บั การเลอื่ นตำ� แหนง่ เปน็ ผกู้ ำ� กบั ฝา่ ยศลิ ป์ ผกู้ ำ� กบั เวที (Floor Manager) และสำ� หรบั ผทู้ อ่ี ยใู่ นบรษิ ทั รบั จา้ ง ทำ� โฆษณาครบวงจรกจ็ ะอยใู่ นฝา่ ยศิลปกรรมเช่นกัน และจะเลื่อนต�ำแหน่งตามโครงสร้างของ องคก์ รที่กำ� หนดไว้ อาชีพท่ีเก่ยี วเน่ือง นักออกแบบเวทีการแสดง เจ้าหน้าที่ฝ่ายศิลปกรรมตกแต่งหน้าร้านในห้างสรรพสินค้า นักวาดภาพ โปสเตอร์ เจ้าของกิจการเก่ียวกับการออกแบบศิลปกรรมครบวงจร ครูสอนการฝึกฝีมือวาดรูป และงานศิลปะ ออกแบบจัดแสดง การออกแบบโสตทัศนูปกรณ์ การออกแบบนิทรรศการ ผู้ควบคุมงานและผู้ประสานงาน 590 ในสาขาท่ีเกีย่ วข้อง แหล่งข้อมูลอน่ื ๆ - งานแสดงนิทรรศการศิลปะ และงานแสดงสินค้าตา่ ง ๆ - หนังสือพิมพ์ และเว็บไซตจ์ ดั หางาน - บรษิ ัทผูผ้ ลิตภาพยนตรแ์ ละละคร - สถานีวิทยโุ ทรทศั น์ทัว่ ประเทศ

ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูลอ้ องากชาีพรกรมการ ัจดหางาน ประจำ�ปี 2558/2015 Department of Employment นกั ออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ Packaging Designer นยิ ามอาชพี เป็นผู้ออกแบบสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ ด้วยกระบวนการ วเิ คราะห์ วิจัย ผสมผสาน โดยการนำ� วัสดุ กรรมวธิ ี การผลิต ลักษณะรปู แบบและขนาดของผลิตภัณฑ์ เพ่ือให้ได้ผลิตภัณฑ์ท่ีเหมาะสมกับผู้ใช้และตลาด รวมท้ังความเป็นไปได้ในการผลิตในระบบ อตุ สาหกรรม : สรา้ งแบบผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานยนต์ อปุ กรณ์ตกแตง่ ประดบั ยนต์ ของเลน่ เครอื่ งเรือน เครื่องนงุ่ ห่ม ผลติ ภณั ฑ์ดินเผา เครื่องแกว้ เครอ่ื งประดบั สง่ิ ทอ และเคร่ืองใช้ภายในบ้านเรือน ตลอดจนผลิตภัณฑ์ส่ิงพิมพ์ต่าง ๆ โดยออกแบบให้มีรูปร่างลักษณะที่สวยงามและ ใชป้ ระโยชนไ์ ดด้ ว้ ย พจิ ารณาถึงจุดมุ่งหมาย ตน้ ทนุ รายการทางเทคนิคต่าง ๆ วธิ กี ารผลติ และความพอใจของผู้ใช้ ผลิตภัณฑ์ ร่างแบบแสดงลกั ษณะ รปู รา่ ง ขนาด และรายการอ่ืน ๆ ของผลิตภณั ฑ์ นำ� ภาพเขยี นเสนอขอความเห็น 591 ชอบจากฝา่ ยจัดการหรอื ลกู คา้ และดัดแปลงแกไ้ ขแบบเท่าทจ่ี �ำเป็น อาจช�ำนาญการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ประเภทใด ประเภทหน่งึ โดยเฉพาะและอาจมีชื่อเรยี กตามความช�ำนาญ อาจเขยี นภาพทางเทคนคิ ตา่ ง ๆ ทำ� แบบจ�ำลอง และ สร้างแบบผลติ ภณั ฑท์ เี่ หมอื นกบั ของจรงิ ลักษณะของงานที่ทำ� ผู้ปฏิบัติงานนักออกแบบบรรจุภัณฑ์จะต้องท�ำการศึกษาการออกแบบและวิวัฒนาการของภาชนะ หีบห่อ หรือบรรจุภัณฑ์ วิเคราะห์ศึกษาลักษณะวัสดุต่าง ๆ ที่น�ำมาใช้ผลิต น�ำเทคโนโลยีในการผลิตกับการออกแบบ มาผสมผสานกัน ในการออกแบบที่ต้องสอดคล้องกับกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม นอกจากการออกแบบ ที่สวยงามแลว้ ยงั ตอ้ งคำ� นึงถงึ ปัจจัยต่างๆ ดงั น้ี - สนิ ค้าที่จะบรรจใุ นภาชนะ - แนวโนม้ ทางการตลาด และคแู่ ข่งขันของสนิ ค้า - กลุ่มเปา้ หมายผ้บู รโิ ภค ตลอดจนความสัมพนั ธ์ ส่ิงแวดลอ้ ม วฒั นธรรม และพฤตกิ รรมของมนุษย์ - วสั ดแุ ละคณุ ภาพของวัสดทุ ี่จะน�ำมาใช้ แหลง่ วตั ถดุ บิ ราคาวตั ถดุ ิบ จากนน้ั นำ� ขอ้ มูลมาวิเคราะห์ แล้วจึง น�ำไปออกแบบ ประมาณราคาต้นทุนในการผลิต และแกไ้ ขปญั หาต่างๆ ทอ่ี าจเกิดขึน้ ได้ ท�ำแบบจ�ำลอง และทดลอง ผลติ ต้นแบบเพอ่ื ให้ผ้วู า่ จ้างพจิ ารณาแก้ไข นำ� ผลติ ภัณฑ์ตน้ แบบมาแก้ไขตรวจสอบความถูกตอ้ งตามเงื่อนไขท่ีตกลง กับผู้วา่ จ้าง นอกจากน้ัน ยังตอ้ งตรวจสอบความปลอดภัย ความแข็งแรง และความทนทานอีกดว้ ย ควบคมุ ดแู ลงาน รายละเอยี ดในข้ันตอนการผลิต จนชิน้ งานส่งถึงมือลกู คา้

ท20ีต่ 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สภาพการจ้างงาน Department of Employment ส�ำหรับนักออกแบบบรรจุภัณฑ์ท่ีส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จะได้รับอัตราค่าจ้างเป็นเงินเดือน ขนั้ ต้นประมาณ 19,500 - 21,500 บาท ซึ่งข้ึนอย่กู บั ผลงานการออกแบบ และผลงานการฝกึ งานทน่ี ำ� เสนอ อาจได้ ค่าตอบแทนจูงใจเม่ือท�ำงานเสร็จแต่ละโครงงาน โดยได้รับเป็น 2 - 3 เท่าของเงินเดือน ส่วนโบนัสขึ้นอยู่กับ ผลประกอบการของสถานประกอบกิจการ และไดร้ บั ผลประโยชนอ์ ย่างอ่นื ตามกฎหมายแรงงาน ผู้ประกอบนักออกแบบบรรจุภัณฑ์ในสถานประกอบกิจการดังกล่าวจะมีกรอบก�ำหนดในการท�ำงาน รวมทั้งชั่วโมงการท�ำงาน คือวันละ 8 ช่ัวโมง หรือสัปดาห์ละ 40 - 48 ช่ัวโมง และอาจต้องท�ำงานล่วงเวลา ท�ำงานใน วันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุด แต่ถ้าเปลี่ยนไปประกอบอาชีพส่วนตัวโดยเปิดส�ำนักงานหรือใช้บ้าน เป็นท่ีท�ำงาน รับจ้างท�ำงานให้สถานประกอบกิจการเดิม หรือผู้ว่าจ้างอ่ืนๆ เป็นโครงงานไป ค่าตอบแทนจะคิด เป็นงานเหมา หรืออาจไดร้ บั เงินค่าตอบแทนมากกวา่ เดิม ก�ำหนดเวลาท�ำงานก็จะไม่แน่นอน สภาพการทำ� งาน บรรยากาศในการท�ำงานส�ำหรับผู้ประกอบนักออกแบบบรรจุภัณฑ์จะเหมือนกับฝ่ายศิลปกรรมอ่ืน ๆ ท่ีมี พ้ืนท่ปี ฏิบัติงานเป็นสัดสว่ น มอี ุปกรณ์เครอื่ งมือในการออกแบบครบถ้วน ถ้าประกอบธุรกิจท่ีบ้านจะมีลักษณะเป็นสตูดิโอ การท�ำงานที่มีอุปกรณ์ครบถ้วนเช่นกัน เมื่อปฏิบัติงาน ตามท่ีมีผู้ว่าจ้างแล้วเสร็จ ผู้ประกอบนักออกแบบบรรจุภัณฑ์ อาจจะออกแบบผลงานของตนเองอันไม่จ�ำกัด ความคดิ และรปู แบบ อาจเปน็ ทัง้ บรรจุภัณฑอ์ เนกประสงค์ หรือผลิตภณั ฑ์อื่น ๆ เพ่อื นำ� ไปจ�ำหนา่ ยเชงิ พาณิชย์ด้วย ตนเอง 592 โอกาสในการมงี านทำ� ปัจจุบัน นักออกแบบบรรจุภัณฑ์มีการจ้างแรงงานอยู่ในระดับปานกลาง ถึงมาก ส่วนมากบริษัทผู้ว่าจ้าง นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ คือ บริษัทตัวแทนรับจ้างรับจัดโฆษณาประชาสัมพันธ์ บริษัทออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือ บรษิ ัทท่ีผผู้ ลติ สนิ ค้าเป็นจำ� นวนหลายประเภทและยี่ห้อ นอกเหนือจากผูป้ ฏิบตั นิ กั ออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ จะมที างเลือกในการท�ำงานแบบอตุ สาหกรรมแลว้ ปจั จุบัน ชุมชนทั่วประเทศต่างหันมาท�ำการค้ากันระหว่างชุมชนท่ัวประเทศโดยมีการส่งเสริมจากภาครัฐในการให้ความ ช่วยเหลือให้ผลิตผลิตภัณฑ์สินค้าพื้นบ้านเพื่อการพาณิชย์และการส่งออก ดังน้ันสินค้าหรือผลิตภัณฑ์เหล่านั้น ต่างต้องการภาชนะและหีบห่อที่ร่วมสมัยและทันสมัย เพ่ือสร้างภาพลักษณ์ของสินค้า และดึงดูดเรียกร้อง ความสนใจจากผู้ซอ้ื หาหรอื ผบู้ รโิ ภค เปน็ โอกาสอกี ช่องทางหน่ึงท่ีผอู้ อกแบบบรรจภุ ัณฑ์ มที างเลอื กในการประกอบ อาชีพ นอกเหนือจากการท�ำงานในสถานประกอบกิจการ และประกอบอาชีพอิสระในการผลิตสินค้าท่ีระลึกและ ของขวัญ และส่วนมากผู้ประกอบนักออกแบบบรรจุภัณฑ์สามารถสร้างสรรค์งานได้หลากหลายโดยไม่ยึดติดกับ รปู แบบของงาน คุณสมบัตขิ องผู้ประกอบอาชีพ 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะสถาปัตยกรรม, ศิลปกรรม และสาขาพาณิชยศิลป์ ออกแบบ ผลิตภณั ฑ์ หรอื นิเทศศลิ ป์ หรือสาขาท่เี กีย่ วขอ้ ง 2. มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มีไหวพริบและความสนใจความเคลื่อนไหวของธุรกิจและการตลาด เท่า ๆ กับนักการตลาด

ที่ตลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 3. มคี วามรู้ในเรอื่ งวัสดุและวตั ถดุ ิบตา่ ง ๆ ทีใ่ ช้ออกแบบผลติ ภณั ฑ์ กรมการ ัจดหางาน 4. มคี วามรบั ผดิ ชอบ มีระเบยี บวนิ ัยสงู มีความอดทน Department of Employment 5. มีความสามารถในการประมาณราคาวัสดุ แบบหบี ห่อ ภาชนะ และบรรจุภณั ฑไ์ ด้ 6. มีความสามารถในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีในการผลิตเข้ามาประยุกต์ใช้ในการ ออกแบบ และในการผลติ 7. สามารถท�ำงานเปน็ ทมี ได้ และมีมนุษยสัมพันธ์ทด่ี ี 8. ใจกว้าง สามารถรับฟงั คำ� แนะนำ� และตชิ มได้ สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศกึ ษา ผู้ท่ีจะประกอบนักออกแบบบรรจุภัณฑ์ ควรเตรียมความ พร้อมดังต่อไปน้ี : ต้องเป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตรมัธยมศึกษา ตอนปลายครบเกณฑท์ สี่ ถาบนั อดุ มศกึ ษาแตล่ ะแหง่ กำ� หนด เพอื่ สอบ คัดเลือกผู้เข้าศึกษาต่อในหลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี ในคณะ สถาปตั ยกรรม ศิลปกรรม และมณั ฑนศิลป์ ฯลฯ โอกาสความกา้ วหน้าในอาชพี ผ้ทู ่ปี ฏิบตั งิ านอาชีพน้ใี นสถานประกอบกิจการผลิต อาจได้รับการเล่ือนตำ� แหนง่ ไปจนถงึ ตำ� แหนง่ สูงสุดตาม โครงสร้างขององคก์ ร เชน่ ผจู้ ดั การฝา่ ยออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ถ้าประกอบอาชพี อิสระ อาจทำ� หน้าทีเ่ ปน็ ผู้ขายผลติ ภณั ฑท์ ส่ี รา้ งสรรค์ขน้ึ เอง หรือของผู้อนื่ ด้วย อาชีพท่ีเกี่ยวเน่ือง 593 นักออกแบบผลิตภัณฑ์ นักออกแบบตรา และงานศิลป์บนบรรจุภัณฑ์ท่ีส�ำเร็จรูปแล้ว ศิลปินที่ท�ำงาน ด้านศิลปะ เปดิ บรษิ ัทโพรดกั ชัน่ เฮาส์ ท่รี บั ออกแบบงานทุกประเภท ผปู้ ระสานงานการผลิต ผสู้ ง่ ออกสนิ คา้ แหลง่ ข้อมูลอนื่ ๆ - ข้อมูลจากเวบ็ ไซต์ ทั้งแหลง่ หางาน แหล่งรวมอาชีพ หรอื แหล่งชอปป้งิ มอลล์ ของงานศิลปกรรมต่างๆ - งานนิทรรศการทางด้านออกแบบบรรจุภัณฑ์ - สถาบันการศึกษา เช่น ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควชิ าศิลปะอตุ สาหกรรม คณะสถาปตั ยกรรม สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

กรมการ ัจดหางาน ท20่ตี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นกั ออกแบบผลติ ภณั ฑ์สิง่ ทอ Textile Designer นิยามอาชพี ออกแบบลวดลายผ้า เส้ือผ้า เครื่องแต่งกาย และ ผลิตภัณฑ์สิ่งทอสิ่งถักจากจินตนาการ ประสบการณ์แนวโน้ม ของแฟช่ัน และความต้องการของลูกค้า : ศึกษาวัตถุประสงค์ ต้นทุน วัตถุดิบ เทคนิคและปัจจัยอ่ืน ๆ ท่ีมีอิทธิพลต่อการ ออกแบบ ; วาดโครงรา่ งหรอื แบบ (Patterns) ตามความตอ้ งการ ของลูกค้า ตรวจสอบผลงานเพื่อความถูกต้องสมบูรณ์ตาม ที่ก�ำหนดไว้ ก่อนส่งให้ช่างท�ำแบบหรือช่างแผนกตัด ท�ำการ ตัดเยบ็ เส้อื ผา้ เคร่ืองแต่งกายและผลิตภณั ฑ์สงิ่ ทอส่ิงถกั ตามแบบตอ่ ไป ลักษณะของงานท่ที �ำ 1. ศึกษาวัตถุประสงค์ ต้นทุน วิเคราะห์วัสดุ เทคนิค และปัจจัยอ่ืนๆ ท่ีน�ำมาออกแบบสิ่งทอ ลายผ้า และเนือ้ วสั ดุ เพอื่ การตดั เยบ็ และวิธีการตัดเยบ็ 594 2. ควบคุมการตัดเย็บให้เป็นไปตามแบบที่ออกไว้ ท�ำการออกแบบส่ิงถักส่ิงทอเพ่ืออ�ำพรางหรือแก้ไข ข้อบกพร่องของรูปร่างแต่ละบุคคลให้ออกมาดูดี มีบุคลิกภาพ โดยน�ำเทคนิคหรือเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ใน การสร้างงาน โดยจะมีขั้นตอนการท�ำงานตา่ ง ๆ ดังนี้ - ต้องรวบรวมความคดิ ข้อมูลที่เป็นสัดส่วนจากลูกค้าหรอื ผู้วา่ จ้าง - ศึกษารูปแบบงานท่ีมีอยู่ที่สามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่หรือดัดแปลง เพ่ือลดระยะเวลาการท�ำงานและ ต้นทนุ การผลิตในเวลาเดยี วกัน ต้องทำ� การค้นคว้าวจิ ัยดว้ ย - ท�ำการรา่ งแบบครา่ วๆ ตามแนวความคดิ หรือตามจนิ ตนาการ หรือจากความต้องการของลกู คา้ - นำ� ภาพทร่ี า่ งแลว้ ใหผ้ วู้ า่ จา้ งพจิ ารณาเพอ่ื หาแนวทางในการพฒั นาการผลติ รวมทง้ั การใชว้ ตั ถดุ บิ และ ประเมนิ ราคา - น�ำภาพร่างท่ีผ่านการพิจารณาและแก้ไขแล้วมาสร้างแบบ (Pattern) วิธีการเย็บในรายละเอียด ปัก กุ๊น เดินลายหรือจับเดรป แล้วน�ำมาลงสีตามจริง เขียนภาพและอธิบายวิธีการท�ำให้ละเอียดและชัดเจน ทส่ี ุด เทา่ ทส่ี ามารถจะท�ำได้เพ่ือให้ช่างท�ำตามแบบได้ 3. ตรวจสอบผลงานเพอื่ ความถกู ตอ้ งสมบรู ณต์ ามทก่ี ำ� หนดไวก้ อ่ นสง่ ใหช้ า่ งทำ� แบบหรอื ชา่ งแผนกตดั ทำ� การ ตดั เยบ็ เสื้อผา้ เครอื่ งแต่งกาย และผลติ ภณั ฑ์สงิ่ ทอส่ิงถักตามแบบต่อไป 4. สง่ แบบหรอื ชดุ ทต่ี ดั เนาไวใ้ หฝ้ า่ ยบรหิ ารและลกู คา้ หรอื ผวู้ า่ จา้ งพจิ ารณา ทดลองใสเ่ พอื่ แกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง ขัน้ สุดทา้ ย 5. น�ำแบบทผี่ ูว้ า่ จา้ งเห็นชอบ ท�ำงานประสานกบั ชา่ งตัดเยบ็ ชา่ งปกั เพอื่ ใหไ้ ด้ผลงานตามทลี่ ูกค้าต้องการ

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาพี ร ประจำ�ปี 2558/2015 สภาพการจ้างงาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนักออกแบบเสื้อผ้า ผลิตภัณฑ์สิ่งทอสิ่งถัก ควรส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชพี ช้นั สูง (ปวส.) หรอื ปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีการออกแบบเครอื่ งแต่งกาย สามารถท�ำงานในสถานประกอบ การ หรอื โรงงานอตุ สาหกรรมผา้ รา้ นตดั เยบ็ เสอื้ ผา้ ทต่ี อ้ งใชเ้ ครอ่ื งจกั รอตุ สาหกรรม เปน็ ตน้ จะไดร้ บั คา่ ตอบแทนเปน็ เงินเดือนทรี่ ะดบั เริม่ ต้นการท�ำงาน วฒุ กิ ารศึกษา ปวส. ประมาณ 12,500 - 16,500 บาท และปริญญาตรปี ระมาณ 19,700 - 23,500 บาท สวัสดิการต่าง ๆ ค่ารักษาพยาบาล และโบนัสเป็นไปตามเง่ือนไขข้อตกลงกับผู้ว่าจ้าง ท�ำงานวันละ 8 - 9 ชั่วโมง อาจท�ำงานล่วงเวลา วันเสาร์ วนั อาทิตย์ และวันหยดุ ตามความจำ� เป็น ผปู้ ฏบิ ตั งิ านอาชพี นสี้ ามารถประกอบเปน็ อาชพี อสิ ระ สว่ นใหญจ่ ะมรี า้ นหรอื มที อ่ี าศยั เปน็ ทรี่ บั ออกแบบและ ตัดเยบ็ เสือ้ ผ้าเปน็ ของตนเอง สภาพการทำ� งาน ปฏิบัติงานทั้งในสถานท่ีและนอกสถานที่ เช่น โรงงานอุตสาหกรรมเส้ือผ้า ร้านตัดเสื้อ และท่ีพักอาศัย ในการออกแบบจะมีท่ีท�ำงานท่ีค่อนข้างเป็นสัดส่วน เป็นงานเบา ใช้ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ น�ำเสนอผลงาน และ การท�ำงานท�ำได้ไม่จ�ำกัดเวลา ต้องอาศัยฝีมือการวาด การดัดแปลง ซึ่งใช้เครื่องมืออุปกรณ์ เช่น โต๊ะเขียนแบบ หุ่นลองเสอ้ื ขนาดตา่ งๆ ตามทตี่ ัดเยบ็ ผ้า กระดาษสรา้ งรูปแบบ และสสี ำ� หรบั ลงสี เพือ่ ให้ภาพออกแบบเหมอื นจริง อาจมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบและให้สีได้เช่นกัน หรือสแกนภาพท่ีวาดลงในคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยให้การน�ำเสนอต่อลูกค้าสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ในกรณีผลิตเสื้อผ้าส�ำเร็จรูปอาจมีผู้ช่วยท�ำงานในการสร้างแบบ (Pattern) โอกาสในการมีงานทำ� 595 ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ในวงการออกแบบเสื้อผ้าไทยถือว่ามีความส�ำเร็จในระดับหน่ึงที่การผลิต เสื้อผ้าสำ� เร็จรปู ภายใต้ยหี่ อ้ ไทย ไดม้ กี ารส่งออกไปขายในต่างประเทศบา้ งแลว้ อยา่ งเช่น ยห่ี ้อ Fly Now หรอื ในเรื่อง ของการสนับสนุนการออกแบบลายผ้าไหมท่ีมีลายเป็นเอกลักษณ์ และการให้สีตามที่ลูกค้าในต่างประเทศ ตอ้ งการ ขณะเดยี วกนั นกั ออกแบบแฟชน่ั ในตา่ งประเทศหลายสถาบนั ตา่ งใหค้ วามสนใจแนวการแตง่ กาย วฒั นธรรม และการใช้ชีวิตอันเป็นเอกลักษณ์ของชาวเอเชียมากขึ้น ซ่ึงจะมีส่วนช่วยสนับสนุนงานการพัฒนาออกแบบเสื้อผ้า ในประเทศไทย ประกอบกับรัฐบาลได้มีนโยบายส่งเสริมให้คนไทยเลือกใช้สินค้าไทย โดยเฉพาะเส้ือผ้าส�ำเร็จรูป และผลติ ภณั ฑเ์ ครอ่ื งนงุ่ หม่ ทไ่ี ดม้ าตรฐานการสง่ ออก ปจั จยั ดงั กลา่ วนบั เปน็ ปจั จยั สนบั สนนุ หรอื เปน็ แนวโนม้ เชงิ บวก ส�ำหรับผู้ทต่ี อ้ งการประกอบอาชีพน้ี คุณสมบัตขิ องผูป้ ระกอบอาชพี 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั้ สงู (ปวส.) สาขาเทคโนโลยกี ารออกแบบเครอื่ งแตง่ กาย หรอื ส�ำเร็จการศกึ ษาระดับปริญญาตรี สาขาออกแบบเครอื่ งแต่งกาย 2. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มีใจรกั งานดา้ นออกแบบ มีมุมมองเรอ่ื งของศลิ ป์ รักความสวยงามอาจมพี ื้นฐาน ทางด้านศลิ ป์บ้าง 3. มคี วามกระตือรอื ร้น ชา่ งสังเกตวา่ มีความเปล่ียนแปลงอะไรบา้ ง กล้าคดิ กลา้ ท�ำ กลา้ ทจ่ี ะถา่ ยทอด 4. สามารถถา่ ยทอดความคดิ หรือแนวคดิ ใหผ้ ู้อ่นื ฟงั ได้

ท20ตี่ 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ ประจำ�ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบนั การศึกษา Department of Employment วทิ ยาลยั เทคนคิ และวทิ ยาลยั การอาชพี สงั กดั สถาบนั การอาชวี ศกึ ษา สำ� นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา อาทิ - วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเชยี งใหม่ เวบ็ ไซต์ www.cmvc.ac.th/cmvc/main.asp โทรศพั ท์ 0-5322-1493, 0-5341-6203 - วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาพิษณุโลก เว็บไซต์ www.plvc.ac.th โทรศพั ท์ 0-5525-8570 - วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเลย เว็บไซต์ www.lvc.ac.th โทรศพั ท์ 0-4281-1284 - วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาแพร่ เว็บไซต์ www.pvc.ac.th โทรศพั ท์ 0-5451-1286 - คณะคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาผ้าและเคร่ืองแต่งกาย หรือออกแบบส่ิงทอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล เวบ็ ไซต์ www.rmut.ac.th โทรศัพท์ 0-2549-4990-2 - โรงเรียนหรือสถาบันการออกแบบตัดเย็บเส้ือผ้าที่มีช่ือเสียงท่ัวไป อาทิ สถาบันสอนตัดเย็บเสื้อผ้า เช่น โรงเรียนตัดเสื้ออมั รนิ ทร์ เว็บไซต์ www.amarinschool.com - คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการออกแบบพัสตราภรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เว็บไซต์ www.tu.ac.th โทรศัพท์ 0-2221-6111-20 โอกาสความกา้ วหน้าในอาชพี ปัจจัยท่ีท�ำให้ผู้ที่ประกอบอาชีพน้ีประสบความส�ำเร็จและก้าวหน้าในอาชีพ ก็คือ การคงไว้ซ่ึงการเป็น นักออกแบบเสอ้ื ผา้ หรอื แฟชัน่ ดไี ซเนอร์ ซง่ึ ต้องใช้โอกาส เวลา คา่ ใชจ้ า่ ยในการผลติ และการแสดงผลงานทมี่ ตี น้ ทุน ต�ำ่ ใหเ้ ป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพและเตม็ ศักยภาพ นักออกแบบเส้ือผ้าควรมีความคิดเชิงรุกมากกว่ารับ ควรศึกษาหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ 596 และควรสรา้ งโอกาสใหต้ นเอง เชน่ การศกึ ษาภาษาตา่ งประเทศเพมิ่ เตมิ ศกึ ษาดา้ นการตลาด ความตอ้ งการของลกู คา้ กลุ่มเป้าหมายลูกค้าใหม่ เสาะหาแหล่งตลาดวัตถุดิบ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตที่ครบวงจร สร้างแนวโน้มแฟช่ัน ศึกษารูปแบบของสินค้าจากต่างประเทศ และข้อกีดกันทางการค้า ซ่ึงเป็นปัจจัยในความก้าวทันโลก และยืนอยู่ใน อาชพี ได้นาน และอาจสร้างผลงานทคี่ นไทยภูมิใจหันมาใส่เสื้อผ้าท่ผี ลิตโดยนกั ออกแบบเสื้อผ้าไทย อาชีพที่เกีย่ วเน่อื ง ครู / อาจารย์ เจ้าของร้านหรือห้องเส้ือ เจ้าของโรงเรียนสอนออกแบบตัดเย็บเสื้อผ้า นักออกแบบเครื่อง ประดับ แหล่งข้อมูลอื่น ๆ - สถาบนั พฒั นาอตุ สาหกรรมสิง่ ทอ เวบ็ ไซต์ www.thaitextile.org โทรศพั ท์ 0-2280-4085 - ศูนยพ์ ฒั นาผลติ ภณั ฑ์ กรมสง่ เสรมิ การส่งออก เว็บไซต์ www.depthai.go.th โทรศัพท์ 0-2512-0093- 104, 0-2513-1901-15 - สมาคมอตุ สาหกรรมเครอื่ งนุง่ หม่ ไทย เวบ็ ไซต์ www.thaigarment.org โทรศพั ท์ 0-2681-2222 - ศูนยส์ ร้างสรรค์งานออกแบบ เว็บไซต์ www.tcds.or.th โทรศัพท์ 0-2664-8488 - บริษัท ยสั ปาล จำ� กัด เว็บไซต์ www.jaspalhome.com โทรศพั ท์ 0-2312-6800 - สมาคมผผู้ ลติ และออกแบบแฟชนั่ เคร่ืองแตง่ กาย เว็บไซต์ www.fdta.org

ที่ตลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจำ�ปี 2558/2015 Department of Employment นักออกแบบเสื้อผา้ Fashion Designer นิยามอาชีพ ออกแบบลวดลายผา้ เสอ้ื ผา้ เครอื่ งแตง่ กาย แ ล ะ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์ ส่ิ ง ท อ สิ่ ง ถั ก จ า ก จิ น ต น า ก า ร ประสบการณ์ แนวโน้มของแฟช่ัน และความ ต้องการของลูกค้า : ศึกษาวัตถุประสงค์ ต้นทุน วตั ถุดบิ เทคนิคและปจั จัยอืน่ ๆ ที่มอี ทิ ธิพลต่อการ ออกแบบ; วาดโครงรา่ งหรือแบบ (Patterns) ตาม ความตอ้ งการของลกู คา้ ตรวจสอบผลงานเพอื่ ความ ถูกต้องสมบูรณ์ตามท่ีก�ำหนดไว้ ก่อนส่งให้ช่างท�ำ แบบหรอื ชา่ งแผนกตดั ทำ� การตดั เยบ็ เสอ้ื ผา้ เครอื่ ง แตง่ กายและผลติ ภัณฑ์สิ่งทอสงิ่ ถกั ตามแบบตอ่ ไป ลกั ษณะของงานทท่ี ำ� ผปู้ ระกอบอาชพี นกั ออกแบบเครอื่ งแตง่ กายจะมหี นา้ ทคี่ ลา้ ยกบั นกั ออกแบบเครอ่ื งประดบั หรอื นกั ออกแบบ เครอ่ื งเรือน โดยมหี นา้ ท่ี ดังนี้ 597 1. วเิ คราะห์ ศกึ ษาวสั ดทุ นี่ ำ� มาออกแบบสงิ่ ทอ ลายผา้ และเนอื้ วสั ดุ เพอื่ ตดั เยบ็ และวธิ กี ารตดั เยบ็ ควบคมุ การตัดเย็บใหเ้ ป็นไปตามแบบที่ออกไว้ 2. ใหค้ ำ� แนะนำ� ในเรอ่ื งการแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งของรปู รา่ งแตล่ ะบคุ คล โดยมพี น้ื ฐานความเขา้ ใจในศลิ ปะการ แต่งกายของไทยโบราณและการแต่งกายแบบตะวันตกยุคต่างๆ ในการออกแบบและขั้นตอนการผลิต น�ำเทคนิค ทางเทคโนโลยที ีม่ ีตอ่ การสรา้ งงานศิลปม์ าประยกุ ต์ใช้ โดยจะมขี น้ั ตอนการท�ำงาน ออกแบบใหผ้ ู้วา่ จ้างดงั นี้ 3. ต้องรวบรวมความคดิ ขอ้ มูลทีเ่ ป็นสดั ส่วนจากลกู คา้ หรือผู้วา่ จ้าง 4. ศึกษารูปแบบงานท่ีมีอยู่ ถ้าสามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่หรือดัดแปลงเพื่อลดระยะเวลาการท�ำงานและ ตน้ ทุนการผลิตในเวลาเดยี วกนั ต้องทำ� การค้นควา้ วจิ ยั ด้วย 5. ทำ� การรา่ งแบบคร่าวๆ โดยคมุ ใหอ้ ยใู่ นแนวความคิดดังกลา่ วให้ได้ตามความต้องการ 6. นำ� ภาพท่ีรา่ งแลว้ ใหผ้ ู้วา่ จา้ งพจิ ารณา เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการผลติ รวมทง้ั การใชว้ ตั ถดุ ิบ และ ประเมนิ ราคา 7. นำ� ภาพร่างทผ่ี ่านการพิจารณาและแกไ้ ขแลว้ มาสรา้ งแบบ (Pattern) วิธีที่จะต้องตัดเย็บในรายละเอียด ปัก กนุ๊ เดนิ ลาย หรอื จับเดรป แล้วนำ� มาลงสตี ามจริง เขียนภาพและอธิบายวธิ ีการท�ำใหล้ ะเอยี ด และชดั เจนทสี่ ุด เทา่ ทส่ี ามารถจะทำ� ได้เพ่อื ให้ช่างท�ำตามแบบได้ 8. สง่ แบบหรอื ชดุ ทตี่ ดั เนาไวใ้ หฝ้ า่ ยบรหิ ารและลกู คา้ หรอื ผวู้ า่ จา้ ง พจิ ารณาทดลองใสเ่ พอ่ื แกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งขนั้ สดุ ทา้ ย 9. นำ� แบบทผ่ี ู้ว่าจ้างเห็นชอบทำ� งานประสานกบั ช่างตดั เย็บ ช่างปกั เพ่อื ให้ได้ผลงานตามที่ลกู ค้าต้องการ

กรมการ ัจดหางาน ท20่ีต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจำ�ปี 2558/2015 สภาพการจ้างงาน ส�ำหรับนักออกแบบเส้ือผ้า หรือแฟชั่นดีไซเนอร์ที่มีความสามารถและผลงานในระยะเวลาท่ีเป็นนักศึกษา เม่ือเริ่มท�ำงานกับบริษัทผลิตและ ออกแบบเสื้อผ้า อาจได้อัตราค่าจ้างเป็นเงินเดือน ข้ึนอยู่กับฝีมือการออกแบบ และประสบการณข์ องนกั ออกแบบแตล่ ะคน สำ� หรบั วฒุ กิ ารศกึ ษา ปวส. ประมาณ 9,000 - 12,000 บาท และปรญิ ญา ตรปี ระมาณ 12,000 - 16,000 บาท สวสั ดกิ ารต่าง ๆ ค่ารักษาพยาบาล และโบนัสเป็นไปตามเงอื่ นไขขอ้ ตกลงกับ ผวู้ า่ จา้ ง ทำ� งานวนั ละ 8 - 9 ชวั่ โมง อาจทำ� งานลว่ งเวลา วนั เสาร์ วนั อาทติ ย์ และวนั หยดุ ตามความจำ� เปน็ มสี วสั ดกิ าร โบนัส และสิทธพิ ิเศษอน่ื ๆ ขึน้ อยกู่ ับผลประกอบการของเจ้าของกจิ การ สว่ นมากผปู้ ระกอบนกั ออกแบบแฟชนั่ -นกั ออกแบบเสอ้ื ผา้ จะมรี า้ นหรอื ใชบ้ า้ นเปน็ รา้ นรบั ออกแบบตดั เสอ้ื ผา้ เป็นของตนเองเป็นส่วนใหญ่ เนือ่ งจากเปน็ อาชีพอิสระท่ีมรี ายไดด้ ี ส�ำหรับนักออกแบบประจ�ำห้องเสื้อหรือร้านเส้ือใหญ่ๆ หรือโรงเรียนสอนตัดเสื้อท่ีมีผลงานแสดงเป็น ประจ�ำน้ัน เปน็ ผทู้ ี่มีประสบการณส์ ูงและตอ้ งมีผู้สนบั สนุนค่าใชจ้ า่ ยในการแสดงผลงานและคอลเลคชน่ั สภาพการทำ� งาน ปฏิบัติงานท้ังในสถานท่ีและนอกสถานที่ เช่น โรงงานอุตสาหกรรมเส้ือผ้า ร้านตัดเสื้อ และท่ีพักอาศัย ในการออกแบบจะมีท่ีท�ำงานที่ค่อนข้างเป็นสัดส่วน เป็นงานเบา ใช้ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ น�ำเสนอผลงาน และ การท�ำงานท�ำได้ไม่จ�ำกัดเวลา ต้องอาศัยฝีมือการวาด การดัดแปลง ซึ่งใช้เครื่องมืออุปกรณ์ เช่น โต๊ะเขียนแบบ หุ่นลองเสอื้ ขนาดต่างๆ ตามทต่ี ดั เย็บ ผ้า กระดาษสรา้ งรปู แบบ และสีสำ� หรับลงสี เพ่อื ใหภ้ าพออกแบบเหมอื นจรงิ อาจมเี ครอื่ งคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยในการออกแบบและใหส้ ไี ดเ้ ชน่ กนั หรอื สแกนภาพทว่ี าดลงในคอมพวิ เตอร์ เพอื่ ชว่ ยใหก้ าร น�ำเสนอต่อลกู ค้าสมบรู ณ์ยงิ่ ขึ้น ในกรณผี ลติ เสอ้ื ผา้ ส�ำเร็จรูปอาจมผี ู้ช่วยทำ� งานในการสร้างแบบ (Pattern) 598 โอกาสในการมีงานท�ำ ผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาแล้วสามารถน�ำความรู้ซึ่งเป็นที่ต้องการของตลาดในยุคปัจจุบัน คือสามารถออกแบบ สิ่งทอส�ำหรับอุตสาหกรรมระดับต่าง ๆ ได้ มีความรู้ในเร่ืองการบริหารการตลาดและการใช้เทคโนโลยีท่ีจ�ำเป็นต่อ อตุ สาหกรรมสิ่งทอและเสือ้ ผ้าสำ� เรจ็ รปู ในวงการแฟชนั่ ในประเทศไทยยงั ไมส่ ามารถเปน็ ศนู ยก์ ลางของการออกแบบแฟชนั่ ได้ แตก่ ลบั เปน็ ศนู ยก์ ลาง ของวัตถดุ บิ อยา่ งเช่น ผ้าไหม และการผลติ เสือ้ ผ้าเพือ่ การส่งออกภายใต้ยห่ี อ้ สินคา้ ต่างประเทศและเส้ือผ้าส�ำเร็จรปู เพราะมคี า่ แรงราคาถกู อย่างไรก็ตาม ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ในวงการออกแบบเสื้อผ้าไทยถือว่ามีความส�ำเร็จในระดับหน่ึงท่ี การผลติ เสื้อผา้ ส�ำเรจ็ รปู ภายใตย้ ่หี ้อไทย ไดม้ ีการสง่ ออกไปขายในตา่ งประเทศบ้างแล้ว เช่น Fly Now หรือในเร่อื ง ของการสนับสนุนการออกแบบลายผ้าไหมที่มีลายเป็นเอกลักษณ์ และการให้สีตามที่ลูกค้าในต่างประเทศต้องการ และสามารถสง่ ออกได้ นักออกแบบแฟชั่นในต่างประเทศหลายสถาบันต่างกใ็ ห้ความสนใจแนวการแต่งกาย วัฒนธรรม และการใช้ ชวี ิตอันเปน็ เอกลักษณข์ องชาวเอเชยี มากขึน้ ดังน้นั นักออกแบบแฟช่ันไทยควรหันมาสนใจวัตถุดบิ ในประเทศ และ คิดสรา้ งสรรค์งานทเี่ ป็นเอกลักษณ์และโดดเดน่ เพราะแรงงานและวตั ถุดบิ ในประเทศยงั มรี าคาถูก ตลาดสงิ่ ทอไทย ในต่างประเทศ เชน่ เส้ือผ้าถักสำ� เรจ็ รูป เส้อื ผ้าทอสำ� เรจ็ รปู ยังมีศักยภาพในการส่งออกสูง

ทีต่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 นอกจากน้ี รัฐบาลและแนวโน้มของคน กรมการ ัจดหางาน ไทยก�ำลังอยู่ในระหว่างนิยมเลือกใช้สินค้าไทย Department of Employment โดยเฉพาะเสื้อผ้าส�ำเร็จรูปและผลิตภัณฑ์เคร่ือง นุ่งห่มที่ได้มาตรฐานการส่งออก นับเป็นโอกาส อันดีท่ีนักออกแบบแฟชั่นสามารถสร้างสรรค์งาน ได้เต็มที่ หรือมีแนวคิดรูปแบบการสร้างสรรค์งาน ใหม่ หรอื แนวโนม้ ใหมท่ มี่ เี อกลกั ษณโ์ ดดเดน่ ในการ ใชว้ สั ดใุ นทอ้ งถนิ่ มาประยกุ ตใ์ ช้ ขยายแหลง่ วตั ถดุ บิ เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตพยายามให้ต้นทุนการ ผลิตต่อหน่วย ต�่ำมากท่ีสุด เพ่ือคงต้นทุนการผลิต เสอ้ื ผา้ สำ� เรจ็ รปู ของไทยไวเ้ ผชญิ กบั การเปดิ เสรสี งิ่ ทอในปี 2548 เพราะเวลานนั้ ผนู้ ำ� ดา้ นการตลาดแฟชนั่ และเทคโนโลยี การผลิตเท่าน้ันท่ีสามารถจะครองตลาดสิ่งทอได้ในต่างประเทศ หรือแม้แต่ตลาดเสื้อผ้าบริเวณชายแดนไทยที่ คแู่ ขง่ ขนั สามารถนำ� เสอื้ ผา้ เขา้ มาตตี ลาดไทยได้ นกั ออกแบบแฟชน่ั จงึ เปน็ สว่ นสำ� คญั ทจ่ี ะตอ้ งรกั ษาฐานตลาดของไทยไว้ ทงั้ ในเชงิ รกุ ในการผลติ สรา้ งเครอื ขา่ ย ทง้ั ระบบขอ้ มลู ขา่ วสาร และเครอื ขา่ ยจำ� หนา่ ยสนิ คา้ คณุ สมบัตขิ องผู้ประกอบอาชีพ สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) สาขาเทคโนโลยกี ารออกแบบเครอื่ งแตง่ กาย หรอื ส�ำเร็จการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาออกแบบเครอ่ื งแต่งกาย ผสู้ นใจในนักออกแบบแฟช่ัน-นกั ออกแบบเสือ้ ผ้า ควรมีคุณสมบัตทิ วั่ ๆ ไปดังนี้ 1. มีความคิดสร้างสรรค์ มีความชอบและรักงานด้านออกแบบ มีมุมมองเร่ืองของศิลป์ ความรักสวยงาม อาจมพี ืน้ ฐานทางด้านศิลป์บ้าง 599 2. มคี วามกระตือรอื ร้น ช่างสังเกตวา่ มีความเปล่ยี นแปลงอะไรบา้ ง กล้าคดิ กลา้ ท�ำ กล้าที่จะถ่ายทอด 3. มคี วามสามารถในการถ่ายทอดความคิด หรอื แนวคิดให้ผอู้ ่นื ฟงั ได้ สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศึกษา วิทยาลัยเทคนิค และวิทยาลัยการอาชีพ สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการ อาชวี ศกึ ษา อาทิ - วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเชยี งใหม่ เว็บไซต์ www.cmvc.ac.th/cmvc/main.asp โทรศัพท์ 0-5322-1493, 0-5341-6203 - วิทยาลัยอาชวี ศึกษาพิษณุโลก เว็บไซต์ www.plvc.ac.th โทรศพั ท์ 0-5525-8570 - วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเลย เวบ็ ไซต์ www.lvc.ac.th โทรศัพท์ 0-4281-1284 - วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาแพร่ เว็บไซต์ www.pvc.ac.th โทรศพั ท์ 0-5451-1286 - คณะคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาผ้าและเคร่ืองแต่งกาย หรือออกแบบสิ่งทอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล เว็บไซต์ www.rmut.ac.th โทรศพั ท์ 0-2549-4990-2 - โรงเรียนหรือสถาบันการออกแบบตัดเย็บเสื้อผ้าที่มีช่ือเสียงทั่วไป อาทิ สถาบันสอนตัดเย็บเส้ือผ้า เช่น โรงเรยี นตัดเส้ืออมั รนิ ทร์ www.amarinschool.com

2ท0่ีต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน - คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการออกแบบพัสตราภรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ www.tu.ac.th Department of Employment โทรศัพท์ 02-221-6111-20 ผู้ทจ่ี ะประกอบนักออกแบบแฟชนั่ -นกั ออกแบบเสอื้ ผา้ ควรเตรยี มความพร้อมดงั ต่อไปนค้ี อื : - ผทู้ ม่ี คี ณุ สมบตั ขิ น้ั ตน้ ดงั กลา่ ว สามารถเขา้ รบั การอบรมหลกั สตู รระยะสน้ั ในการออกแบบตดั เยบ็ เสอ้ื ผา้ ไดท้ ่ี โรงเรยี นหรอื สถาบนั การออกแบบตดั เยบ็ เสอ้ื ผา้ ทมี่ ชี อื่ เสยี งทว่ั ไป ซง่ึ เปดิ รบั ผสู้ นใจเขา้ เรยี นโดยไมจ่ ำ� กดั วฒุ กิ ารศกึ ษา เพราะการออกแบบเสอ้ื ผ้าขึน้ อยู่กบั ความริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ ประสบการณ์ และการฝึกหดั ส�ำหรับผู้ส�ำเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่ต้องการศึกษาต่อในหลักสูตรปริญญาตรี นอกจากโรงเรียนหรือ วิทยาลัยสายวิชาชีพแลว้ ยงั สามารถสอบคัดเลอื กเขา้ ศึกษาต่อระดบั อุดมศกึ ษา โดยมีคณะศลิ ปกรรม มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ได้เปดิ สาขาวชิ าการ ออกแบบพสั ตราภรณ์ - ผู้ท่ีเข้ารับการศึกษาในสาขาวิชาทางด้านน้ีจะได้รับความรู้ในเร่ืองของความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนา สง่ิ ทอ และเคร่อื งแตง่ กายของไทย ตะวันออก และตะวนั ตก เพื่อสืบทอดมรดกและศิลปะสิ่งทอของไทยในท้องถนิ่ ต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังมีสถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคลวิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ คณะคหกรรมศาสตร์ สาขาผ้าและ เครื่องแตง่ กาย ธรุ กิจเสอ้ื ผ้า ฯลฯ โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี ปัจจัยที่ท�ำให้ผู้ท่ีประกอบนักออกแบบแฟช่ัน- นกั ออกแบบเสอ้ื ผา้ ประสบความสำ� เรจ็ และกา้ วหนา้ ในอาชพี ก็คือ การคงไว้ซ่ึงการเป็นนักออกแบบเส้ือผ้าหรือแฟช่ัน ดไี ซเนอรไ์ ว้ ซึ่งตอ้ งใชโ้ อกาส เวลา และค่าใช้จ่ายในการผลิต 600 และการแสดงผลงานที่มีต้นทุนต�่ำ ให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธภิ าพและเตม็ ศกั ยภาพ นักออกแบบแฟช่ันไม่ควรย�่ำอยู่กับท่ี ควรมีความคิด เชิงรุกมากกว่ารับเพียงค�ำสั่งจากลูกค้า ควรศึกษาหา ความร้ทู ่ีเก่ียวข้องกบั การประกอบอาชีพและควรสรา้ งโอกาส ให้ตนเอง เช่น การศึกษาภาษาต่างประเทศเพ่ิมเติม ศึกษาด้านการตลาด ความต้องการของลูกค้า กลุ่มเป้าหมาย ลกู คา้ ใหม่ เสาะหาแหลง่ ตลาดวตั ถดุ บิ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ทค่ี รบวงจร สรา้ งแนวโนม้ แฟชน่ั ศกึ ษารปู แบบของ สนิ คา้ จากตา่ งประเทศ และขอ้ กดี กนั ทางการคา้ ซง่ึ เปน็ ปจั จยั ในความกา้ วหนา้ ทนั โลกและยนื อยใู่ นอาชพี ไดน้ าน และ อาจสรา้ งผลงานทค่ี นไทยภูมิใจหนั มาใส่เสอื้ ผ้าท่ผี ลติ โดยนกั ออกแบบเสื้อผา้ ไทยกันท่ัวประเทศ อาชีพทีเ่ กี่ยวเนื่อง ครู / อาจารย์ เจา้ ของร้านหรอื หอ้ งเสื้อ เจา้ ของโรงเรยี นสอนออกแบบตัดเยบ็ เส้อื ผา้ นกั ออกแบบ เคร่ือง ประดับ แหลง่ ข้อมูลอน่ื ๆ - สถาบันทผี่ ู้สนใจหรือนกั ศกึ ษาเขา้ รบั การอบรมและฝึกงาน ศูนย์สง่ เสริมการส่งออกในภมู ภิ าคสว่ นบรกิ าร ขอ้ มลู ศนู ยส์ ารสนเทศการคา้ ระหว่างประเทศ ศนู ยพ์ ัฒนาผลติ ภณั ฑ์ (Product Development Center) หอ้ งสมุด กรมสง่ เสรมิ การส่งออก โทรศัพท์ 0-2511-5066-77

ทต่ี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาีพรกรมการ ัจดหางาน ประจำ�ปี 2558/2015 Department of Employment - สถาบนั พฒั นาอุตสาหกรรมสิ่งทอ เว็บไซต์ www.thaitextile.org โทรศพั ท์ 0-2280-4085 - ศนู ย์พัฒนาผลติ ภัณฑ์ กรมส่งเสริมการส่งออก เวบ็ ไซต์ www.depthai.go.th โทรศัพท์ 0-2512-0093- 104, 0-2513-1901-15 - สมาคมอตุ สาหกรรมเครื่องนุ่งหม่ ไทย เวบ็ ไซต์ www.thaigarment.org โทรศพั ท์ 0-2681-2222 - ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ เว็บไซต์ www.tcds.or.th โทรศพั ท์ 0-2664-8488 - บริษัท ยัสปาล จ�ำกัด เวบ็ ไซต์ www.jaspalhome.com โทรศัพท์ 0-2312-6800 - สมาคมผู้ผลติ และออกแบบแฟช่ันเคร่ืองแต่งกาย เวบ็ ไซต์ www.fdta.org โทรศพั ท์ 0-2248-3280-3 601

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจำ�ปี 2558/2015 นักอาชญาวิทยา Criminologist นยิ ามอาชพี ผทู้ ำ� หนา้ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การกระทำ� ผดิ ทางอาญาของคนใน สังคม การก่ออาชญากรรม และสว่ นท่ีเปน็ กระบวนการทสี่ งั คมใช้ ในการบงั คบั ควบคมุ อาชญากร กลา่ วคอื เปน็ อาชพี ทหี่ าสาเหตขุ อง การกระท�ำความผิดว่ามาจากเหตุใด กระบวนการกระท�ำผิดเป็น อย่างไร และดูแลเพ่ือหาทางป้องกันแก้ไข มิให้เกิดการกระท�ำ ผิดซ้�ำขึ้นในสังคม หรือปรับปรุงแก้ไขผู้ที่กระท�ำผิดให้กลับเข้ามา เปน็ คนดไี ปสสู่ งั คมตอ่ ไป นกั ปฏบิ ตั ใิ นกระบวนการยตุ ธิ รรม จำ� เปน็ ต้องสวมบทบาทของนักอาชญาวิทยาด้วยเพ่ือแก้ไขปัญหาสังคม เช่น ต�ำรวจ นกั กฎหมาย ศาลเยาวชน และครอบครวั พนักงานคุม ประพฤติ อัยการ และนักสังคมสงเคราะห์ เป็นตน้ ลกั ษณะของงานที่ทำ� ผู้ปฏิบัติงานนักอาชญาวิทยาท�ำงานเกี่ยวเนื่องกับงานในลักษณะท่ีเป็นสหวิทยาการ คือการผสมผสานทาง 602 ดา้ นสงั คมวทิ ยา จติ วทิ ยา กฎหมาย และทณั ฑวทิ ยา ซง่ึ นกั อาชญาวทิ ยาจะตอ้ งทำ� งานทางวชิ าการ วจิ ยั การสอนการ ปฏิบัติ และท�ำหน้าท่ีเป็นผู้วิเคราะห์หากฎเกณฑ์ว่ามีสาเหตุอะไรบ้าง ซ่ึงเป็นส่ิงผลักดันให้ผู้นั้นกระท�ำผิดกฎหมาย อาญา ศึกษาค้นคว้าถึงสาเหตุปัญหาอาชญากรรม ลักษณะประเภทของอาชญากรรม วิธีบ�ำบัดแก้ไขและป้องกัน อาชญากรรม และท�ำหนา้ ทคี่ วบคุมและแกไ้ ขผู้กระทำ� ผดิ รวมทัง้ กระบวนการยุติธรรมที่ใช้กับอาชญากรรม เพอื่ ให้ ทุกคนในสังคมอยู่ร่วมกันโดยปกติสุข ดังนั้น ในทางปฏิบัติการใช้บทก�ำหนดโทษตามกฎหมายอาญาอันน�ำผู้กระท�ำ ผิดไปสู่การด�ำเนินการควบคุม และป้องกันอาชญากรรมจึงเป็นหน้าท่ีอันส�ำคัญของนักอาชญาวิทยา และเป็นงานที่ ตำ� รวจ นกั กฎหมาย นกั สงั คมวทิ ยา จติ แพทย์ นกั จติ วทิ ยา ผพู้ พิ ากษาศาลคดเี ดก็ ฯ พนกั งานคมุ ประพฤติ นกั ทณั ฑวทิ ยา นักสงั คมสงเคราะห์ นกั สังคมวิทยา จิตแพทย์ ตำ� รวจ แพทย์ และนกั วทิ ยาศาสตร์ จ�ำเปน็ จะตอ้ งใชใ้ นกระบวนการ ยตุ ิธรรม สภาพการจ้างงาน ผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาจากโรงเรยี นนายรอ้ ยตำ� รวจ ซง่ึ ศกึ ษาวชิ าอาชญาวทิ ยาเปน็ ภาคบงั คบั ในสว่ นของขา้ ราชการ พลเรือนจะต้องส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทของภาควิชาสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ สาขาอาชญาวิทยา หรือวิชาเอกการบริหารงานยุติธรรม ส่วนมากจะประกอบอาชีพรับราชการ ในส�ำนกั งานต�ำรวจแหง่ ชาติ กรมราชทัณฑ์ ในตำ� แหน่ง นักทัณฑวิทยา 3 ทมี่ คี ณุ สมบัตเิ ฉพาะต�ำแหนง่ คอื ส�ำเรจ็ ปริญญาโท หรือเทียบได้ไม่ต่�ำกว่านี้ทางจิตวิทยาสังคม สังคมวิทยา อาชญาวิทยา หรือทัณฑวิทยา องค์กรพัฒนา เอกชน คร/ู อาจารย์ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านนท้ี ส่ี ำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท จะไดร้ บั เงนิ เดอื นขน้ั ตน้ ตามวฒุ กิ ารศกึ ษา สว่ น ในองค์พฒั นาเอกชนอาจใหเ้ งินเดอื นตามวุฒกิ ารศึกษา และประสบการณ์

ที่ตลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาีพรกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment สภาพการทำ� งาน ผู้ประกอบนักอาชญาวิทยาในกระบวนการยุติธรรม คือ ต�ำรวจ อัยการ ศาล และกรมราชทัณฑ์ ใชค้ วามรดู้ ้านนี้ในการปฏบิ ตั ิหน้าทคี่ ือ 1. ต�ำรวจ ใช้ในการวิเคราะห์หาต้นเหตุของการก่ออาชญากรรม สืบสวน สอบสวนวิธีการกระท�ำผิดของ คนร้าย อนั นำ� ไปส่กู ารสบื สวนจบั กุมผู้กระทำ� ผิดมาลงโทษ ซง่ึ เปน็ อาชีพท่คี อ่ นขา้ งเส่ียงในการปฏบิ ตั งิ าน 2. ส�ำหรับอัยการและศาล จะใช้ความรดู้ า้ นน้ใี นการวนิ จิ ฉยั ถงึ เจตนาและสาเหตแุ ห่งการกระท�ำผิดวา่ เกดิ จากความต้งั ใจ จงใจกระท�ำผิด หรือการประมาท เลนิ เลอ่ ถกู บงั คบั ข่มขนื ใจให้กระท�ำผิด หรอื เหตุอนื่ ๆ อันนำ� ไปสู่ การพิพากษาลงโทษหนกั เบาตามเจตนาการท�ำผิดที่แท้จรงิ 3. กรมราชทัณฑ์ จะใช้ความรู้ในด้านน้ีในการประมวลและวิเคราะห์สถิติต่างๆ ของผู้ก่ออาชญากรรม ทวั่ ประเทศ ตลอดจนวิจัยปญั หาต่างๆ เช่น ปญั หาของเรอื นจ�ำ และพฤติกรรมผตู้ ้องขงั สาเหตขุ องการติดยาเสพตดิ การหลบหนจี ากเรอื นจ�ำ ฯลฯ อาจต้องคลกุ คลีกับงานอาชญากรรมในทีค่ มุ ขงั ซึง่ เปน็ อาชพี ท่ีคอ่ นข้างมีความเสย่ี ง 4. นักอาชญาวิทยาสามารถประกอบอาชีพในการเป็นนักวิชาการ อาจารย์มหาวิทยาลัย และในองค์กร พฒั นาเอกชน โอกาสในการมงี านทำ� เน่ืองจากวชิ าอาชญาวิทยาไมไ่ ดเ้ ปดิ สอนในระดบั การศึกษาปรญิ ญาตรี มสี อนเฉพาะในระดบั ปริญญาโท จึง ท�ำใหน้ ักอาชญาวทิ ยาไมแ่ พรห่ ลายในประเทศไทยมากนกั แตส่ ามารถน�ำไปประกอบอาชพี ทเ่ี กย่ี วเนอ่ื งโดยสว่ นใหญ่ จะประกอบอาชพี รบั ราชการในดา้ นอนื่ เชน่ ตำ� รวจ นกั ทณั ฑวทิ ยา อยั การ ศาลเยาวชนและครอบครวั ผคู้ มุ ประพฤติ ในสถานพนิ ิจ นกั จติ วิทยา นักสงั คมสงเคราะห์ นกั วิชาการ อาจารยส์ อนวิชาอาชญาวทิ ยา เป็นตน้ ผู้ประกอบอาชีพน้ีมีแนวโนม้ จะเป็นทต่ี ้องการของหนว่ ยงานในภาครฐั และองคก์ ารพัฒนาเอกชนมากข้ึน 603 คณุ สมบตั ิของผปู้ ระกอบอาชพี ผ้สู นใจประกอบอาชีพนกั อาชญาวิทยาควรมีคณุ สมบตั ดิ ังนี้ 1. ส�ำเร็จการศกึ ษาปรญิ ญาโทในคณะท่ี เปดิ สอนสาขาวชิ าดงั กลา่ ว 2. มีความรู้ท่ัวไปเก่ียวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในประเทศไทย 3. มีความสามารถในการศึกษาหาข้อมูล วิเคราะหป์ ญั หา และสรุปเหตผุ ล 4. มีความรคู้ วามสามารถในการใชภ้ าษา และถา่ ยทอดอย่างเหมาะสม 5. มีความสนใจในพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา ผู้ท่ีจะประกอบนักอาชญาวิทยา ควรเตรียมความพร้อมดังนี้คือ : เนื่องจากในระดับปริญญาตรียังไม่มี การเปิดสอน ดังนั้นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือผู้ที่ก�ำลังท�ำงานเก่ียวข้องกับงานกระบวนการยุติธรรม ต้องการน�ำความรู้ด้านอาชญาวิทยาซ่ึงนักสังคมวิทยามองว่าเป็นวิชาสาขาหนึ่งของสังคมวิทยาไปปฏิบัติงาน ท่ีเกี่ยวข้องในหน้าที่ให้สมบูรณ์ย่ิงขึ้น สามารถเข้ารับการศึกษาต่อได้ในการศึกษาระดับปริญญาโทของ ภาควิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สาขาอาชญาวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล คณะรัฐศาสตร์ สาขาวิชา สังคมวิทยา (อาชญาวทิ ยา) จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ หลักสตู รปริญญาโท สาขาการ

2ท0่ีต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน บริหารงานยุติธรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Department of Employment บัณฑิตวิทยาลัยสาขารัฐศาสตร์ หมวดบริหารงาน ยุติธรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สาขาวิชาเอกบริหารงาน ยตุ ิธรรม สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ ผู้ประกอบอาชีพเป็นนักอาชญาวิทยา ส่วนมากจะอยู่ในสายงานของกระบวนการยุติธรรม จึงมีโอกาส ในการเลื่อนต�ำแหน่งในหน้าท่ีการงาน และถ้ารับราชการเป็นข้าราชการต�ำรวจก็จะได้รับการเลื่อนยศตามระเบียบของทางราชการ และมีโอกาส ก้าวหนา้ ไปตามสายงานในอาชีพตามลำ� ดบั อาชพี ทเ่ี กย่ี วเนือ่ ง อาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญวิชาอาชญาวิทยา นักวิจัย นักวิชาการเขียนต�ำรา นักหนังสือพิมพ์ ผู้วิเคราะห์ข่าว อาชญากรรม นักเขยี น แหล่งขอ้ มลู อ่นื ๆ - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Master of Arts in Criminal Justice Administration (MCJA) เว็บไซต์ welcome.to/mcja 604 - บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เวบ็ ไซต์ www.grad.ku.ac.th - สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ (นดิ า้ ) เว็บไซต์ www.nida.ac.th - กรมราชทณั ฑ์ - กองส่งเสริมการมงี านท�ำ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน - ชดุ หนงั สืออาชญาวิทยา ของมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช

ทตี่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูลอ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจำ�ปี 2558/2015 Department of Employment บรรณารกั ษ์ Librarian นยิ ามอาชพี กำ� หนดนโยบายและแนวทางการดำ� เนนิ งานของหอ้ งสมดุ และหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออื่นที่ให้บริการทรัพยากรสนเทศใน กลุ่มวิชาเฉพาะสาขาใดสาขาหนึ่ง จัดระบบงานและเก็บรักษา หนงั สอื วารสาร สง่ิ พมิ พแ์ ละสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ สต์ า่ ง ๆ ไวใ้ นหอ้ งสมดุ อยา่ งมรี ะบบและเปน็ ระเบยี บ; ประสานงานความรว่ มมอื ระหวา่ ง หนว่ ยงานบริการทางด้านสารสนเทศตา่ ง ๆ ในหอ้ งสมุด กำ� หนด แนวทางคดั เลอื กและจดั หาทรพั ยากรสารสนเทศ ควบคมุ ดแู ลการ จัดหมวดหมู่และท�ำรายการสารสนเทศ จัดท�ำเคร่ืองมือช่วยค้น เช่น บรรณานุกรม ดัชนี สาระสังเขป คู่มือช่วยค้น เป็นต้น บริการตอบค�ำถามและช่วยค้นคว้า บริการเผยแพร่ข่าวสารทันสมัยและบริการเลือกสรรสารสนเทศเฉพาะเรื่อง หรอื บรกิ ารอื่น ๆ ลกั ษณะของงานท่ีทำ� 605 เกณฑ์ก�ำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ รวมท้ังสมรรถนะด้านวิชาชีพ และสมรรถนะเฉพาะบุคคล ของ บรรณารกั ษห์ ้องสมุดเฉพาะ สรปุ จากผูท้ ไี่ ด้รวบรวมไว้ดังนี้ 1. หนา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบ - งานเทคนคิ - บริการสบื ค้นสารสนเทศ - บรกิ ารสารสนเทศ - บริการรวบรวมบรรณานกุ รมเฉพาะเรื่อง - งานวเิ คราะหแ์ ละจดั ท�ำสารสนเทศ - งานทเี่ กีย่ วกบั การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 2. สมรรถนะของบรรณารักษ์ห้องสมุดเฉพาะ มี 2 เร่ือง คือ สมรรถนะด้านวิชาชีพ และสมรรถนะ เฉพาะบุคคล สมรรถนะด้านวิชาชพี (Professional competency) - มคี วามเชีย่ วชาญเก่ียวกบั เนอื้ หาของทรัพยากรสารสนเทศ - มคี วามรู้เก่ียวกับสาขาวชิ าเฉพาะด้านท่ีสอดคล้องกบั องคก์ ร - มีความสามารถในการพฒั นา และการจัดการบริการสารสนเทศอย่างมีประสิทธภิ าพ - มีความสามารถในการสอนผใู้ ชใ้ หเ้ ขา้ ถึงสารสนเทศได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ - มีความสามารถในการประเมินความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ต่ี 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 - มีความสามารถในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการจัดหา จัดการ และเผยแพร่ สารสนเทศ - มีความสามารถในการจัดการ และด�ำเนินงานห้องสมุดที่เหมาะสมโดยสอดคล้องกับการบริหารงาน ขององค์กร - มีความสามารถในการพฒั นาเครอื่ งมอื ช่วยค้น และเขา้ ถงึ สารสนเทศเฉพาะสาขาวชิ า - มคี วามสามารถในการประเมินผลลพั ธข์ องการใชส้ ารสนเทศ สมรรถนะเฉพาะบคุ คล (Personal competency) - ค�ำนงึ ถึงการไดร้ ับมอบหมายหนา้ ท่ใี นการให้บริการท่ดี ที ่สี ดุ - มสี ัมพันธภาพท่ดี ีกบั บคุ คล และองคก์ รทีเ่ กยี่ วขอ้ ง - สร้างสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงานท่ีมคี วามสัมพันธท์ ดี่ ีระหว่างกนั และมคี วามไว้วางใจซง่ึ กันและกัน - มีทักษะการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพ - การท�ำงานเปน็ ทีม - มีความเป็นผนู้ ำ� - ใหค้ วามสำ� คญั กบั การวางแผนการท�ำงาน - ตระหนักวา่ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ เป็นสง่ิ ส�ำคัญ และให้ความส�ำคัญต่อเครอื ขา่ ยวชิ าชีพและการพึง่ พา อาศัยกัน - มีทักษะในการท�ำงาน และสรา้ งโอกาสในการท�ำงาน สภาพการจ้างงาน อาชีพบรรณารักษ์ เป็นอาชีพที่มีความต้องการจ้างทั้งจากภาครัฐและเอกชน ดังนั้น อัตราการจ้างงาน 606 ของภาครัฐจะมีการให้เงินเดือนตามวุฒิการศึกษา และภาคเอกชนจะว่ากันไปตามสัญญา แต่ทั้งนี้ การจ้างงาน กข็ นึ้ อยกู่ บั วฒุ กิ ารศึกษาและประสบการณ์ เหมือนบรรณารกั ษ์ในห้องสมดุ ของรัฐ สภาพการทำ� งาน โดยสว่ นใหญแ่ ล้ว บรรณารักษม์ กั จะท�ำงานในห้องสมุดสาธารณะ ห้องสมดุ โรงเรยี น ห้องสมดุ มหาวิทยาลยั หรอื แมก้ ระทง่ั หอ้ งสมดุ ในบรษิ ทั ตา่ งๆ รวมไปถงึ โรงพยาบาล บรรณารกั ษม์ หี นา้ ทชี่ ว่ ยใหผ้ ทู้ ม่ี าใชบ้ รกิ ารทราบขอ้ เทจ็ จริง จัดหาสารสนเทศและค้นทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่าง ๆ ท้ังหนังสือ วารสาร เว็บไซต์ และสารสนเทศ อน่ื ๆ พิจารณาหนังสอื นติ ยสาร ภาพยนตร์ และอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ โดยการจดั ซ้ือ จัดการหนงั สอื และทรพั ยากร อื่น ๆ ท่ีผูใ้ ชต้ อ้ งการ โอกาสในการมีงานทำ� โอกาสการมงี านทำ� ของอาชพี นค้ี อ่ นขา้ งจะมสี งู เนอ่ื งจากบรรณารกั ษ์ ไมจ่ ำ� เปน็ จะตอ้ งทำ� งานอยเู่ พยี งแคก่ บั ห้องสมุดในสถานศึกษาเท่าน้ัน แต่ตามหน่วยงานหรือองค์กรหลาย ๆ แห่งมีความต้องการจ้างบรรณารักษ์ เพ่ือการเกบ็ ขอ้ มลู เช่นเดยี วกัน คุณสมบตั ิของผู้ประกอบอาชพี 1. มีความรู้เกี่ยวกบั หนงั สอื อ้างองิ เป็นอยา่ งดี มีความเข้าใจและคุ้นเคยกับแหล่งความรทู้ ี่มีอยใู่ นหอ้ งสมุด 2. มีมนษุ ยสมั พันธ์อนั ดี 3. มีความสนใจในวชิ าการตา่ งๆ หมน่ั ศึกษาหาความรเู้ พ่ิมเติมอยเู่ สมอ

ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 4. มีความอดทน พากเพียร กรมการ ัจดหางาน 5. มีไหวพรบิ ดีในการรวบรวม วเิ คราะหป์ ัญหาว่าอยูใ่ นแนวใด ควรหาคำ� ตอบจากแหลง่ ใด Department of Employment 6. มีความจำ� ดี 7. มีจนิ ตนาการดี รู้จกั การยดื หยนุ่ ไมฝ่ ังความคิดไวใ้ นด้านเดยี ว 8. ช่างสังเกต รอบคอบ 9. ตัดสินใจดี ร้จู กั เลอื กแหล่งค�ำตอบทเ่ี หมาะสม 10. รจู้ กั วิธีการพดู คยุ ซักถามอยา่ งเปน็ กนั เองกับผู้ใช้ 11. กระตอื รอื ร้นทจ่ี ะชว่ ยเหลอื ผูใ้ ชอ้ ย่เู สมอ การให้บริการของบรรณารักษ์บริการตอบค�ำถามฯ นอกจากการให้บริการที่โต๊ะให้บริการตอบค�ำถามแล้ว ยงั สามารถให้บริการโดยทางโทรศพั ท์ โดยทางอีเมล หรือโดยผ่านการสนทนาทางออนไลน์ อย่างไรก็ตาม บทบาท ของบริการตอบค�ำถามในปัจจุบันก�ำลังเปลี่ยนไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ใช้ห้องสมุดสามารถใช้ Google และเข้าถึง แหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทางออนไลนไ์ ดม้ ากขนึ้ ดงั นนั้ บรรณารกั ษบ์ รกิ ารตอบคำ� ถามอาจไมต่ อ้ งตอบคำ� ถามหรอื เกบ็ ขอ้ มลู มากเหมอื นในอดีต แต่ควรเน้นท่กี ารให้ค�ำแนะนำ� ผู้ใชใ้ หร้ จู้ ักวิธคี น้ คว้าหาคำ� ตอบด้วยตนเองจากแหล่งความรตู้ ่าง ๆ หรือชว่ ยแนะน�ำแหลง่ ความร้ทู เี่ ปน็ ประโยชน์เพอื่ ใช้ในการคน้ ควา้ วจิ ยั ตอ่ ไป สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศกึ ษา จุดเด่นของสาขาบรรณารักษฯ์ กค็ อื สามารถน�ำไปประยกุ ตใ์ ช้กับการท�ำงานลกั ษณะตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งหลาก หลายนั่นเองอีกท้ังยังเป็นท่ีต้องการของตลาดงานมาก โดยเฉพาะต�ำแหน่งบรรณารักษ์ เน่ืองจากคนสนใจน้อย แตค่ วามต้องการ และการพฒั นาห้องสมุดมีมากนนั่ เอง สถาบันอุดมศึกษาทเ่ี ปิดสอนที่เปิดสอนสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารนเิ ทศศาสตร์ ไดแ้ ก่ - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรงุ เทพฯ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น จงั หวัดขอนแกน่ 607 - มหาวิทยาลัยเชยี งใหม ่ จงั หวัดเชยี งใหม่ - มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร ์ กรงุ เทพฯ - มหาวทิ ยาลยั บูรพา จงั หวดั ชลบรุ ี - มหาวทิ ยาลัยทักษณิ จังหวดั สงขลา - มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร ์ วทิ ยาเขตปตั ตานี - มหาวิทยาลัยหอการคา้ ไทย กรงุ เทพฯ - มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ กรุงเทพฯ - มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม - สถาบันราชภัฏ (ทุกแห่งท่วั ประเทศ) โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชีพ ความรู้เก่ียวกับงานห้องสมุดสามารถน�ำไปประกอบอาชีพได้หลายแนวทาง เช่น เป็นเจ้าหน้าท่ีในห้องสมุด ประเภทตา่ ง ๆ ประกอบอาชพี อสิ ระทเี่ กยี่ วกับวสั ดสุ ารนิเทศ เช่น เปิดร้านจ�ำหนา่ ยหนังสือ หนงั สอื พมิ พ์ วารสาร เปิดร้านหนังสือให้เช่า รับซ่อมหนังสือ เป็นต้น นอกจากนี้ นักเรียนท่ีมีนิสัยรักหนังสือและชอบจัดระบบสารนิเทศ อาจใช้เป็นแนวทางในการศึกษาต่อสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ เพ่ือประกอบอาชีพบรรณารักษ์ หรอื ท�ำงานฝ่ายสารสนเทศอนั เป็นวชิ าชพี ช้นั สูงต่อไป

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจำ�ปี 2558/2015 อาชพี ทเี่ กี่ยวเนือ่ ง มอี าชพี ภายในทอ้ งถนิ่ หลายประเภททส่ี ามารถนำ� ความรเู้ กยี่ วกบั งานหอ้ งสมดุ ไปใชใ้ นการประกอบอาชพี ได้ เปน็ อย่างดี ตัวอยา่ งเชน่ - งานในร้านจ�ำหน่ายหนังสือ และวัสดุสารนิเทศต่าง ๆ ท�ำหน้าที่จัดหนังสือ จัดและตกแต่งมุมหนังสือ จัดวารสาร จดั หนงั สือพิมพ์ ดแู ลความเรยี บรอ้ ย เป็นต้น - งานในส�ำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ ทำ� หน้าท่ี จดั เรียงหน้า เข้าเล่ม ตดั กระดาษ เป็นต้น - งานในรา้ นจ�ำหน่ายเคร่ืองเขยี น แบบเรียน ทำ� หนา้ ที่ จัดวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เป็นหมวดหมู่ จัดมุมวาง สนิ คา้ ให้เดน่ น่าสนใจ และหยิบขายไดส้ ะดวก เปน็ ตน้ - งานในร้านจ�ำหนา่ ยวัสดุ อุปกรณเ์ กีย่ วกบั หอ้ งสมดุ จัดวสั ดอุ ุปกรณ์ให้เป็นหมวดหมู่ ดูแลความเรียบรอ้ ย ผลิตวสั ดหุ ้องสมุด เปน็ ต้น - บรกิ ารถ่ายเอกสาร ทำ� หน้าท่ี เรียงหน้ากระดาษ เขา้ เล่มรายงาน เปน็ ต้น - งานจัดท�ำวารสาร หนังสอื พิมพ์ ทำ� หนา้ ที่ จัดเรยี งหน้า เขา้ เล่ม เปน็ ต้น - บรกิ ารซ่อมหนงั สือ ทำ� หนา้ ที่ รบั ซอ่ มหนงั สือของบุคคลและหน่วยงานต่าง ๆ เป็นต้น - บรกิ ารเขา้ เลม่ รายงาน ท�ำหนา้ ท่ี รับเข้าเลม่ รายงานของบคุ คลและหน่วยงานต่าง ๆ เปน็ ตน้ ด้วยเน้ือหาวิชาลักษณะนี้ ผู้ที่จบออกไปจึงสามารถน�ำเอาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับสารสนเทศท่ีไม่ใช่ หนังสอื ได้หลากหลาย ดังนั้นเราจึงพบวา่ ผู้ทีจ่ บบรรณารักษ์สามารถไปท�ำงานเป็น - นักจดั การขอ้ มลู ในศนู ย์ข้อมูลต่าง ๆ หรอื เรยี กวา่ ศูนย์สารสนเทศขององค์กรต่างๆ - นกั ข่าว - ฝ่ายขอ้ มูลบริษทั โฆษณา - เว็บมาสเตอร์ 608 - เจ้าหนา้ ทบ่ี ริการงานท่ัวไป - นักวชิ าการสารสนเทศ - อาจารย์ แหล่งขอ้ มูลอ่ืน ๆ - เครอื ข่ายหอ้ งสมุดและบรรณารกั ษไ์ ทย เว็บไซต์ https://th-th.facebook.com/THLibrary - Libraryhub เวบ็ ไซต์ www.libraryhub.in.th/ - ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ

ที่ตลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ผู้จัดการฝา่ ยทรัพยากรบุคคล Human Resources Manager นยิ ามอาชพี วางแผน ก�ำกับดูแล และประสานงานด้านนโยบายเก่ียวกับ งานบุคลากรขององค์กร : ก�ำหนดขั้นตอนและด�ำเนินการในเร่ืองการสรรหา การฝึกอบรม การเลอ่ื นข้ัน การโยกยา้ ย งานสวสั ดกิ ารโครงการเงนิ เดอื นและ คา่ ตอบแทน รวมท้ังกำ� หนดมาตรฐานตำ� แหน่งงาน ควบคุม ดแู ลผปู้ ฏบิ ัตงิ าน ลักษณะของงานทที่ ำ� ทรัพยากรบุคคล คือ ส่ิงที่ส�ำคัญท่ีสุดขององค์กร ผู้จัดการฝ่ายบุคคลซึ่งอยู่ในฐานะของผู้บริหารงานด้าน ทรพั ยากรบคุ คลตอ้ งเปน็ ผใู้ หค้ ำ� ปรกึ ษาทงั้ ดา้ นหนา้ ทกี่ ารงานและดา้ นธรุ กจิ กบั พนกั งานในองคก์ ร ชกั จงู ใจใหพ้ นกั งาน ร่วมเป็นหุ้นส่วน และร่วมมือกับองค์กรในการด�ำเนินงานให้บรรลุนโยบายและเป้าหมายขององค์กร ให้ความรู้แก่ พนกั งานเกย่ี วกบั งานขององคก์ ร หนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของพนกั งาน รวมทงั้ คา่ ตอบแทนการทำ� งานและผลประโยชน์ อนื่ ๆ ทจี่ ะไดร้ บั พฒั นาบคุ ลากรใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพในการทำ� งาน โดยใชก้ ระบวนการบรหิ ารงานบคุ คลซง่ึ มหี นา้ ทห่ี ลกั ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. สรรหาและจัดจ้างบุคลากรท่ีมีประสิทธิภาพมากเข้ามาท�ำงาน โดยวิธีประกาศโฆษณาต�ำแหน่งว่างรับ สมัคร และท�ำการสัมภาษณ์เพ่ือคัดเลือกผู้สมัครงานท่ีมีคุณสมบัติดีที่สุด เพื่อการจ้างงานโดยตรงหรือจัดส่งให้ 609 เจ้าหน้าที่ ผู้อื่นตอ่ ไป 2. พัฒนา ประเมินผล ปรับปรงุ คณุ ภาพของบคุ ลากรใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ และส่งเสริมใหพ้ นักงานมีความรู้ ในเรือ่ งนโยบายและเปา้ หมายขององค์กร ตลอดจนหน้าที่ความรับผิดชอบของพนกั งาน 3. ก�ำหนดค่าตอบแทนในการท�ำงานโดยตรงและจัดสรรผลประโยชน์โดยอ้อมให้กับบุคลากรอย่างได้ มาตรฐาน เชน่ การให้สิทธ์ิในการถอื หุ้น 4. สรา้ งแรงจงู ใจใหพ้ นกั งานมจี ติ สำ� นกึ ของการเปน็ หนุ้ สว่ นกบั องคก์ ร เพอ่ื ใหพ้ นกั งานอทุ ศิ เวลาและความ สามารถในการทำ� งานให้กับองคก์ รอยา่ งเต็มท่ี 5. สงวนรักษาบุคลากรทุกคนท่ีมีความสามารถให้อยู่กับองค์กรตลอดไป โดยการส่งเสริมเล่ือนต�ำแหน่ง เลอ่ื นขน้ั ดูแลความปลอดภัย และสขุ ภาพอนามัยของพนกั งาน 6. สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างกับพนักงาน หรือลูกจ้าง และเม่ือมีปัญหาข้อขัดแย้งหรือข้อ พิพาทเกิดข้นึ ต้องเขา้ ไปหาทางระงบั ขอ้ ขดั แยง้ หรือขอ้ พพิ าทใหย้ ตุ ิลงโดยเร็วทส่ี ดุ ตามหลักของการแรงงานสมั พันธ์ 7. จดั สวสั ดกิ าร ดำ� เนนิ การจา่ ยเงนิ สมทบกองทนุ เงนิ ทดแทน และกองทนุ ประกนั สงั คม และจดั บรกิ ารดา้ น สันทนาการ ตลอดจนอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ให้แก่พนักงาน เพ่ือสร้างขวัญก�ำลังใจแก่พนักงานอาจด�ำเนินงาน ด้านกองทนุ สำ� รองเลย้ี งชีพของพนกั งาน 8. ด�ำเนนิ การใหพ้ นกั งานออกจากงาน โดยการเกษยี ณอายุ หมดสญั ญาจา้ ง หรือเลกิ จา้ งเมอ่ื องคก์ รเผชิญ สภาวะธรุ กิจซบเซา หรอื ดว้ ยเหตผุ ลอนื่ โดยดำ� เนนิ การตามข้นั ตอนของกฎหมายแรงงาน และหาวธิ ที ี่ดที ส่ี ุดในการ ช่วยพนักงานเหล่าน้ันซึ่งอาจเสนอใหก้ ลบั เขา้ ทำ� งานใหม่เมอ่ื องคก์ รพ้นสภาวะดงั กล่าวแล้ว

ท20่ตี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี ้องการ ประจำ�ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สภาพการจา้ งงาน Department of Employment ผู้จัดการฝ่ายบุคคลในรัฐวิสาหกิจจะได้รับเงินเดือนตามวุฒิและประสบการณ์ ส�ำหรับองค์กรเอกชน ขนาดเล็กต้องเป็นผู้มีประสบการณ์จากเจ้าหน้าที่บุคคลอย่างน้อยประมาณ 3 - 5 ปีจะได้รับเงินเดือนขั้นต้น ตามความสามารถ ประสบการณป์ ระมาณเดอื นละ 35,000 - 45,000 บาท ในองคก์ รขนาดกลาง อาจมปี ระสบการณ์ การท�ำงานประมาณ 5 - 10 ปจี ะได้รับเงินเดอื นประมาณ 70,000 - 90,000 บาท และในองคก์ รขนาดใหญต่ อ้ งการ ผจู้ ัดการฝา่ ยบคุ คลทม่ี ปี ระสบการณ์ 10 ปขี ้นึ ไป จะได้รับเงนิ เดือนประมาณ 90,000 - 150,000 บาท ผจู้ ัดการฝ่ายบคุ คลโดยปกตทิ ำ� งานวันละ 8 - 9 ช่วั โมง หรอื สัปดาหล์ ะ 40 - 48 ชว่ั โมง แต่อาจจะต้องทำ� งาน มากกว่าเวลาทำ� งานปกติ เมอื่ มีงานหรือปัญหาทต่ี อ้ งดำ� เนนิ การโดยเรง่ ด่วน และไดร้ ับผลตอบแทนอย่างอ่ืนตามกฎ ระเบียบขององค์กร สภาพการทำ� งาน ผปู้ ฏบิ ตั งิ านผจู้ ดั การฝา่ ยบคุ คลปฏบิ ตั งิ านในสถานทที่ ำ� งานเปน็ สว่ นใหญ่ มรี ะบบขอ้ มลู และเครอื ขา่ ยในการ เก็บข้อมูลของพนักงานด้วยเทคโนโลยีท่ีทันสมัย และอาจต้องเดินทางออกไปในตรวจเย่ียมพนักงานในหน่วยงาน ภายใตเ้ ครอื ขา่ ยขององค์กรทั้งในประเทศและต่างประเทศ ท�ำงานรว่ มกบั ผูใ้ ตบ้ งั คบั บัญชา คอื เจา้ หนา้ ทฝ่ี ่ายบคุ คล หรอื ฝา่ ยอบรม อาจทำ� งานรว่ มกบั คนหลายเชอ้ื ชาตใิ นกรณที เี่ ปน็ องคก์ รนานาชาติ และอาจตอ้ งใชภ้ าษาตา่ งประเทศ ในการสอื่ สารภายในองคก์ ร โอกาสในการมงี านท�ำ ปจั จบุ นั งานบรหิ ารทางดา้ นทรพั ยากรบคุ คลเปน็ งานทม่ี กี ระแสการเปลย่ี นรปู แบบตามการบรหิ ารองคก์ รใน ยคุ โลกาภวิ ตั น์ หรอื ยคุ เขา้ สเู่ ศรษฐกจิ ดจิ ติ อล หรอื เศรษฐกจิ ใหมเ่ กอื บสนิ้ เชงิ จงึ มอี งคก์ รธรุ กจิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ทางดา้ น 610 เทคโนโลยีท่ีเกิดข้ึนอย่างมากมาย ท�ำให้มีการสรรหาและจัดจ้างเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารงานบุคคลทุกระดับที่มีความ เข้าใจในธุรกิจของการวางแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารงานบุคคล ที่มีวิสัยทัศน์ในการวางกลยุทธ์ด้านบุคลากรระดับ โลกนำ� มาผสมผสานกบั ความสามารถของบุคลากรทอ้ งถ่ินได้ เพื่อให้เกิดความรว่ มมอื เปน็ อนั หนึง่ อนั เดยี วกันในการ ด�ำเนินการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับองค์กร นอกจากน้ีแล้วองค์กร ธรุ กจิ ยงั ตอ้ งการผทู้ ม่ี คี วามรหู้ ลากหลาย เปน็ นกั วเิ คราะหส์ ถานการณ์ และเปน็ นกั คาดการณแ์ นวโนม้ การใชท้ รพั ยากร เป็นผู้ที่มีความยืดหยุ่นสูง พร้อมที่จะศึกษาเรียนรู้งานจากหน่วยงานข้ามองค์กร และมีความเข้าใจวัฒนธรรม และ ธุรกจิ ขององค์กร ดังน้ันผู้ท่มี คี ณุ สมบัติตามทีก่ ล่าวมาแล้วจงึ เป็นที่ต้องการขององค์กรธรุ กิจดงั ที่กลา่ วมาแล้ว คณุ สมบัติของผปู้ ระกอบอาชพี คณุ สมบตั ทิ วั่ ไปของผจู้ ดั การฝา่ ยบคุ คลควรมลี กั ษณะของผบู้ รหิ ารทแ่ี ตกตา่ งกวา่ ผบู้ รหิ ารอน่ื ๆ และไมค่ วรยดึ ติดกับการบริหารแบบ “ผู้จัดการ” ในสมยั กอ่ น เพราะการทโี่ ลกก้าวเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจใหม่ ผ้จู ดั การฝา่ ยบุคคลต้อง มที ศั นคตใิ หท้ นั กบั ยคุ โลกาภวิ ตั น์ สามารถทำ� งานรว่ มกบั บคุ คลทมี่ าจากพน้ื ฐานและเชอื้ ชาตติ า่ งกนั เปน็ ผนู้ ำ� ทม่ี สี ว่ น รว่ มกบั ทมี งานทกุ ชาติ ทุกภาษาได้ มีความสามารถในการมองการณ์ไกลหรือมวี สิ ยั ทัศน์กว้างไกล มีความเป็นผู้น�ำที่สามารถอ�ำนวยความสะดวกในการเปล่ียนแปลงองค์กร มีลักษณะเป็นผู้ประสานงานท่ีมี ประสทิ ธภิ าพเปน็ นกั ตอ่ รองและแกไ้ ขปญั หาแบบรว่ มมอื และสรา้ งสรรค์ เขา้ ใจวฒั นธรรมขององคก์ รของชาตติ นเอง อยา่ งลกึ ซงึ้ และเขา้ ใจวฒั นธรรมของชาตอิ นื่ และองคก์ รเปน็ อยา่ งดี สว่ นคณุ สมบตั ทิ ว่ั ไปทจ่ี �ำเปน็ ตอ้ งมใี นตวั ผจู้ ดั การ ฝ่ายบคุ คลมีดงั น้ี

ที่ตลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน Department of Employment 1. เป็นผู้น�ำ และเป็นตัวอย่างท่ีดีแก่เพ่ือนร่วมองค์กร สามารถจูงใจพนักงานให้อุทิศและทุ่มเทการท�ำงาน ให้กบั องคก์ รได้ 2. มคี วามรอบคอบในการพิจารณาและวนิ จิ ฉยั การปฏบิ ัตงิ าน 3. ซื่อสัตย์ สุจริต และยตุ ธิ รรม 611 4. มีมนุษยสัมพันธ์ดี เข้ากับคนท่ีมีพื้นฐานท่ีมาแตกต่างได้ เป็นท่ีไว้วางใจและน่าเช่ือถือกับบุคคลทุกฝ่าย ทั้งในและนอกองค์กร 5. ยอมรบั ฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 6. เป็นผู้ที่มีความสามารถ และเช่ียวชาญในการแก้ไขอุปสรรคปัญหาที่เกิดข้ึนในองค์กร ให้มาเป็นการ ร่วมมอื กนั 7. เปน็ ผู้ทส่ี ามารถทำ� ใหพ้ นักงานเช่ือถือและศรัทธาในปรัชญาองค์กรใหเ้ ปน็ วัฒนธรรมขององคก์ รไมว่ า่ จะ เป็นองค์กรในภาครัฐบาล องค์กรธุรกิจ หรือองค์กรท่ีไม่มุ่งหวังผลก�ำไร จะต้องมีความเชื่อว่างานและบทบาทของ องคก์ รเปน็ งานและบทบาททส่ี �ำคญั ทส่ี ดุ ของสงั คมเทา่ ๆ กบั รากฐานของสงั คมอน่ื ๆ เพอ่ื ความสำ� เรจ็ ในการดำ� เนนิ งาน ขององค์กร 8. มคี วามเข้าใจภาษาตา่ งประเทศเป็นอย่างดี 9. มปี ระสบการณ์ด้านการบริหารงานบุคคลอย่างน้อยตัง้ แต่ 3 - 5 ปี สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา ผทู้ จี่ ะประกอบผจู้ ดั การฝา่ ยบคุ คล ควรเตรยี มความพรอ้ มดงั ตอ่ ไปน:ี้ ควรมวี ฒุ กิ ารศกึ ษาตามขอ้ กำ� หนดของ ผจู้ ดั การฝา่ ยบคุ คล หรอื อาจสำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรถี งึ ปรญิ ญาโทในสาขาการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล สาขา วิทยาการการจดั การ สาขานิตศิ าสตร์ และรัฐศาสตร์ หรอื สาขาทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

กรมการ ัจดหางาน 2ท0่ีต0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจำ�ปี 2558/2015 โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ ผู้จัดการฝ่ายบุคคลท่ีมีความสามารถและ ขวนขวายหาความรู้เพ่มิ เตมิ รวมทัง้ มวี ิสยั ทศั นก์ วา้ งไกล จะเลอ่ื นใหด้ ำ� รงตำ� แหนง่ ผอู้ ำ� นวยการ กรรมการผบู้ รหิ าร สำ� หรบั ผทู้ ม่ี คี วามสามารถในการบรหิ ารงานดา้ น นี้ คือผู้ที่เป็นส่วนหนึ่งท่ีท�ำให้องค์กรด�ำเนินธุรกิจไปได้ อยา่ งราบรน่ื และประสบผลสำ� เรจ็ ผจู้ ดั การฝา่ ยบคุ คลจงึ เปน็ ทรพั ยากรบคุ คลทมี่ คี า่ ขององคก์ รเชน่ กนั และองคก์ ร ต้องการให้บุคลากรเชน่ น้บี ริหารงานจนกว่าจะเกษียณงาน จงึ กลายเป็นอาชีพคอ่ นขา้ งมั่นคง และหรืออาจได้รบั การ เสนอเง่ือนไขทด่ี ีกวา่ จากองค์กรธุรกิจอืน่ ๆ ให้ไปรว่ มบรหิ ารงานดว้ ย อาชพี ท่ีเกยี่ วเน่ือง ผูจ้ ดั การฝา่ ยพฒั นาธุรกจิ ผจู้ ัดการฝ่ายอบรม แหล่งข้อมูลอนื่ ๆ - การประกาศโฆษณาจัดหางานในหนงั สอื พมิ พ์ - เว็บไซตบ์ ริการจัดหางานเอกชน - สมาคมการบรหิ ารงานบคุ คลแห่งประเทศไทย 612

ที่ตลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจำ�ปี 2558/2015 Department of Employment ผจู้ ดั การฝ่ายฝึกอบรม Department Manager, Training นยิ ามอาชีพ วางแผน ก�ำกบั ดแู ล และประสานงานด้านนโยบาย เกี่ยวกับงานฝึกอบรม ก�ำหนด หลักสูตรและวางระบบ ขน้ั ตอนการฝกึ อบรมสำ� หรบั เจา้ หนา้ ทใี่ นองคก์ ร ประสานงาน และวางแผนร่วมกับหน่วยงานอื่น เพ่ือศึกษาถึงความ ต้องการของหน่วยงานในด้านการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มทักษะ หรือเพ่ือให้สามารถปฏิบัติงานได้ ให้การฝึกอบรมและ คำ� แนะนำ� แกค่ นงานหรอื หนว่ ยงานตามความจำ� เปน็ ควบคมุ ดแู ลผู้ปฏบิ ตั งิ าน ลกั ษณะของงานท่ีท�ำ 1. กำ� หนดหลกั สตู รและโครงการฝกึ อบรมตา่ ง ๆ ทสี่ อดคลอ้ งกบั ภารกจิ ของแตล่ ะฝา่ ยในองคก์ ร โดยมงุ่ หวงั พัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลในการปฏบิ ัติงานของบคุ ลากร 2. ประสานงานและวางแผนร่วมกับหน่วยงานอ่ืน เพ่ือศึกษาถึงความต้องการของหน่วยงานในด้านการ 613 ฝกึ อบรม เพอื่ เพิ่มทักษะหรอื เพ่อื ใหส้ ามารถปฏบิ ัตงิ านได้ 3. เขียนรา่ งโครงการหลักสูตรฝึกอบรม และวางแผนการจดั หลกั สตู รฝกึ อบรม 4. คิดริเริม่ หลักสูตรใหม่ ๆ และด�ำเนินการจดั หลักสูตรฝึกอบรม 5. ควบคุมการจัดฝกึ อบรมให้เป็นไปตามเป้าหมาย วตั ถุประสงค์หลัก และบรหิ ารทมี งาน 6. ใหก้ ารฝึกอบรมและค�ำแนะนำ� แก่คนงานหรือหน่วยงานตามความจ�ำเป็น ควบคุมดูแลผูป้ ฏิบตั ิงาน 7. ตดิ ตอ่ สอื่ สารทงั้ ทางดา้ นการเขยี นและการพดู ในทชี่ มุ นมุ ชน ตลอดจนตดิ ตอ่ สอ่ื สารกบั กลมุ่ ผเู้ ขา้ ฝกึ อบรม และประสานงานกบั ผูเ้ ก่ยี วข้องอ่ืน ๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ สภาพการจา้ งงาน ผปู้ ฏบิ ตั งิ านอาชพี น้ี ควรสำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรขี น้ึ ไป ดา้ นบรหิ ารธรุ กจิ สาขาการจดั การทรพั ยากร มนษุ ย์ สาขาการจดั การ หรอื สาขาท่ีเกย่ี วข้อง ท�ำงานในสถานประกอบการภาคเอกชน และควรมีประสบการณใ์ น การจดั ฝกึ อบรมอยา่ งนอ้ ย 5 ปี โดยจะไดร้ บั คา่ ตอบแทนเปน็ เงนิ เดอื นทรี่ ะดบั เรม่ิ ตน้ การท�ำงาน วฒุ กิ ารศกึ ษาปรญิ ญา ตรีและปริญญาโทประมาณ 25,000 - 30,000 บาท ไดร้ ับสวัสดกิ ารต่าง ๆ คา่ รกั ษาพยาบาล และโบนสั ตามเงอื่ นไข ขอ้ ตกลงกบั ผวู้ า่ จา้ ง ทำ� งานวนั ละ 8 - 9 ชว่ั โมง อาจทำ� งานลว่ งเวลา วนั เสาร์ วนั อาทติ ย์ และวนั หยดุ ตามความจำ� เปน็ วางแผน กำ� กบั ดแู ล และประสานงานดา้ นนโยบายเกยี่ วกบั งานฝกึ อบรม กำ� หนดหลกั สตู ร และวางระบบขน้ั ตอนการ ฝึกอบรมสำ� หรบั เจา้ หน้าที่ในองคก์ ร รวมถงึ ควบคมุ การจดั ฝึกอบรมใหเ้ ป็นไปตามเปา้ หมายขององค์กร

ท20ต่ี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สภาพการทำ� งาน Department of Employment สถานทท่ี ำ� งานของผปู้ ระกอบอาชพี นมี้ สี ภาพเชน่ เดยี วกบั สถานทที่ �ำงานทวั่ ไป มกี ารใชเ้ ทคโนโลยกี ารจดั เกบ็ ข้อมลู และการสร้างออนไลนข์ องหน่วยงานเพอ่ื ประชาสัมพนั ธ์ผลิตภัณฑ์หรือการให้บริการขององค์กร มกี ารท�ำงาน เปน็ ทมี โดยมพี นกั งานการตลาดเปน็ ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา โดยดแู ลใหค้ ำ� แนะนำ� ปรกึ ษาแกพ่ นกั งานดา้ นการขาย และการ ติดต่อปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าในต่างประเทศ การจัดการด้านการตลาดระหว่างประเทศ ผู้จัดการจ�ำเป็นต้องประสาน วางแผนการตลาดทตี่ อ้ งใชก้ ารออกตดิ ตอ่ ลกู คา้ ในตา่ งประเทศ การออกเกบ็ ขอ้ มลู และการเขา้ ถงึ ลกู คา้ ใชเ้ ทคโนโลยี ข้อมูลขา่ วสารมาผสมผสานกันในการวางแผนการตลาด โอกาสในการมีงานท�ำ ปัจจบุ ันการปฏริ ปู ระบบต่าง ๆ ในสังคม และแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ มุ่งเนน้ ที่การพัฒนา คนเปน็ สำ� คญั และเปน็ ทยี่ อมรบั วา่ การพฒั นาองคก์ รจะตอ้ งพฒั นาทคี่ นเปน็ สำ� คญั ซง่ึ เปน็ การเปลยี่ นรปู แบบตามการ บริหารองค์กรในยุคโลกาภิวัตน์ ท�ำให้สถานประกอบการต่าง ๆ โดยเฉพาะสถานประกอบการขนาดกลางและ ขนาดใหญ่ต่างมีการสรรหาพนักงาน และหรือจัดจ้างหน่วยงานภายนอกเข้าด�ำเนินการจัดการด้านการฝึกอบรม ซึ่งผู้ที่ด�ำเนินการฝึกอบรมจะต้องเป็นผู้มีวิสัยทัศน์ สามารถน�ำกลยุทธ์ด้านการฝึกอบรม เน้ือหาการฝึกอบรม มาผสมผสานเพอ่ื พฒั นาบคุ ลากรขององคก์ รใหส้ ามารถทำ� งานบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ ององคก์ รอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและ ประสทิ ธผิ ล เพราะฉะนนั้ อาชพี ผจู้ ดั การฝา่ ยฝกึ อบรมจงึ เปน็ อาชพี ทม่ี แี นวโนม้ เปน็ ทตี่ อ้ งการของตลาดทงั้ ในเชงิ ปรมิ าณ และเชงิ คณุ ภาพ คุณสมบตั ิของผูป้ ระกอบอาชพี 1. ผู้ประกอบอาชีพนี้จะต้องส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีข้ึนไป ด้านบริหารธุรกิจสาขาการจัดการ 614 ทรพั ยากรมนษุ ย์ สาขาการจดั การ หรอื สาขาอน่ื ที่เกีย่ วข้อง 2. ควรมีประสบการณ์ในการจัดฝกึ อบรมอย่างนอ้ ย 5 ปี 3. ควรมีทกั ษะในการบรหิ ารจดั การ และมคี วามรดู้ ้านการตลาด 4. สามารถใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละอินเทอร์เน็ต ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 5. สามารถใชภ้ าษาองั กฤษในการพดู อ่าน เขียน ไดเ้ ปน็ อย่างดี 6. มีบุคลกิ และมนษุ ยสัมพนั ธด์ ี 7. ควรมีความเป็นผ้นู ำ� และมคี วามรับผดิ ชอบสงู 8. ควรมที กั ษะในการตดิ ต่อสือ่ สารดี สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา ผรู้ บั ผดิ ชอบจดั การฝกึ อบรม หากจะใหส้ ามารถปฏบิ ตั งิ านดา้ นการบรหิ ารงานฝกึ อบรมไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการฝึกอบรม และหลักการบริหารงานฝึกอบรม รวมถึงจะต้องมี ความรู้พ้ืนฐานทางสังคมศาสตร์ และพฤติกรรมศาสตร์แขนงต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง เช่น สังคมวิทยา จิตวิทยา และศาสตร์การจัดการ สถาบันการศึกษาที่เปดิ ใหก้ ารศกึ ษาเกีย่ วกับการฝึกอบรม มดี ังน้ี สาขาการจัดการองค์กร หรือทรัพยากรมนุษย์ ในสถาบันการศึกษาที่สังกัด ส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา อาทิ

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพ เว็บไซต์ www.bu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2249-0141-4, 0-2350-3500 กรมการ ัจดหางาน - มหาวิทยาลัยรังสิต เวบ็ ไซต์ www.rsu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2997-2200 (เอกชน) Department of Employment - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร เว็บไซต์ www.mut.ac.th โทรศัพท์ 0-2988-3666, 0-2988-3655 - จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เวบ็ ไซต์ /www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศพั ท์ 0-2215-0871-3 - มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ เวบ็ ไซต์ www.tu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2221-6111-20 - บรษิ ทั หรอื สมาคมท่ีรับจัดฝกึ อบรมหลกั สตู รต่าง ๆ เชน่ สมาคมจดั การงานบุคคลแห่งประเทศไทย โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ ผู้จัดการฝ่ายฝึกอบรมท่ีเป็นพนักงาน รัฐวิสาหกิจจะได้เล่ือนต�ำแหน่งและเงินเดือนตามกฎ ระเบียบทวี่ างไว้ และผปู้ ระกอบอาชพี น้ใี นภาคเอกชน ท่ีมีความรู้ประสบการณ์ มีความสามารถ และศึกษา ต่อในระดับปริญญาโท สาขาบริหารจัดการ หรือ สาขาที่เกี่ยวข้อง จะได้เล่ือนขั้นหรือต�ำแหน่งเป็น ผู้อ�ำนวยการ หรือสามารถเปิดสถานประกอบการท่ี เกี่ยวข้องกับการจัดฝึกอบรมในสายงานที่มีความถนัด อาจไดร้ บั เชญิ เปน็ อาจารยพ์ เิ ศษ หรอื วทิ ยากรบรรยาย ในสถาบนั การศกึ ษาหรือหนว่ ยงานภาคเอกชน อาชพี ทีเ่ กีย่ วเนอื่ ง อาจารย์พิเศษ วิทยากรพิเศษ ผู้จัดการฝ่าย 615 ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล ผู้จัดการแผนกการจ้างงาน แรงงานสมั พนั ธ์ แหลง่ ขอ้ มลู อน่ื ๆ - บรษิ ัท ไทยเรทตง้ิ แอนดอ์ ินฟอร์เมช่นั เซอรว์ สิ จ�ำกดั เว็บไซต์ www.tris.co.th โทรศพั ท์ 02-231-3011 - สถาบันส่งเสรมิ เทคโนโลยี (สถาบนั สสท.) เว็บไซต์ www.tpif.or.th โทรศัพท์ 0-2727-3000-29 - สถาบนั ฐานวชิ าการ เวบ็ ไซต์ www.thanedu.com โทรศพั ท์ 0-2941-2315, 0-2941-2292-3 - สถาบันสรา้ งสรรคส์ ัมพันธภาพ เว็บไซต์ www.mini-eng.org โทรศัพท์ 0-2998-2913-4 - สมาคมการจดั การงานบคุ คลแหง่ ประเทศไทย เวบ็ ไซต์ www.pmat.or.th/ โทรศพั ท์ 0-2374-0855 - งานบริการขอ้ มลู เทคนคิ เว็บไซต์ www.tiskmutt.org โทรศพั ท์ 0-2428-4014

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจำ�ปี 2558/2015 ผูพ้ ิพากษา Judges นยิ ามอาชพี พิจารณาพิพากษาอรรถคดีท้ังปวงใน พระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ในศาลยุติธรรม เวน้ แตค่ ดที ร่ี ฐั ธรรมนญู บญั ญตั ใิ หอ้ ยใู่ นอำ� นาจของ ศาลอื่น มีอ�ำนาจหน้าที่วินิจฉัยข้อเท็จจริงและ ขอ้ กฎหมาย ใชด้ ลุ ยพนิ จิ ชง่ั นำ�้ หนกั พยานหลกั ฐาน และท�ำค�ำส่ังหรือค�ำพิพากษาในคดีแพ่งและ คดอี าญา ปฏิบัตหิ น้าท่ใี นศาลช้นั ตน้ ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา ลกั ษณะของงานทีท่ ำ� 1. ตรวจคำ� คคู่ วามซง่ึ ยน่ื ตอ่ ศาลเพอ่ื สงั่ รบั หรอื ไมร่ บั หรอื ใหท้ ำ� ใหม่ หรอื ใหแ้ กไ้ ขเพมิ่ เตมิ ควบคมุ การดำ� เนนิ กระบวนพจิ ารณาคดี ออกข้อก�ำหนด เพ่อื รกั ษาความเรยี บรอ้ ยในบริเวณศาล และเพื่อใหก้ ระบวนพิจารณาด�ำเนิน ไปโดยเท่ยี งธรรม และรวดเรว็ ออกหมายเรยี ก ออกหมายอาญา 616 2. ออกหมายสัง่ ใหส้ ่งคนมาจาก หรอื ไปยงั จงั หวดั อ่นื หรือออกค�ำสั่งใด ๆ 3. ไต่สวน และวินจิ ฉยั ชีข้ าดคำ� ร้อง หรอื คำ� ขอ 4. ไต่สวนมูลฟ้องในคดีอาญา ไต่สวนการชันสูตรพลิกศพ ในกรณีที่มีความตายเกิดข้ึนโดยการกระท�ำ ของเจา้ พนักงาน 5. น่ังพิจารณาคดี และควบคมุ การนำ� สบื พยานหลกั ฐานของคู่ความ ตรวจบคุ คล วัตถุ สถานที่ หรือแตง่ ต้ัง ผู้เชย่ี วชาญ ใชด้ ุลยพนิ จิ วินิจฉัยช่งั นำ้� หนักพยานหลักฐานท้งั ปวง 6. พิพากษาชีข้ าดตัดสินคดที งั้ ทางแพ่งและทางอาญาโดยยตุ ธิ รรมตามกฎหมาย 7. บังคับคดีให้เปน็ ไปตามคำ� พิพากษา 8. ทำ� รายงานการคดี และกจิ การของศาลสง่ ตามระเบียบ 9. ระมัดระวังการใช้ระเบียบวิธีการต่างๆ ท่ีก�ำหนดขึ้นโดยกฎหมายหรือโดยประการอ่ืน ให้เป็นไปโดย ถูกต้อง เพอ่ื ใหก้ ารพิจารณาพพิ ากษาคดีเสร็จเด็ดขาดไปโดยเร็ว 10. อาจมอี ำ� นาจพิจารณาพพิ ากษาคดตี า่ งประเภทกนั ตามประเภทของศาล สภาพการจา้ งงาน - ได้รับการบรรจุเป็นข้าราชการตุลาการ และแต่งต้ังให้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยผู้พิพากษาก่อนผู้ได้รับคะแนน ต่�ำลงมาตามลำ� ดบั แหง่ บัญชีสอบคัดเลอื ก - ผู้ประกอบอาชีพผู้พิพากษาจะมีบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจ�ำต�ำแหน่งข้าราชการตุลาการ แตกต่าง ตามประเภทศาล และต�ำแหนง่

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - ผดู้ �ำรงต�ำแหน่งผ้ชู ่วยผู้พิพากษาจะมีอตั ราเงินเดือน 17,500 - 18,950 บาท กรมการ ัจดหางาน - ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้พิพากษาประจ�ำศาลถึงอธิบดีผู้พิพากษา (ศาลช้ันต้น) จะมีอัตราเงินเดือน 23,750 - Department of Employment 67,560 บาท และมเี งินประจำ� ต�ำแหนง่ แตกตา่ งกนั ไป ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ภาคถึงประธานศาลอุทธรณ์ ผู้พิพากษาศาลฎีกา ถึงรองประธาน ศาลฎีกาจะมอี ัตราเงินเดือน 73,240 - 75,590 บาท และมีเงินประจ�ำต�ำแหน่งแตกตา่ งกันไป ผ้ดู ำ� รงต�ำแหน่งประธานศาลฎีกาจะมีอตั ราเงินเดือน 75,590 บาท และมีเงนิ ประจ�ำตำ� แหนง่ 50,000 บาท ท�ำงาน 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ อาจจะต้องเข้าเวรในวันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุด เพ่ือท�ำหน้าที่ลงนามค�ำส่ัง ในหมายศาล ในกรณีทต่ี ้องด�ำเนนิ ทนั ทไี มส่ ามารถรอจนถึงวนั ทำ� การได้ สภาพการทำ� งาน ผู้พิพากษามีห้องท�ำงานท่ีมีสภาพเหมือนห้องท�ำงานทั่วไป และเมื่อต้องท�ำหน้าท่ีตัดสินคดีความ จะต้อง น่งั บัลลงั กป์ ฏบิ ัตหิ นา้ ทพ่ี ิพากษาเป็นประธานในห้องตดั สินคดคี วาม อาชีพผูพ้ พิ ากษาอาจจะตอ้ งปฏบิ ัตงิ านประจำ� ศาลในตา่ งจงั หวดั โดยเฉล่ยี จะปฏิบตั ิหนา้ ทป่ี ระมาณ 3 - 4 ปี ในแต่ละจังหวัด ซึ่งมีบ้านพักผู้พิพากษาประจ�ำในทุกจังหวัด หรืออาจจะปฏิบัติหน้าท่ีประจ�ำศาลในกรุงเทพฯ ทง้ั นขี้ นึ้ อยกู่ บั การประกาศของคณะกรรมการข้าราชการศาลยตุ ธิ รรม โอกาสในการมีงานท�ำ ต�ำแหน่งผู้พิพากษาถือว่าเป็นต�ำแหน่งท่ีมีเกียรติ เป็นงานท่ีเก่ียวกับสิทธิ เสรีภาพ ทรัพย์สิน และชีวิตของ ประชาชนพลเมือง และท�ำงานในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ มีบัลลังก์นั่งสูงกว่าข้าราชการธรรมดา แมป้ จั จบุ นั นคี้ วามคดิ ดงั กลา่ วจะลดนอ้ ยลงเนอื่ งจากจำ� นวนผพู้ พิ ากษามากขนึ้ อกี ทง้ั ฐานะในทางสงั คมและเกยี รตภิ มู ิ ของข้าราชการฝา่ ยอน่ื ตลอดจนพอ่ คา้ นกั ธรุ กจิ สงู ขน้ึ แต่ต�ำแหนง่ ผ้พู ิพากษาก็ยังคงมีความส�ำคญั อยู่ เพราะฉะน้ัน 617 ผู้พิพากษาจงึ ตอ้ งด�ำรงตนใหน้ ่าเชือ่ ถือ ดังนั้นกจิ การบางอยา่ งซึ่งขัดกบั งานในต�ำแหนง่ หนา้ ทร่ี าชการหรอื ท�ำใหเ้ ป็น ทร่ี ะแวงสงสยั ในความเปน็ กลาง หรอื ความเป็นธรรม เช่น รับปรกึ ษาคดใี หบ้ คุ คลทัว่ ไป หรอื รับท�ำงานนอกเวลาหา รายไดพ้ เิ ศษเลีย้ งครอบครวั แม้จะเป็นงานสจุ ริตกฎหมายกห็ า้ มไวม้ ิใหก้ ระท�ำ เพราะการกระท�ำเชน่ นัน้ อาจกระทบ กระเทือนถึงการปฏบิ ัตหิ น้าที่ผ้พู ิพากษา คณุ สมบัติของผู้ประกอบอาชีพ 1. มีสญั ชาตไิ ทยโดยกำ� เนดิ 2. ไมเ่ ป็นผถู้ ูกลงโทษไล่ออก ปลดออก หรอื ให้ออกจากราชการ รัฐวสิ าหกจิ หรือหน่วยงานอนื่ ของรฐั 3. อายุไม่ต�่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ เป็นนิติศาสตรบัณฑิต หรือสอบไล่ได้ปริญญาหรือประกาศนียบัตรทาง กฎหมายจากตา่ งประเทศ ซง่ึ ก.ต. เทยี บไมต่ ำ�่ กว่าปริญญาตรี 4. เป็นผสู้ �ำเร็จการศกึ ษาระดบั เนติบัณฑติ ยสภาจากส�ำนักเนติบณั ฑิตยสภา สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศกึ ษา ผทู้ จ่ี ะประกอบผู้พิพากษา ควรเตรยี มความพรอ้ มดังตอ่ ไปน้ี การด�ำรงต�ำแหน่งผู้พิพากษาตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 นั้น บคุ คลผปู้ ระสงคจ์ ะเขา้ รับราชการเป็นผู้พิพากษามไี ด้ 3 ทาง คือ

ท20ีต่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ ประจำ�ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน - สมคั รสอบคัดเลือก ตอ้ งอายไุ มต่ ำ่� กวา่ 25 ปีบริบรู ณ์ Department of Employment - สมคั รทดสอบความรู้ ตอ้ งอายไุ ม่ตำ่� กว่า 25 ปีบรบิ รู ณ์ - สมัครเข้ารับการคัดเลอื กพเิ ศษ ตอ้ งอายไุ ม่ตำ่� กว่า 35 ปบี รบิ รู ณ์ ผทู้ จ่ี ะเขา้ เปน็ ผพู้ พิ ากษาโดย 3 ทางดงั กลา่ วขา้ งตน้ ตามพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการฝา่ ยตลุ าการศาล ยุติธรรม มาตรา 26 ก�ำหนดว่าต้องมีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย เช่น ต้องมีสัญชาติไทย โดยการเกิดไม่เป็นผู้ถูกลงโทษไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นๆ ของรัฐ เปน็ ตน้ และสำ� หรับผูส้ อบคดั เลือกตามข้อ 1 ตอ้ งมคี ณุ วุฒิ และไดป้ ระกอบวชิ าชพี ทางกฎหมาย ดงั ต่อไปน้ี - เปน็ นิติศาสตรบณั ฑิต หรอื สอบไลไ่ ดป้ ริญญา หรอื ประกาศนียบัตรทางกฎหมายจาก ต่างประเทศ ซึ่ง ก.ต. เทียบไม่ต่�ำกวา่ ปรญิ ญาตรี - สอบไล่ไดต้ ามหลักสูตรของส�ำนกั อบรมศึกษากฎหมายแหง่ เนติบณั ฑิตยสภา และ - ได้ประกอบวชิ าชพี ทางกฎหมายเปน็ จ่าศาล รองจ่าศาล เจา้ พนกั งานพิทักษ์ทรพั ย์ เจา้ พนักงานบังคับคดี หรือพนักงานคุมความประพฤติของศาลยุติธรรม พนักงานอัยการ นายทหารเหล่าพระธรรมนูญ ทนายความ หรือประกอบวชิ าชีพอยา่ งอืน่ ท่ีเกี่ยวเนอื่ งกับกฎหมาย ตามท่ี ก.ต. ก�ำหนดเปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกว่าสองปที ัง้ นใี้ ห้ ก.ต. มี อ�ำนาจออกระเบียบก�ำหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพนั้นๆ ด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการสมัครสอบ คดั เลอื กใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บที่ ก.ต. กำ� หนด โดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา (พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการ ฝ่ายตลุ าการศาลยตุ ธิ รรม มาตรา 27) ผสู้ มัครทดสอบความรตู้ ามขอ้ 2 ตอ้ งมคี ุณวุฒิและไดป้ ระกอบวิชาชีพดังต่อไปน้ี - สอบไลไ่ ดต้ ามหลักสูตรของส�ำนักอบรมศึกษากฎหมายแหง่ เนติบัณฑติ ยสภา - มีคณุ วฒุ ิอย่างใดอยา่ งหนึง่ ดงั ตอ่ ไปนี้ - สอบไล่ได้ปริญญาหรอื ประกาศนยี บัตรทางกฎหมายจากตา่ งประเทศ โดยมีหลกั สูตรเดยี ว ไม่น้อยกว่า 618 สามปี ซึ่ง ก.ต. เทียบไดไ้ มต่ ่�ำกวา่ ปรญิ ญาตรี หรอื สอบไดป้ รญิ ญาเอกทางกฎหมายจากมหาวทิ ยาลยั ในประเทศไทย ซึง่ ก.ต. รับรอง - สอบไล่ไดป้ รญิ ญา หรือประกาศนียบัตรทางกฎหมายจากต่างประเทศ โดยมีหลักสตู รเดียวไม่นอ้ ยกวา่ สองปี หรือหลายหลักสูตรรวมกันไม่น้อยกว่าสองปี ซึ่ง ก.ต. เทียบไม่ต่�ำกว่าปริญญาตรี และได้ประกอบวิชาชีพ ตามที่ระบุไว้ตามมาตรา 27 (3) (ประกอบวิชาชพี เปน็ จา่ ศาล พนักงานอัยการ ฯลฯ เปน็ เวลาไมน่ ้อยกว่าหน่งึ ปี) - สอบไล่ได้ปริญญาโททางกฎหมายจากมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ซึ่ง ก.ต. รับรอง และได้ประกอบ วิชาชีพตามท่รี ะบไุ ว้ในมาตรา 27(3) เปน็ เวลาไม่น้อยกว่าหนง่ึ ปี - เป็นนิติศาสตรบัณฑิตช้ันเกียรตินิยม และได้ประกอบวิชาชีพเป็นอาจารย์ในคณะนิติศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐเปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ 5 ปี - เป็นนิติศาสตรบัณฑิต และเป็นข้าราชการศาลยุติธรรม ท่ีได้ประกอบวิชาชีพทางกฎหมายในต�ำแหน่ง ตามที่ ก.ต. ก�ำหนดเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหกปี และเลขาธิการส�ำนักงานศาลยุติธรรมรับรองว่ามีความซ่ือสัตย์สุจริต และมคี วามรู้ความสามารถดี และมคี วามประพฤติดี เปน็ ท่ไี ว้วางใจว่าจะปฏบิ ตั ิหนา้ ทีข่ า้ ราชการตุลาการได้ - สอบไล่ได้ปริญญาโทหรือปริญญาเอกในสาขาวิชาที่ ก.ต. ก�ำหนด และเป็นนิติศาสตรบัณฑิต และ ได้ประกอบวิชาชีพตามที่ระบุไวใ้ นมาตรา 27 (3) หรอื ได้ประกอบวิชาชีพตามท่ี ก.ต. ก�ำหนดเป็นเวลาไม่น้อยกว่า สามปี หรอื - สอบไล่ได้ปริญญาตรี หรือท่ี ก.ต. เทียบไม่ต�่ำกว่าปริญญาตรี ในสาขาวิชาท่ี ก.ต.ก�ำหนด และได้ ประกอบวิชาชีพตามที่ ก.ต. ก�ำหนดเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสิบปี จนมีความรู้ความเช่ียวชาญในวิชาชีพนั้น และเป็น นิติศาสตรบัณฑิต

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาพี ร ประจำ�ปี 2558/2015 - สอบไล่ได้ปริญญาตรี หรือท่ี ก.ต. เทียบไม่ต่�ำกว่าปริญญาตรีในสาขาวิชาที่ ก.ต.ก�ำหนดและได้ กรมการ ัจดหางาน ประกอบวิชาชีพตามที่ ก.ต. ก�ำหนดเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสิบปี จนมีความรู้ความเชี่ยวชาญในวิชาชีพน้ัน และ Department of Employment เป็นนิติศาสตรบณั ฑติ - ให้ ก.ต. มีอำ� นาจออกระเบียบกำ� หนดเงือ่ นไขเกีย่ วกบั การประกอบวิชาชพี ตาม (2) (จ) (ฉ) และ (ช) ด้วย หลักเกณฑ์ และวธิ ีการสมัครทดสอบความรใู้ หเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บที่ ก.ต. กำ� หนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา (พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม มาตรา 28) ส่วนผู้สมัครเข้ารับ การคัดเลือกพิเศษ ตามขอ้ 3 ตอ้ งมีคณุ สมบตั ิ ดังตอ่ ไปนี้ - เป็น หรือเคยเปน็ ศาสตราจารย์ หรอื รองศาสตราจารยใ์ นมหาวิทยาลัยของรัฐ - เป็น หรอื เคยเป็นอาจารยใ์ นคณะนิติศาสตร์ในมหาวิทยาลยั ของรฐั เป็นเวลาไมน่ ้อยกว่าหา้ ปี - เป็น หรือเคยเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ หรือข้าราชการประเภทอื่นในต�ำแหน่ง ไม่ต่�ำกว่า ผูอ้ ำ� นวยการกอง หรอื เทียบเท่าข้ึนไป - เป็น หรอื เคยเป็นทนายความมาแล้วเปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกว่าสิบปี - สอบไลไ่ ด้ตามหลักสตู รของส�ำนักอบรมศกึ ษากฎหมายแหง่ เนติบณั ฑิตยสภา - เป็นผมู้ คี วามรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ดเี ด่นในสาขาวชิ ากฎหมายตามที่ ก.ต.ก�ำหนด - เป็นผ้มู คี วามซื่อสตั ย์สุจริต มบี คุ ลิกภาพ มีความประพฤติ และทัศนคตเิ หมาะสมแก่ การปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ขา้ ราชการตุลาการ หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกพิเศษ ให้ ไปตามระเบียบท่ี ก.ต.ก�ำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา (พระราชบัญญัติระเบยี บข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยตุ ธิ รรม มาตรา 29) โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ 619 ผ้ปู ระกอบผพู้ ิพากษา ทำ� งานตามท่ไี ด้รบั มอบหมายเมื่อมีความช�ำนาญ และประสบการณ์จะสามารถได้รบั การเลอ่ื นขัน้ ต�ำแหน่งตามสายงานไปได้จนถึงตำ� แหนง่ บริหารของขา้ ราชการตุลาการ ประธานศาลฎกี า การประกอบการอ่ืนเพ่ือหารายได้พิเศษ แม้จะเป็นงานสุจริตกฎหมายก็ห้ามไว้มิให้กระท�ำ เนื่องจาก ผู้พิพากษาต้องด�ำรงตนให้น่าเช่ือถือ ไม่ควรท�ำให้เป็นที่ระแวงสงสัยในความเป็นกลางหรือความเป็นธรรม และ ส�ำหรับผู้พิพากษาอัตราเงินเดือนจัดได้ว่าสูงกว่าข้าราชการสังกัดอื่น ๆ ท่ัวไป ซ่ึงเป็นอัตราเงินเดือนท่ีปรับใหม่ ให้เหมาะสมกับภาวะสงั คม อาชพี ที่เก่ยี วเน่อื ง ทนายความ ทีป่ รึกษาทางกฎหมาย นติ กิ ร อาจารย์มหาวทิ ยาลัย แหลง่ ข้อมลู อืน่ ๆ - สภาทนายความ - มหาวทิ ยาลยั ท่เี ปดิ สอนคณะนิติศาสตร์ - กระทรวงยุตธิ รรม เว็บไซต์ www.moj.go.th

กรมการ ัจดหางาน ท20ี่ต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจำ�ปี 2558/2015 ผ้สู อบบัญช;ี ผูต้ รวจสอบภาษี Auditor นยิ ามอาชพี ตรวจสอบและรบั รองความถกู ตอ้ งและความครบ ถว้ นของจำ� นวนเงนิ ทบ่ี นั ทกึ ลงในสมดุ บญั ชี รวมทง้ั เอกสาร ทางการเงินของสถานประกอบการ สถาบันเอกชน หรือ หนว่ ยงานรฐั บาล : ตรวจสอบรายการตา่ ง ๆ ทบี่ นั ทกึ ไวใ้ น สมุดบัญชีและการโอนรายการต่างๆ เป็นไปโดยถูกต้อง; ตรวจสอบบัญชีเงินฝากธนาคาร จ�ำนวนเงินที่รับมาและ จ่ายไป ตลอดจนหลักทรัพย์ท่ีซื้อขาย; ตรวจสอบความ ถกู ตอ้ งครบถว้ นของใบสำ� คญั คจู่ า่ ยใหเ้ ปน็ ไปตามทกี่ ำ� หนด ในขอ้ บังคับ ค�ำสั่ง ระเบยี บของหนว่ ยงาน และระเบยี บของราชการ มตคิ ณะรัฐมนตรี และตามเงอื่ นไข เง่ือนเวลา ท่ีระบุไว้ในสัญญา; ตรวจสอบและให้ค�ำแนะน�ำการด�ำเนินการด้านภาษี; เสนอรายงานผลการตรวจสอบ และ เสนอแนะการจดั ทำ� เอกสารทางการเงนิ ตา่ งๆ 620 ลกั ษณะของงานทีท่ ำ� 1. ตรวจสอบ และรับรองความถูกต้องครบถ้วนของจ�ำนวนเงินที่บันทึกลงในสมุดบัญชี รวมท้ังเอกสาร ทางการเงินของสถานประกอบกิจการ สถาบนั เอกชน หรือหน่วยงานรัฐบาล 2. ตรวจรายการต่าง ๆ ที่บนั ทกึ ไว้ในสมดุ บญั ชี เช่น บัญชีประจ�ำวัน หรอื บญั ชรี ายวนั เพื่อใหเ้ ชือ่ แน่วา่ การ บนั ทกึ จ�ำนวนเงนิ และรายการต่าง ๆ ลงในสมดุ บญั ชีเปน็ ไปโดยถกู ตอ้ ง 3. ตรวจสอบความถูกตอ้ งของการโอนรายการตา่ ง ๆ จากบัญชรี ายวนั ไปลงบญั ชีแยกประเภท นบั เงินสด และตรวจสอบยอดเงนิ ในธนาคาร 4. ตรวจสอบจำ� นวนเงนิ ทีร่ บั มาและจา่ ยไป ตลอดจนหลักทรัพย์ทซี่ ื้อขาย 5. ตรวจดเู ชค็ เงนิ สด เพอ่ื สอบยอดเงิน ลายเซน็ การขดี ฆา่ และวนั ที่ส่งั จ่ายเขา้ บญั ชเี งินสด 6. สอบรายการในบัญชรี ายวัน และบัญชแี ยกประเภทกบั ใบเสร็จจา่ ยเงนิ สด ใบเสรจ็ ซื้อของ และใบเสร็จ แสดงค่าใชจ้ า่ ย 7. ตรวจสอบรายการสง่ิ ของ ตรวจสอบความถกู ต้องของยอดเงนิ 8. อาจทำ� เอกสารทางการเงนิ ให้แกล่ กู คา้ เชน่ เอกสารแสดงก�ำไรและขาดทนุ และงบดุล 9. อาจเตรียมรายงานแสดงรายการต่าง ๆ โดยละเอียด เช่น ต้นทุน สินทรัพย์ หน้ีสิน ปริมาณการขาย กำ� ไรสทุ ธิ และคา่ เสือ่ ม 10. อาจควบคุมพนกั งานบญั ชใี ห้สอบบัญชเี ปน็ ประจำ� 11. อาจคิดค้น และวางระบบกบั วธิ ีการบญั ชขี ึ้นเป็นพเิ ศษเฉพาะสถานประกอบกิจการ ซ่ึงไมอ่ าจนำ� ระบบ การบัญชมี าตรฐานมาใชไ้ ด้

ที่ตลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาพี ร ประจำ�ปี 2558/2015 สภาพการจา้ งงาน กรมการ ัจดหางาน ผู้ตรวจสอบบัญชีที่ท�ำงานในหน่วยงานภาครัฐ หรือภาคเอกชนจะได้รับเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา Department of Employment และประสบการณ์ในการท�ำงาน ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับดุลพินิจของบริษัทหรือองค์กรที่จ้างงานผู้ตรวจสอบบัญชี เน่ืองจาก ผู้ตรวจสอบบัญชีจะต้องมีประสบการณ์ในงานบัญชีมาบ้างจึงจะท�ำงานในต�ำแหน่งผู้ตรวจสอบบัญชี และ ผูต้ รวจสอบบญั ชจี ะต้องมคี ุณสมบัตติ ามท่ีคณะกรรมการควบคุมการประกอบวชิ าชีพสอบบญั ชี (ก.บช.) ก�ำหนดไวม้ ี สทิ ธิที่จะสอบเป็นผูต้ รวจสอบบญั ชรี ับอนุญาตได้ ดังน้นั คา่ ตอบแทนจงึ ไม่มีขอ้ กำ� หนดที่แน่นอนตายตวั นอกจากค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนแล้ว ในภาครัฐจะได้รับสวัสดิการตามระเบียบของทางราชการ ส่วนใน ภาครัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนอาจได้รับผลประโยชน์พิเศษอ่ืน เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลือ สวัสดิการในรูปต่าง ๆ เงินโบนัส ค่าล่วงเวลา เป็นต้น ผู้ปฏิบัติงานผู้ตรวจสอบบัญชี มีชั่วโมงท�ำงาน โดยปกติ วันละ 8 ชว่ั โมง หรือสปั ดาห์ละ 40 - 48 ช่ัวโมง อาจตอ้ งทำ� งานลว่ งเวลา เม่ือมคี วามจ�ำเป็นเร่งดว่ นในการตรวจสอบ บัญชีใหเ้ สรจ็ ตามก�ำหนดเวลา และอาจต้องทำ� งานในวนั เสาร์ วนั อาทติ ย์ และวันหยุดเม่ือมคี วามจำ� เป็น สภาพการทำ� งาน ผู้ตรวจสอบบัญชีท�ำงานในสถานท่ีท�ำงานท่ีมีสภาพการท�ำงานเป็นส�ำนักงานท่ีมีอุปกรณ์สิ่งอ�ำนวย ความสะดวก เช่น ส�ำนักงานทั่วไป ในการท�ำงานจะต้องใช้เครื่องคิดเลข และมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพ่ือใช้ช่วยงาน บนั ทกึ รายการ และการท�ำบัญชใี นรปู ต่าง ๆ ในการตรวจสอบบัญชีแต่ละคร้ังจะต้องท�ำงานอยู่กับเอกสารทางบัญชี อาจจะต้องค้นสลิปรายการบัญชี ท่ีสงสัยหรือมีปัญหาร่วมกับเจ้าหน้าที่ที่เก่ียวข้อง ตรวจดูรายการที่น่าสงสัย หรือมีข้อผิดพลาด ผู้ตรวจสอบบัญชี จากบริษัทรับตรวจบัญชีท่ีมีหน้าที่ตรวจสอบบัญชีบริษัทลูกค้า บางรายอาจจะต้องปฏิบัติหน้าที่ในห้องหรือบริเวณ ท่ีลูกค้าจัดเตรียมไว้ให้ อาจจะต้องท�ำงานเป็นเวลา 1- 4 สัปดาห์ ในบริษัทของลูกค้า ขึ้นอยู่กับลักษณะงานของ บรษิ ัทน้ัน บางครั้งต้องทำ� การตรวจสอบเอกสารทางบญั ชี ซึง่ ต้องตรวจเอกสารท�ำรายการบญั ชที ผี่ า่ นมาในช่วง 1 ปี 621 ในปัจจุบันได้มีการน�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยในการตรวจสอบบัญชีผู้ตรวจสอบบัญชีจากบริษัทรับตรวจสอบ บัญชีมักจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์มือถือ เพ่ือใช้ช่วยในการท�ำงาน เช่น การบันทึกบัญชีลูกค้าเพ่ือการตรวจสอบ ซึง่ อาจใชโ้ ปรแกรมส�ำหรบั การตรวจสอบ หรือการเขียนรายงานการตรวจสอบบญั ชี โอกาสในการมงี านทำ� ปจั จบุ นั การดำ� เนนิ ธรุ กจิ ไดเ้ จรญิ กา้ วหนา้ และขยายตวั ออกไปอยา่ งกวา้ งขวาง ผตู้ รวจสอบบญั ชจี งึ ยงั คงเปน็ ท่ีตอ้ งการของตลาดแรงงานทง้ั ในหน่วยงานของรัฐและเอกชน หรือแม้แตก่ ารประกอบธรุ กจิ ส่วนตัว หรือบางองคก์ ร เช่น ธนาคารพาณิชย์ไทย ต้องมีหน่วยงานท่ีท�ำหน้าท่ีตรวจสอบภายใน ซึ่งจะต้องมีผู้ตรวจสอบภายในเพื่อท�ำการ ตรวจสอบงานบัญชีและการเงินของธนาคารสาขาและในส�ำนักงานใหญ่ โดยท�ำการตรวจสอบภายใน รวมท้ังบัญชี ตามข้อกำ� หนดของธนาคารแห่งประเทศไทย ถงึ แมว้ า่ หนว่ ยงานบางแหง่ จะไมม่ กี ารจา้ งงานตำ� แหนง่ ผตู้ รวจสอบบญั ชี แตใ่ นแตล่ ะปหี นว่ ยงานนนั้ ตอ้ งจา้ ง บริษัทรับตรวจสอบบัญชีเข้ามาท�ำการตรวจสอบบัญชีของบริษัททุกปี เนื่องจากต้องจัดท�ำงบดุล และเสียภาษี นติ ิบุคคลผ้ตู รวจสอบบญั ชียงั คงเป็นทต่ี อ้ งการของตลาดแรงงานอยู่มาก ส�ำหรับผตู้ รวจบญั ชีรับอนุญาตในการตรวจสอบบญั ชตี ามคณุ สมบัตติ ามท่ี ก.บช. ก�ำหนดไว้ เปน็ ผู้ทีส่ ามารถ ลงนามรับรองงานตรวจสอบบัญชีของหน่วยงานต่าง ๆ ได้จะย่ิงเป็นที่ต้องการในตลาดแรงงานมาก เน่ืองจากต้อง เป็นผู้มีประสบการณ์มาก และมีความสามารถจึงได้รับอนุญาตจาก ก.บช. ซึ่งจะต้องรักษาสถานภาพน้ีไว้ เพราะ

ท20ีต่ 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน หากลงนามรับรองตรวจสอบบัญชีผิดพลาดหรือทุจริตและ Department of Employment ถูกตรวจพบก็จะถูกลงโทษและถูกตัดสิทธิ์การเป็นผู้สอบ บญั ชรี บั อนญุ าตของ ก.บช. ทำ� ใหห้ มดโอกาสในการประกอบ ผู้ตรวจสอบบญั ชี คณุ สมบตั ิของผู้ประกอบอาชีพ 1. ต้องมีคุณวุฒิปริญญาตรีทางการบัญชีบริหาร ธุรกิจ สาขาวิชาบัญชี หรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษา ซ่ึงทบวงมหาวิทยาลัย หรือคณะกรรมการข้าราชการ พลเรือน (ก.พ.) หรอื กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเทียบวา่ ไมต่ ำ่� กว่าปริญญาตรีทางการบัญชี 2. เม่ือท�ำงานจนมีความพร้อม และคุณสมบัติตามที่ ก.บช. ก�ำหนดไว้ ก็มีสิทธิท่ีจะสอบเป็นผู้ตรวจบัญชี รบั อนญุ าตได้ 3. มคี วามซื่อสตั ยใ์ นหนา้ ที่ เนื่องจากทำ� งานเกยี่ วกับการเงิน 4. มีความรบั ผิดชอบตอ่ วชิ าชีพในการนำ� เสนอขอ้ มูลทางบัญชที ่เี ชือ่ ถอื ได้ถกู ตอ้ ง รวดเรว็ และมปี ระโยชน์ อยา่ งแทจ้ รงิ ในการตดั สนิ ใจ 5. มีความรอบคอบ มีวิจารณญาณ เพ่ือพิจารณาหาหลักปฏิบัติที่เหมาะสม และส่งผลกระทบในด้านลบ ให้น้อยทสี่ ดุ แก่หนว่ ยงานหรือองคก์ รท่ีเก่ียวขอ้ ง 6. รบั ผิดชอบในการพัฒนาตนเอง และใหค้ วามร่วมมอื ในการพัฒนาวิชาชพี และสงั คม 7. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ มีประสบการณ์ในด้านโปรแกรมระบบงานบญั ชี 8. มีความรู้ภาษาอังกฤษตามสมควร มคี วามรู้ระบบภาษีของไทย 622 สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบันการศึกษา - วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 169 ถนนลงหาดบางแสน ต�ำบลแสนสุข อ�ำเภอแสนสุข จังหวัดชลบุรี 20131 โทรศพั ท์ 0-3839-2018-20 โทรสาร 0-3839-2024 - คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เลขที่ 2 ถนนพระจันทร์ แขวงพระบรม มหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 เว็บไซต์ www.grad.bus.tu.ac.th อีเมล [email protected] โทรศัพท์ 0-2613-2263, 0-2623-5718 - คณะพาณชิ ยศาสตร์และการบญั ชี จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 254 ถนนพญาไท แขวงวงั ใหม่ เขตปทุมวนั กรงุ เทพฯ 10330 โทรศพั ท์ 0-2215-3555 อีเมล [email protected] - สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ส�ำนักงานหลักสูตรการบัญชี อาคาร 3 ช้นั 4 ห้อง 346 295 ถนนนครราชสีมา เขตดสุ ิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ 0-2244-5780 โทรสาร 0-2244-5780 เวบ็ ไซต์ http://accounting.dusit.ac.th - สาขาวิชาการบญั ชี คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสุนันทา เลขท่ี 1 อาคาร 22 ช้นั 1 ถนนอูท่ องนอก เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ 0-2160-1111 โทรสาร 0-2160-1010 - สาขาวิชาการบัญชีและการเงิน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ วิทยาเขตเวียงบัว 202 ถนนโชตนา ต�ำบลช้างเผือก อำ� เภอเมือง จังหวัดเชยี งใหม่ 50300 โทรศัพท์ 0-5388-5800 โทรสาร 0-5388-5809 อเี มล [email protected]

ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาีพร ประจำ�ปี 2558/2015 - มหาวิทยาลัยราชภัฏ วิทยาเขตแม่สา เลขท่ี 156 กรมการ ัจดหางาน หมู่ 3 ต�ำบลแม่สา อ�ำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 50180 Department of Employment โทรศพั ท์ 0-5388-5840 โทรสาร 0-5386-2738 โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ ผู้ประกอบอาชีพผู้ตรวจสอบบัญชี สามารถประกอบ อาชีพในสถานที่ต่าง ๆ ได้หลายแห่ง ท้ังที่เป็นหน่วยงานของ ราชการ รฐั วิสาหกิจ เอกชน บรษิ ัท หา้ งร้านต่าง ๆ และไดร้ บั การเลือ่ นขน้ั ต�ำแหนง่ ไปได้จนถงึ ตำ� แหนง่ หวั หนา้ และหากมีวุฒกิ ารศกึ ษา และมคี วามสามารถในการบรหิ ารงาน จะ สามารถเล่ือนข้ันได้จนถึงระดับบริหารในหน่วยงานน้ัน เม่ือท�ำงานจนมีความสามารถ และคุณสมบัติตามที่ ก.บช. กำ� หนดไวก้ ม็ สี ทิ ธทิ จี่ ะสอบเปน็ ผตู้ รวจสอบบญั ชรี บั อนญุ าตได้ กส็ ามารถทจี่ ะรบั ตรวจสอบบญั ชใี หห้ นว่ ยงานทว่ั ไปได้ ไดร้ ับคา่ ตอบแทนการท�ำงานเปน็ รายไดเ้ สรมิ จากงานประจำ� อาชพี ทเี่ กย่ี วเนื่อง นอกจากจะท�ำงานในด้านบัญชีโดยตรงแล้ว ยังอาจท�ำงานอื่น ๆ ท่ีสอดคล้องกับวิชาชีพท่ีเรียนมา เช่น เป็นเจ้าหน้าที่งบประมาณ การเงิน ธนาคาร ประกันภัย หรือเป็นอาจารย์สอนบัญชีในวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย ต่าง ๆ เป็นต้น แหล่งข้อมลู อนื่ ๆ - สถาบันอุดมศึกษาของรัฐบาลและเอกชนทุกแห่งที่ท�ำการเปิดสอนในสาขาบัญชี เช่น จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 623 มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม มหาวทิ ยาลัยหอการคา้ เป็นต้น - กรมทะเบียนการคา้ - มหาวิทยาลัยราชภัฏ

กรมการ ัจดหางาน ท20ตี่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจำ�ปี 2558/2015 พนกั งานคมุ เครอ่ื งซกั ลา้ งสิง่ ทอส่งิ ถัก Washing Machine Operator, Textile นิยามอาชพี ซกั ลา้ งสงิ่ ทอสง่ิ ถกั ดว้ ยเครอ่ื งจกั ร : ควบคมุ การทำ� งานของเครอื่ งจกั ร ทใี่ ช้ในการซักลา้ งด้วยการทำ� ให้นำ�้ ร้อนถึงอุณหภูมทิ ก่ี �ำหนด แล้วจึงผสมสบู่ หรือตัวยาซักล้างชนิดอ่ืนลงในน้�ำร้อน; ป้อนส่ิงทอสิ่งถักลงในเคร่ือง ซักล้าง; เดินเครื่องจักร ควบคุมอุณหภูมิ และเคร่ืองจักรให้ท�ำงานอย่าง ต่อเน่ืองและน�ำสิ่งทอสิ่งถักท่ีผ่านการซักล้างแล้วเข้าเคร่ืองอบไอน�้ำ เพ่ือ ท�ำใหแ้ ห้งต่อไป ลกั ษณะของงานทที่ ำ� 1. ควบคมุ การทำ� งานของเครือ่ งจกั รท่ีใชใ้ นการซักลา้ ง ด้วยการท�ำใหน้ ำ�้ รอ้ นถึงอณุ หภมู ิทก่ี �ำหนด แล้วจงึ ผสมสบูห่ รือตวั ยาซกั ล้างชนิดอนื่ ลงในนำ�้ ร้อน 2. ป้อนสิ่งทอส่งิ ถกั ลงในเคร่อื งซกั ลา้ ง 3. เดินเครอ่ื งจักร ควบคมุ อณุ หภมู แิ ละเครอ่ื งจักรใหท้ �ำงานอยา่ งต่อเนื่อง 4. นำ� ส่ิงทอสง่ิ ถักท่ีผา่ นการซกั ลา้ งแลว้ เขา้ เคร่อื งอบไอนำ้� เพอ่ื ทำ� ให้แห้งตอ่ ไป 5. ประสานงานกับเจา้ หนา้ ทอี่ ่นื ๆ ท่ีเกยี่ วข้อง 624 สภาพการจ้างงาน ผปู้ ฏบิ ัติงานอาชีพนี้ ส่วนใหญท่ �ำงานในโรงงานอุตสาหกรรมสง่ิ ทอ ผูท้ ่ไี มม่ ีประสบการณ์จะไดร้ ับการฝึกฝน โดยจะมผี คู้ อยใหค้ ำ� แนะนำ� ผปู้ ฏบิ ตั งิ านนค้ี วรสำ� เรจ็ การศกึ ษาขน้ั ตำ�่ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 หรอื ระดบั ประกาศนยี บตั ร วชิ าชพี (ปวช.) ไมจ่ ำ� กดั สาขา จะไดร้ บั คำ� ตอบแทนเปน็ เงนิ เดอื นทร่ี ะดบั เรมิ่ การทำ� งานประมาณ 9,500 - 13,500 บาท สวัสดกิ ารต่าง ๆ คำ� รกั ษาพยาบาล และโบนัสเป็นไปตามเงอื่ นไขข้อตกลงกบั ผูว้ ่าจา้ ง ทำ� งานสปั ดาหล์ ะ 6 วัน วันละ ประมาณ 8 ช่วั โมง อาจทำ� งานลว่ งเวลา วันเสาร์ วนั อาทิตย์ และวนั หยดุ ตามความจ�ำเป็น สภาพการทำ� งาน ปฏิบัติงานภายในโรงงานอุตสาหกรรม ดูแลควบคุมเครื่องซักล้างสิ่งทอส่ิงถักให้สามารถท�ำงานได้อย่าง ต่อเน่ือง จึงมีสภาพการท�ำงานหนักปานกลาง ต้องท�ำงานในสถานที่ที่มีเสียงดัง และบางคร้ังต้องใช้ความอดทน ตอ่ สภาพความร้อน จงึ ตอ้ งความรอบคอบ อดทนสงู และตอ้ งสวมเคร่อื งแบบอปุ กรณค์ วามปลอดภัยในการท�ำงาน ตามข้อก�ำหนดของสถานประกอบการ ท�ำหน้าที่ในการควบคุมการท�ำงานของเครื่องจักรส�ำหรับการซักล้างส่ิงทอ สงิ่ ถัก ซง่ึ เริ่มกระบวนการตงั้ แต่การควบคมุ อุณหภูมิของนำ�้ เดนิ เคร่ืองจกั ร จนกระท่งั น�ำสิง่ ทอส่ิงถักไปผ่านการอบ เพอื่ ท�ำใหแ้ ห้ง โอกาสในการมงี านท�ำ อตุ สาหกรรมสง่ิ ทอเปน็ อตุ สาหกรรมทม่ี บี ทบาทสำ� คญั ซง่ึ ภาครฐั และภาคเอกชนไดร้ ว่ มกนั ปรบั วสิ ยั ทศั นใ์ หม่ โดยได้ร่วมมือกันสร้างโครงการ กรุงเทพฯ เมืองแฟชั่น เพ่ือจุดประสงค์ในการสร้างกรุงเทพฯ ให้เป็นผู้น�ำแฟช่ัน และให้เป็นศูนย์กลางแฟช่ันแห่งหนึ่งของโลกภายในปี 2555 ซ่ึงถ้าหากโครงการนี้ประสบความส�ำเร็จจะท�ำให้

ทีต่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 อตุ สาหกรรมสง่ิ ทอมกี ารขยายตวั ขน้ึ อกี มาก ความตอ้ งการแรงงานในอตุ สาหกรรมสง่ิ ทอกจ็ ะเพมิ่ ขนึ้ ตามไปดว้ ย และ กรมการ ัจดหางาน จากการศกึ ษาของสถาบนั วิจัยเพ่อื การพัฒนาประเทศไทย ได้ประมาณความตอ้ งการแรงงานในระดบั ปวช. ขนึ้ ไปใน Department of Employment อตุ สาหกรรมสิ่งทอ พบวา่ กว่ารอ้ ยละ 80 ความต้องการแรงงานในส่วนทีไ่ ม่ใชว่ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ส่วนใหญ่ เป็นความต้องการแรงงานในสาขาช่างอุตสาหกรรม ซ่ึงรวมถึงพนักงานคุมเครื่องซักล้างส่ิงทอสิ่งถัก ซึ่งถือเป็น ปัจจัยเสริมสำ� หรับผทู้ ่คี ิดจะประกอบอาชีพนี้ คณุ สมบตั ขิ องผปู้ ระกอบอาชพี 1. ส�ำเรจ็ การศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 จนถงึ ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) 2. มคี วามรับผดิ ชอบ และสามารถทำ� งานเปน็ ทมี 3. มีมนุษยสมั พนั ธ์ดี มคี วามเป็นผู้นำ� 4. มีระเบียบวินยั ตรงตอ่ เวลา 5. สามารถแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้าไดด้ ี 6. มีความละเอียด รอบคอบ อดทน และสามารถท�ำงานภายใตภ้ าวะกดดันไดด้ ี สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาเทคนิคการผลิต ในสถาบันการศึกษา สังกดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา อาทิ - วิทยาลยั เทคนคิ บรุ ีรัมย์ เว็บไซต์ www.btec.ac.th โทรศัพท์ 0-4461-1079 - วิทยาลยั เทคนิคหาดใหญ่ เว็บไซต์ www.htc.ac.th โทรศพั ท์ 0-7421-2300 - วิทยาลยั เทคนิคเชียงใหม่ เว็บไซต์ www.cmtc.ac.th โทรศพั ท์ 0-5321-7708 - วทิ ยาลยั เทคโนโลยอี ุตสาหกรรม เว็บไซต์ http://cit.kmitnb.ac.th โทรศัพท์ 0-2585-0691, 0-2586- 9019 - วทิ ยาลยั เทคนิคปทมุ ธานี เวบ็ ไซต์ www.pttc.ac.th โทรศัพท์ 0-2581-6390, 0-2581-6920 625 โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชีพ ผทู้ ป่ี ระกอบอาชพี นคี้ วรศกึ ษาตอ่ ในระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) ประเภทวชิ าชา่ งอตุ สาหกรรม (สาขาช่างเทคนิคการผลิต) ซ่ึงสามารถปฏิบัติงานเคร่ืองมือกลทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับงานผลิตชิ้นส่วนต่าง ๆ งานซ่อม บ�ำรุงรักษาเครื่องมือ งานออกแบบชิ้นส่วน งานตรวจสอบความเที่ยงตรง และงานท�ำช้ินส่วนเคร่ืองมือแบบต่าง ๆ ตามแบบสงั่ งาน อาชีพทเ่ี ก่ียวเนอ่ื ง พนักงานคุมเครื่องจักรอน่ื ๆ ในโรงงาน/พนกั งานบำ� รุงรักษาเคร่อื งจกั ร แหล่งข้อมูลอน่ื ๆ - สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสงิ่ ทอ เวบ็ ไซต์ www.thaitextile.org โทรศัพท์ 0-2280-4085 - สมาคมอตุ สาหกรรมเครื่องนุ่งหม่ ไทย เว็บไซต์ www.thaigarment.org โทรศพั ท์ 0-2681-2222 - กลุ่มงานเส้ือผ้าส�ำเร็จรูป กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เว็บไซต์ www.dip.go.th/mainpage.asp โทรศัพท์ 0-2367-8234 - สถาบนั พฒั นาวชิ าชีพ www.moe.go.th โทรศัพท์ 0-2564-7000 - กลุ่มบริษัทนันยางเท็กซ์ไทล์ www.nanyangtextile.com/ โทรศัพท์ 0-2421-2150, 02-421-2160

กรมการ ัจดหางาน ท20ตี่ 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 พนักงานคมุ เครอื่ งตกแตง่ ผนื ผ้าส่งิ ทอส่ิงถัก Finishing Machine Operator, Textile นยิ ามอาชพี ใช้เคร่ืองจักรตกแต่งผืนผ้า ส่ิงทอส่ิงถักให้มีคุณภาพ ตามที่ต้องการ เช่น ขนาด ความมัน ความแข็งหรือความ สามารถในการกันน�้ำ โดยใช้กรรมวิธีทางเชิงกลหรือทางเคมี ในการตกแต่ง : ควบคุมเครื่องจักรตั้งแต่หนึ่งเครื่องขึ้นไป ในการตกแต่ง เช่น เครือ่ งหดและยดื ผืนผา้ เครื่องอัดรีดและ เครอ่ื งเคลอื บสารเคมี เพอ่ื เพม่ิ ความแขง็ หรอื ความนมุ่ เปน็ ตน้ ลักษณะของงานทท่ี ำ� ผู้ประกอบอาชพี น้ีมลี กั ษณะของงานท่ีทำ� ดังนี้ 1. ควบคุมเครื่องจักรต้ังแต่หน่ึงเคร่ืองขึ้นไปในการตกแต่ง เช่น เครื่องหดและยืดผืนผ้า เครื่องอัดรีด และเครือ่ งเคลือบสารเคมี เพอื่ เพิ่มความแขง็ หรือความนุ่ม เปน็ ตน้ 2. แกป้ ญั หาทอี่ าจเกดิ ขน้ึ โดยไมค่ าดคดิ จากการใชเ้ ครอ่ื งจกั รตกแตง่ ผนื ผา้ สงิ่ ทอสง่ิ ถกั เพอ่ื ใหก้ ระบวนการ ผลติ สามารถด�ำเนินการไดอ้ ยา่ งต่อเน่ือง 626 3. ประสานงานกบั ฝา่ ยงานที่เก่ียวขอ้ งกับสายงานดา้ นการผลติ สภาพการจา้ งงาน ผู้ปฏบิ ตั งิ านอาชีพน้ี สว่ นใหญท่ ำ� งานในโรงงานอตุ สาหกรรมสิ่งทอ ผู้ทไ่ี ม่มปี ระสบการณ์จะได้รับการฝกึ ฝน โดยจะมีผู้คอยให้ค�ำแนะน�ำ ผู้ปฏิบัติงานอาชีพน้ีควรส�ำเร็จการศึกษาขั้นต�่ำระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 3 หรือระดับ ประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) ไมจ่ �ำกัดสาขา จะได้รับค�ำตอบแทนเป็นเงนิ เดือนทีร่ ะดับเรมิ่ ตน้ การทำ� งานประมาณ 9,500 - 13,700 บาท สวัสดกิ ารต่างๆ คา่ รกั ษาพยาบาล และโบนสั เปน็ ไปตามเงือ่ นไขข้อตกลงกับผูว้ า่ จา้ ง ท�ำงาน สปั ดาหล์ ะ 6 วัน วนั ละประมาณ 8 ช่ัวโมง อาจทำ� งานล่วงเวลา วันเสาร์ วนั อาทติ ย์ และวนั หยดุ ตามความจ�ำเป็น สภาพการทำ� งาน ปฏิบัติงานภายในโรงงานอุตสาหกรรม ดูแลควบคุมกระบวนการผลิตตามกรรมวิธีทางเชิงกลหรือทางเคมี ในการตกแต่งผืนผ้า ส่ิงทอสิ่งถัก ซ่ึงต้องมีการวางแผนเพื่อควบคุมคุณภาพและตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ในขณะปฏิบัติงาน จึงมีสภาพการท�ำงานหนักปานกลาง ซึ่งบางครั้งต้องใช้ความอดทนต่อสภาพความร้อน กลิ่น ของสารเคมี และอันตรายที่อาจเกิดขึ้นขณะปฏิบัติงาน จึงต้องใช้ความระมัดระวัง รอบคอบ อดทนสูง และต้อง สวมเครื่องแบบอุปกรณ์ความปลอดภัยในการท�ำงานตามข้อก�ำหนดของสถานประกอบการ ควบคุมเครื่องจักร ตกแต่งผืนผา้ สิง่ ทอสง่ิ ถักให้มคี ุณภาพตามท่ีต้องการ เช่น ขนาด ความมัน ความแข็ง หรอื ความสามารถในการกันนำ�้ โดยใช้กรรมวิธีทางเชิงกลหรือทางเคมี ในการตกแตง่

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสในการมงี านทำ� กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ปัจจุบันอุตสาหกรรมส�ำคัญที่ยังมีแนวโน้มขยายตัวสูงข้ึน คือ อุตสาหกรรมส่ิงทอ ในปี 2548 มีการ ขยายตัวสูงข้ึน ถึงแม้จะมีความกังวลต่อกติกาขององค์การการค้าโลก (WTO) ที่จะเปิดเสรีส่ิงทอในปี 2548 จะท�ำให้ผู้ประกอบการไทยแข่งขันในตลาดโลกไม่ได้ ส�ำหรับภาวะการส่งออกสินค้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มของไทย ในปี 2547 มีมูลค่ามากกว่า 200,000 ล้านบาท และในปี 2548 สิ่งทอของไทยในหมวดผ้าผืนท่ีส่งขายไปยัง จีนได้ขยายตัวสูงถึงกว่าร้อยละ 80 โดยจีนได้เพ่ิมการน�ำเข้าผืนผ้าจากไทยไปผลิตเป็นผ้าปูท่ีนอนส่งขายตลาด สหรฐั ฯ มากขน้ึ ซงึ่ บง่ ชวี้ า่ สถานประกอบการโรงงานอตุ สาหกรรมสง่ิ ทอ จะยงั คงตอ้ งการผทู้ ท่ี ำ� งานในดา้ นนค้ี อ่ นขา้ งสงู คุณสมบัตขิ องผู้ประกอบอาชีพ 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดับมธั ยมศึกษาปีที่ 3 จนถงึ ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) 2. มีความรับผิดชอบ และสามารถทำ� งานเปน็ ทมี 3. มนษุ ยสมั พนั ธด์ ี มีความเปน็ ผนู้ ำ� 4. มรี ะเบยี บวินัย ตรงต่อเวลา 5. มที ักษะในการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี 6. มีความละเอียด รอบคอบ อดทน และสามารถท�ำงานภายใตภ้ าวะกดดนั ไดด้ ี สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาเทคนิคการผลิต ในสถาบันการศึกษา สงั กดั สำ� นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา อาทิ - วิทยาลยั เทคนิคบุรีรัมย์ เวบ็ ไซต์ www.btec.ac.th โทรศพั ท์ 0-4461-1079 - วทิ ยาลัยเทคนิคหาดใหญ่ เวบ็ ไซต์ www.htc.ac.th โทรศัพท์ 0-7421-2300 - วทิ ยาลยั เทคนิคเชียงใหม่ เวบ็ ไซต์ www.cmtc.ac.th โทรศพั ท์ 0-5321-7708 627 - วทิ ยาลยั เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม เวบ็ ไซต์ http://cit.kmitnb.ac.th โทรศพั ท์ 0-2585-0691, 0-2586-9019 โอกาสความก้าวหน้าในอาชพี ผทู้ ปี่ ระกอบอาชพี นค้ี วรศกึ ษาตอ่ ในระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) ประเภทวชิ าชา่ งอตุ สาหกรรม (สาขาช่างเทคนิคการผลิต) ซึ่งสามารถปฏิบัติงานเครื่องมือกลทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับงานผลิตช้ินส่วนต่าง ๆ งานซ่อม บ�ำรุงรักษาเคร่ืองมือ งานออกแบบชิ้นส่วน งานตรวจสอบความเที่ยงตรง และงานท�ำช้ินส่วนเครื่องมือแบบต่าง ๆ ตามแบบสัง่ งาน อาชีพท่ีเกีย่ วเนอ่ื ง พนกั งานคุมเคร่อื งจักรอ่ืนๆ ในโรงงาน พนักงานบำ� รงุ รกั ษาเครือ่ งจกั ร แหลง่ ขอ้ มลู อนื่ ๆ - สมาคมอตุ สาหกรรมเคร่ืองนุง่ ห่มไทย เว็บไซต์ www.thaigarment.org โทรศพั ท์ 0-2681-2222 - ศูนย์พฒั นาผลิตภณั ฑ์ กรมส่งเสรมิ การส่งออก เวบ็ ไซต์ www.depthai.go.th โทรศพั ท์ 0-2512-0093- 104, 0-2513-1901-15 - สถาบนั พฒั นาอุตสาหกรรมสงิ่ ทอ เว็บไซต์ www.thaitextile.org โทรศัพท์ 0-2280-4085 - กลุ่มงานเส้ือผ้าส�ำเร็จรูป กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เว็บไซต์ www.dip.go.th/mainpage.asp โทรศพั ท์ 0-2367-8234

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจำ�ปี 2558/2015 พ่อครวั / ผูป้ รุงอาหาร Cook นยิ ามอาชพี ท�ำหน้าท่ีเตรียมและปรุงอาหารเพื่อการบริโภคและบริการ ในโรงแรม ภตั ตาคาร รถเสบยี งของรถไฟ หอ้ งอาหารในเรอื สโมสร หรอื สถานประกอบการ รวมถึงบ้านพกั ส่วนบคุ คล: อาจเชย่ี วชาญใน การทำ� อาหารประเภทใดประเภทหนงึ่ โดยเฉพาะ; ตรวจสอบคณุ ภาพ อาหารทปี่ รงุ สำ� เรจ็ ; ประสานงานในครวั และปฏบิ ตั งิ านอน่ื ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ลักษณะของงานทที่ ำ� ผู้ประกอบอาชีพน้ีจะมีรองกุ๊กใหญ่ หรือรองหัวหน้าแผนก ครัว (Second Chef, Sus Chef) ท�ำหน้าที่เป็นผู้ช่วยงานในด้าน ต่าง ๆ หัวหน้าพ่อครัว หรือหัวหน้าผู้ปรุงอาหาร ปฏิบัติงานตาม ขัน้ ตอน ดงั ต่อไปน้ี 1. จัดตารางเวลา และควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของ พนกั งานในครวั ระดบั หัวหน้าหนว่ ยแตล่ ะแผนก (Chef de Partie–เชฟ เดอ ปาร์ตีย์) เช่น หัวหนา้ หน่วยผกั หัวหนา้ 628 ครัวขนมอบ หัวหน้าครัวอบ–ย่าง หัวหน้าครัวเย็น หัวหน้าหน่วยปลา หัวหน้าหน่วยซอส กุ๊กหมุนเวียน ผู้ช่วยกุ๊ก กกุ๊ ฝกึ หัด และพนักงานท�ำความสะอาดในครวั เปน็ ตน้ (โรงแรมแต่ละแห่งอาจเรยี กต�ำแหนง่ ต่างๆ ไมเ่ หมอื นกัน) 2. จัดการดูแลงานด้านเอกสาร ตลอดท้ังวัตถุดิบที่ใช้ในการประกอบอาหาร และก�ำหนดเมนูอาหารที่มี คณุ ค่าทางโภชนาการ 3. ควบคุมดแู ลการใช้วตั ถดุ บิ ในการประกอบอาหารอย่างมีประสิทธภิ าพและคุม้ ค่า 4. ในบางครั้งอาจต้องปรุงหรือท�ำอาหารเองบ้างเม่ือบุคลากรไม่พอกับจ�ำนวนของแขก และต้องสามารถ ท�ำงานได้ทุกระดบั 5. ควบคุมดแู ลต้นทุนการผลิต 6. ควบคุมดูแลห้องครัวให้ถูกสุขลักษณะอนามัยตามมาตรฐานสากลท่ีกระทรวงสาธารณสุขและองค์การ อนามยั โลกก�ำหนด 7. สามารถบริหารงานภายใต้สภาวะความกดดัน และแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ เมื่อต้องประกอบอาหาร จัดเลี้ยงคน ตงั้ แต่ 500 – 4,000 คน โดยใชบ้ คุ ลากรเท่าเดมิ 8. สามารถถ่ายทอดความรู้ ฝึกอบรมพนกั งาน และฝึกทกั ษะเพ่ิมศกั ยภาพให้แกผ่ ู้ใตบ้ งั คับบญั ชาทุกคนได้ อย่างสม่�ำเสมอ 9. สามารถบริหารและดูแลทุกข์สุขของผู้ใต้บังคับบัญชาได้อย่างท่ัวถึง เพ่ือรักษาและป้องกันการสูญเสีย บคุ ลากรทม่ี ปี ระสิทธภิ าพและศกั ยภาพใหก้ ับองค์กรอืน่

ทต่ี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการจ้างงาน กรมการ ัจดหางาน ผู้ประกอบอาชีพน้ี จะได้รับค่าจ้างตามความสามารถเฉพาะตัว ซึ่งอาจได้รับการว่าจ้างจากโรงแรมระดับ Department of Employment สด่ี าว หรอื หา้ ดาว หรอื ภตั ตาคารขนาดใหญท่ ม่ี ชี อ่ื เสยี ง บางครง้ั อาจมกี ารแยง่ ตวั ผปู้ ระกอบอาชพี นี้ เนอ่ื งจากผบู้ รโิ ภค ติดใจฝีมือและรสชาติการปรุงอาหารมากกว่าการบริการ ดังนั้นผู้ประกอบอาชีพน้ีจึงได้รับเงินเดือนในระดับสูงมาก ประมาณ 100,000 บาทขน้ึ ไป รวมทั้งไดร้ ับสวสั ดิการ และค่าตอบแทนพเิ ศษตา่ ง ๆ รวมถึงครอบครัว ตามมาตรฐาน สากล ทำ� งานวัน 8 ช่ัวโมง สัปดาหล์ ะ 6 วัน สามารถเลอื กวนั หยดุ ได้ สภาพการทำ� งาน ในการปฏิบัติงานของผู้ประกอบอาชีพน้ี จะต้องยืนหรือเดินขณะท�ำงาน โดยแบ่งเวลาท�ำงานในแต่ละวัน เปน็ 2 ผลดั ผลดั ละ 8 – 10 ช่ัวโมงต่อวัน และขณะปฏบิ ัติงานจะตอ้ งใส่เคร่ืองแบบพ่อครวั อยา่ งรดั กุมเหมาะสม เพ่อื ปอ้ งกนั ความร้อนและสุขอนามยั ในการประกอบอาหาร โดยใส่หมวก รองเทา้ ส้นเปดิ และถุงเทา้ ปจั จบุ นั ครวั อาหารมลี กั ษณะเปน็ ครวั เปดิ หรอื เรยี กวา่ เปน็ ครวั เอนเตอรเ์ ทน ผปู้ ระกอบอาชพี นตี้ อ้ งทำ� หนา้ ท่ี ชิมรสชาติอาหาร และจะต้องควบคุมปริมาณอาหารที่ต้องชิมเพื่อรักษาน้�ำหนัก และท�ำให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ อย่เู สมอ เพื่อความคล่องตวั ในการปฏบิ ัติงาน ซึง่ ตอ้ งแสดง มีลกั ษณะเป็น “บาร”์ อยูใ่ กลก้ ับลกู ค้า ลกู ค้าจะเหน็ เวลา ปรุงอาหาร เชน่ ครวั ญ่ปี ุน่ ใหล้ กู คา้ เห็นและจะต้องควบคุมปริมาณอาหารว่าผปู้ ระกอบอาชพี นม้ี ีสุขภาพทดี่ ี โอกาสในการมีงานท�ำ สว่ นหนงึ่ ของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 9 พ.ศ. 2545 - 2549 ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นา ธุรกจิ บริการทม่ี ีศักยภาพ มีวัตถุประสงคเ์ พอ่ื เปน็ แหลง่ สรา้ งงานและกระจายรายได้ใหม่ทส่ี �ำคญั ของประเทศ โดยมุ่ง สนบั สนุนภัตตาคารและรา้ นอาหารใหม้ ีมาตรการควบคมุ ดแู ลด้านมาตรฐานและสขุ อนามยั ของอาหาร เพอ่ื คณุ ภาพ ชีวิตที่ดีข้ึนของผู้บริโภคท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศ พร้อมทั้งส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การจัดงานเทศกาล 629 อาหารไทยให้เป็นท่ีรู้จักแพร่หลายอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง รวมทั้งมีนโยบายให้ไทยเป็นครัวของโลก ตลอดจน กำ� หนดมาตรการใหผ้ ปู้ ระกอบกจิ การรา้ นอาหารไทยตอ้ งมหี วั หนา้ พอ่ ครวั เปน็ คนไทยเทา่ นน้ั จงึ ทำ� ใหห้ วั หนา้ พอ่ ครวั หรือหัวหน้าผู้ปรุงอาหารที่เป็นคนไทยเป็นท่ีต้องการของภัตตาคารอาหารไทยทั่วโลกซ่ึงมีจ�ำนวนนับหมื่นแห่ง โดยภัตตาคารแห่งหน่ึงต้องมีหัวหน้าพ่อครัว 2 คนเพ่ือผลัดเปล่ียนหมุนเวียน ปัจจุบันมีร้านอาหารไทยทั่วโลก 6,000 แหง่ และอาจเพ่ิมเป็น 8,000 แห่ง ในอกี 2 - 3 ปีขา้ งหนา้ ดังนน้ั ผปู้ ระกอบอาชีพนที้ ีม่ ีประสบการณ์และ ความเชยี่ วชาญยงั เปน็ ทีต่ อ้ งการของตลาดแรงงานในตา่ งประเทศเปน็ จำ� นวนมาก ผทู้ ตี่ อ้ งการประกอบอาชพี นี้ ในปจั จบุ นั ทส่ี นใจประกอบอาหารและตอ้ งการเปน็ เจา้ ของธรุ กจิ ดา้ นนอ้ี าจตอ้ ง เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรประกอบอาหารระยะสั้นๆ ที่เปิดสอนในสถาบันที่กล่าวมาแล้วข้างต้นเพิ่มเติม เพราะ การเปน็ เจา้ ของธรุ กจิ การประกอบอาหารนน้ั หากมกี ารบรหิ ารจดั การทด่ี กี จ็ ะสามารถสรา้ งผลกำ� ไรใหผ้ ปู้ ระกอบการ ไดถ้ งึ 60 เปอร์เซ็นต์ คุณสมบัตขิ องผู้ประกอบอาชพี 1. มวี ฒุ กิ ารศกึ ษาขนั้ ตำ�่ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายทง้ั สายสามญั และสายอาชพี ระดบั ประกาศนยี บตั ร ประโยควชิ าชพี ชน้ั สงู ระดบั ปรญิ ญาตรี ในสาขาทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เชน่ วทิ ยาศาสตรก์ ารอาหาร คหกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี การอาหาร ฯลฯ หรอื ผ่านการอบรมจากสถาบนั สอนอาหารในต่างประเทศ 2. มีใจรกั ในอาชีพ และรักการใหบ้ รกิ าร

2ท0่ตี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน 3. มคี วามชำ� นาญและมปี ระสบการณก์ ารท�ำงานในสายงานอยา่ งน้อย 10 ปขี ึ้นไป Department of Employment 4. มีความสามารถในการพดู ภาษาองั กฤษไดด้ ี 5. มคี วามซอ่ื สัตย์ต่อตนเอง ตอ่ เพอ่ื นร่วมงาน ลูกค้า และนายจา้ ง 6. มีระเบยี บวินัยทงั้ ในการท�ำงานและการชมิ อาหาร ไม่ดม่ื แอลกอฮอล์ขณะปฏิบตั ิ 7. มีสุขภาพรา่ งกายแข็งแรงสมบรู ณ์ ไม่เปน็ โรคติดต่อรา้ ยแรง มคี วามคลอ่ งตัวในการท�ำงาน 8. รักความสะอาดทง้ั อนามยั ส่วนบุคคลและส่วนรวม 9. มีวิสัยทัศน์ และมที ัศนคติท่ดี ี 10. มมี นษุ ยสมั พนั ธด์ ี และสามารถเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ีแก่ผใู้ ตบ้ งั คบั บัญชาได้ 11. สามารถบริหารจัดการต้นทุนค่าใช้จ่ายได้ดี ตลอดทั้งการจัดสรรทรัพยากรบุคคลและวัตถุดิบได้อย่าง เหมาะสม 12. มีความกระตือรือร้น ไมด่ ูดาย และสามารถทำ� งานไดท้ กุ อย่าง 13. ควรมคี วามสงู ต้ังแต่ 155 เซนตเิ มตร สำ� หรับเพศหญงิ และ 165 เซนติเมตร สำ� หรบั เพศชาย โดยมนี ้�ำ หนกั เปน็ สดั สว่ นกับความสูงตามมาตรฐานสากล ผทู้ สี่ นใจในอาชีพน้ี ควรเตรียมความพร้อมดงั นี้ ผูท้ ่จี บการศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายสายสามัญ หรอื สายอาชีพ หรือเทียบเทา่ แลว้ เขา้ รบั การอบรม หลักสูตรการท�ำอาหารจากโรงเรียนหรือสถาบันต่างๆ ที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยาฐานะ หรือสอบคัดเลือก เข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาในมหาวิทยาลัย สถาบันราชภัฏ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ท่ีเปิดสอนสาขาวิชา วิทยาศาสตร์การอาหาร คหกรรมศาสตร์ เทคโนโลยกี าร อาหาร หรือสาขาวิชาการจัดการครัวและภัตตาคาร ภาควิชาการโรงแรม คณะอุตสาหกรรมบริการ หรือ 630 วทิ ยาลยั ดสุ ติ ธานี ทเี่ นน้ การสง่ นกั ศกึ ษาฝกึ งานในโรงแรม แ ล ะ ส า ย ก า ร บิ น ทั้ ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต ่ า ง ป ร ะ เ ท ศ กว่า 400 แห่ง เป็นเวลา 1,000 ชั่วโมง โดยนักศึกษา ผู้เข้าเรียนจะได้ศึกษาหลักสูตรการจัดการครัวและ ภัตตาคารอย่างเป็นระบบได้ตามมาตรฐานสากล ศึกษา วิชาเกี่ยวกับการประกอบอาหารตะวันตก การประกอบ อาหารเอเชีย การวางแผนและการจัดเมนู รวมถึง การควบคมุ ต้นทนุ การผลติ สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศกึ ษา - สาขาเทคโนโลยีการประกอบอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดสุ ติ - หลกั สูตรบริหารธรุ กิจบัณฑติ สาขาวิชาการจดั การครัวและภัตตาคาร วิทยาลยั ดุสติ ธานี - โรงเรยี นสอนท�ำอาหาร และวทิ ยาลัยเทคโนโลยีธุรกิจการอาหารไทยและนานาชาติ - โรงเรยี นสอนท�ำอาหารครวั วนั ดี (Wandee Culinary arts School Professional Thai Cooking) - โรงเรียนศิลปศาสตร์อาหารไทยหม่อมหลวงพวง ทนิ กร โทรศพั ท์ 0-2911-1588 - โรงเรียนสอนท�ำอาหารบ้านอาจารยล์ ักษณ์ เวบ็ ไซต์ www.lakcookingschool.com/ - โรงเรียนสอนท�ำอาหารเดอะ วี สคลู (The V school)

ทตี่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรมการ ัจดหางาน - คณะคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร Department of Employment โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ ผู้ประกอบอาชีพนี้ต้องมีความรู้ลึกซ้ึงเกี่ยวกับอาหารไทย ต้องเข้าใจศิลปวัฒนธรรมการกินอยู่ของคนไทย อาจพัฒนาการปรับปรุงอาหารได้ แต่ต้องไม่สูญเสียเอกลักษณ์ของอาหารไทยไม่ว่าเรื่องรสชาติหรือสีสัน ตลอดจน การเลือกใช้วัตถุดิบในการประกอบอาหาร และหากมีโอกาสควรเข้าประกวดแข่งขันการปรุงอาหารระดับชาติ และนานาชาติ ควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมทั้งในประเทศและต่างประเทศ จนอาจได้รับการว่าจ้างให้ไปท�ำงาน ในสถานประกอบกิจการในต่างประเทศ หรือได้รับทุนจากสถานประกอบกิจการไปศึกษาต่อในสถาบันประกอบ อาหารที่มีชือ่ เสียงตา่ ง ๆ เมื่อมีความเชี่ยวชาญมากขึ้น อาจได้รับการเสนอให้เป็นหุ้นส่วนของผู้ประกอบกิจการ หรือเป็นผู้บริหาร องค์กร หรือเป็นผอู้ ำ� นวยการของสถาบนั การศกึ ษาเกีย่ วกับอตุ สาหกรรมอาหาร อาชพี ทเี่ ก่ียวเน่ือง อาจารย์พิเศษ ท่ีปรึกษาหน่วยงานส่งเสริมการส่งออกของภาครัฐ และเอกชนผู้เช่ียวชาญ ที่ปรึกษา การจัดท�ำหลักสูตรของมหาวิทยาลัย หรือสถาบันอุดมศึกษาท่ีมีการสอนทางด้านน้ี ที่ปรึกษาโรงงานผลิต อาหารกระป๋อง โรงงานอาหารแชแ่ ข็ง โรงงานถนอมอาหารและอาหารส�ำเรจ็ รูป เจา้ ของผูป้ ระกอบการร้านอาหาร แบบแฟรนไชส์ ท่ีปรึกษาด้านโรงแรมและการท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ กรรมการผู้ตัดสินการประกวด อาหารนานาชาติ เปน็ ตน้ แหลง่ ขอ้ มูลอ่ืน ๆ 631 - สมาคมเชฟประเทศไทย เว็บไซต์ http://thailandchef.in.th - สมาคมโรงแรมไทย เวบ็ ไซต์ www.thaihotels.org

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจำ�ปี 2558/2015 เมคอัพอารต์ สิ ต์ Makeup Artist นยิ ามอาชพี แต่งหน้านักแสดงละครและนักแสดงอื่น ๆ เพ่ือท�ำให้ ใบหนา้ ดขี น้ึ หรอื ตกแตง่ และเปลยี่ นแปลงใบหนา้ ใหมเ่ พอ่ื ใชใ้ นการ แสดงภาพยนตรห์ รือการแสดงบนเวที : ตรวจดรู ายการท่ีกำ� หนด ลักษณะบุคลิกของนักแสดง ตลอดจนส่วนเสริมแต่งอื่น ๆ เช่น ผมปลอม เครา รอยแผลเป็น เป็นต้น; ท�ำการแต่งหน้าและ ตบแตง่ สว่ นเสรมิ ใหก้ ลมกลนื กบั ใบหนา้ หรอื ตามขอ้ กำ� หนดของตวั แสดง ลกั ษณะของงานท่ีทำ� เนื่องจากงานแต่งหน้ามีหลากหลายรูปแบบ ท�ำให้การท�ำงานมีความแตกต่างกันไปด้วย งานแต่งหน้าบาง สายงานอาจจะได้อย่ใู นพื้นที่ทีจ่ ัดให้ เชน่ งานแฟชั่นโชว์ หรืองานแตง่ งานที่จะมีหอ้ งท�ำงานสำ� หรับเมคอัพอาร์ติสต์ โดยเฉพาะ แต่ในบางสายงานอาจจะต้องไปต่างจังหวัดหรือออกนอกสถานที่ เช่น การแต่งหน้าให้กับภาพยนตร์ โฆษณา รายการโทรทัศน์ ท�ำให้พบปัญหาเรื่องสถานที่ไม่เอ้ืออ�ำนวยในการท�ำงาน หรือแม้แต่ปัญหาต่าง ๆ 632 ท่ีเกิดขึ้นระหว่างการท�ำงาน เราจึงต้องหาวิธีแก้ไขปัญหานั้นให้ทันเวลา มีการสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ เสมอ และงานแต่งหน้าเป็นงานที่จบในหน่ึงวัน มีเรื่องของเวลาเป็นตัวก�ำหนดการท�ำงาน จึงต้องท�ำงานได้เร็วและ ออกมาดดี ว้ ย สภาพการจ้างงาน ผลตอบแทนของเมคอัพอาร์ติสต์ข้ึนอยู่กับความยากง่ายของงาน อีกทั้งช่ือเสียงและประสบการณ์ก็จะเป็น สง่ิ ทก่ี ำ� หนดผลตอบแทนของเราไดเ้ ชน่ กนั โดยหากเปน็ เมคอพั อารต์ สิ ตฝ์ กึ หดั เรม่ิ ตน้ อาจจะอยทู่ ี่ 2,500 - 3,000 บาท ต่อหน่ึงงาน ซึ่งจะคิดเป็นการท�ำงาน 6 ชั่วโมง และหากเริ่มมีฝีมือ มีคนรู้จักบอกต่อถึงความสามารถของเรา มากข้ึน สามารถเพิ่มผลตอบแทนได้มากขึ้นตามล�ำดับ และหากก้าวขึ้นเป็นเมคอัพอาร์ติสต์แถวหน้าของวงการ แน่นอนว่าแต่ละงานที่ได้รับนั้นอาจมีผลตอบแทนถึงหลักแสนเลยทีเดียว การต้ังใจท�ำงานและพัฒนาฝีมือนั้น จงึ เปน็ ส่ิงท่สี �ำคญั มากในการท�ำงาน เพราะจะส่งผลทผี่ ลตอบแทนและงานในอนาคตเลยทเี ดยี ว สภาพการทำ� งาน เมคอพั อารต์ สิ ตส์ ว่ นมากจะเป็นงานฟรแี ลนซท์ ่เี ปล่ยี นสถานทีท่ ำ� งานไปเร่ือย ๆ แล้วแต่การว่าจ้างของลกู ค้า จะมีท้ังในและนอกสถานท่ี ซึง่ งานของเมคอัพอาร์ติสต์ มหี ลายสายมาก ทง้ั อเี วน้ ต์ งานแฟช่ันโชว์ งานถ่ายนิตยสาร โฆษณา ภาพยนตร์ ละคร รายการโทรทัศน์ ไปจนถึงแต่งหน้าเจ้าสาว งานรับปริญญา ฯลฯ ซ่ึงสายต่าง ๆ นั้น ก็ขึ้นอยู่กับความสามารถ บางคนอาจจะสามารถรับงานได้หลากหลาย หรือบางคนอาจจะมีผลงานโดดเด่น

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาพี ร ประจำ�ปี 2558/2015 ในสายนั้น ๆ หรือมีความถนัดเฉพาะกับสายนั้น ๆ ซึ่ง กรมการ ัจดหางาน สถานที่ในการท�ำงานก็จะเปล่ียนไปตามรูปแบบของงาน Department of Employment งานแตง่ หน้าบางสายงานอาจจะไดอ้ ยู่ในพื้นท่ที ่ีจดั ให้ เช่น งานแฟชน่ั โชว์ หรอื งานแต่งงาน ทจ่ี ะมหี อ้ งท�ำงานส�ำหรบั เมคอัพอาร์ติสต์โดยเฉพาะ แต่ในบางสายงานอาจจะต้อง ไปต่างจังหวัดหรือออกนอกสถานท่ี เช่น การแต่งหน้าให้ กบั ภาพยนตร์ โฆษณา รายการโทรทศั น์ ทำ� ใหพ้ บปัญหา เรือ่ งสถานทไี่ ม่เอ้ืออำ� นวยในการท�ำงาน หรอื แม้แตป่ ัญหา ตา่ ง ๆ ท่ีเกิดขึ้นระหว่างการท�ำงาน เราจึงต้องหาวิธแี กไ้ ข ปัญหานน้ั ใหท้ นั เวลา มีการสรา้ งสรรคผ์ ลงานใหม่ ๆ เสมอ และงานแต่งหน้าเป็นงานที่จบในหน่ึงวัน มีเร่ืองของเวลาเป็นตัวก�ำหนดการท�ำงาน จึงต้องท�ำงานได้เร็วและ ออกมาดดี ว้ ย โอกาสในการมงี านท�ำ ผปู้ ระกอบอาชพี เมคอพั อารต์ สิ นอกจากจะสามารถทำ� งานในกองถา่ ยละคร หรอื งานประจำ� ในวงการบนั เทงิ ในฐานะช่างแต่งหน้า ในฐานะงานประจ�ำได้แล้ว ยังสามารถรับงานแต่งหน้านอกสถานท่ี ซ่ึงสร้างรายได้มากมาย ให้กบั ช่าง จนบางราย น�ำไปใช้ต่อยอดเป็นงานประจำ� เนื่องจากมรี ายไดค้ อ่ นขา้ งดี และยงั เลือกเวลาท�ำงานไดต้ าม ทีช่ า่ งสะดวกจะรบั งานอกี ด้วย คณุ สมบัตขิ องผูป้ ระกอบอาชพี 633 1. มคี วามรบั ผดิ ชอบในการทำ� งาน และมีความตรงต่อเวลา 2. มคี วามซื่อสัตย์ตอ่ เพ่ือนรว่ มงานและนายจา้ ง ท้ังในเรื่องของผลงานและเรือ่ งของจำ� นวนเงิน 3. มคี วามออ่ นน้อมถอ่ มตนและกตัญญู 4. ชอบหาความรใู้ หมๆ่ อยู่เสมอ เปน็ คนนำ� แฟชน่ั เพราะแฟช่นั เป็นสิ่งทีเ่ ปลยี่ นไปอย่างรวดเร็ว 5. มคี วามแตกต่างและมีสไตลเ์ ปน็ ของตวั เอง 6. มคี วามรู้ดา้ นการแตง่ หน้าข้ันพ้นื ฐาน สามารถคิดคน้ เทคนคิ ใหม่ๆ ในการแตง่ หนา้ ไดเ้ สมอๆ 7. รู้จักอปุ กรณ์และคณุ สมบัตขิ องเคร่อื งส�ำอางในหลากหลายแบบ 8. มีความคดิ สร้างสรรค์ และมคี วามร้ทู างดา้ นศลิ ปะ 9. สามารถท�ำงานไดห้ ลากหลายแบบ 10. มีความอดทน เพราะเป็นการท�ำงานกบั คน สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา - สถาบันสอนแต่งหน้าทัว่ ประเทศ โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี งานเมคอัพอาร์ตสิ ตข์ ึน้ อย่กู ับการสรา้ งสรรคไ์ อเดียและพัฒนางานใหใ้ หม่โดดเด่น และมีสไตล์ เรียกไดว้ า่ ใน ปัจจุบันอายุการท�ำงานมีผลต่องานไม่มาก แต่ขึ้นอยู่กับผลงานมากกว่า หากเป็นเมคอัพอาร์ติสต์มานาน

ท20่ตี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจำ�ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน แต่ไม่มีการพัฒนางานหรือไม่มีผลงาน Department of Employment ใหม่ ๆ ท่ีแตกต่างและโดดเด่น ก็จะได้ท�ำ แต่งานซ�้ำเดิม ต้องพยายามแสดงศกั ยภาพ ของตัวเองออกมาให้คนอื่นเห็นอยู่เสมอ เพราะเมคอัพอาร์ติสต์ในเมืองไทยมีมาก แต่คนท่ีมีผลงานโดดเด่นยังมีไม่มากต้อง อาศัยจังหวะและเวลา เน่ืองจากเป็นงาน ที่เกี่ยวข้องกับคอนเน็คชั่นเม่ือผลงานโดด เด่นชัดเจนแล้วน้ันก็จะมีการส่งต่องาน แบบปากต่อปาก งานท่ีได้รับก็จะเป็นงาน ชิ้นใหญ่ข้ึน ได้แสดงฝีมือ และชัดเจน ในเรอื่ งของสไตลม์ ากขึน้ เมือ่ มีชอื่ เสยี งจนมีคนรูจ้ ักมากแลว้ กจ็ ะมีงานต่อเนือ่ งอยู่เร่ือย ๆ และหากไม่หยดุ พฒั นางาน ก็จะสามารถกา้ วขนึ้ เปน็ เมคอพั อาร์ติสต์ระดบั แถวหน้าไดไ้ มย่ ากนกั อาชีพท่เี กยี่ วเนอ่ื ง ช่างท�ำผม สไตลล์ สิ ต์ ช่างแตง่ ตัว แหล่งข้อมลู อน่ื ๆ - สถาบนั สอนแตง่ หน้า International Makeup Center เวบ็ ไซต์ www.internationalmakeupcenter. se/th/kurser/ 634 - เว็บไซต์ www.makeupartist.in.th/ - เว็บไซตส์ ถาบนั สอนแตง่ หน้าทว่ั ประเทศ - เวบ็ ไซต์สาธติ การแต่งหน้าของช่างแต่งหน้า

ที่ตลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment เลขานกุ าร Secretary นยิ ามอาชพี ท�ำหน้าท่ีอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้บริหารของ องคก์ รในการบรหิ ารจดั การงานขององคก์ รใหบ้ รรลผุ ลส�ำเรจ็ ตามนโยบายและเป้าหมายขององค์กร ตลอดจนช่วยแก้ไข ปัญหาอุปสรรคในการบริหารจัดการให้เป็นไปด้วย ความราบรื่นและรวดเรว็ ลักษณะของงานทท่ี ำ� ตรวจสอบงานเป็นประจ�ำ เพ่ือป้องกันความผิดพลาด ท�ำการนัดหมาย และจัดตารางการนัดหมายให้ ผบู้ งั คบั บญั ชา เตอื นการนดั หมายใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาทราบถงึ ก�ำหนดการนดั หมายใหท้ ราบลว่ งหนา้ ตดิ ตอ่ สอบถามงาน ทางโทรศพั ท์ หรอื ทางอนิ เทอรเ์ นต็ บนั ทกึ งานจากผบู้ งั คบั บญั ชาโดยใชช้ วเลขแลว้ น�ำมาจดั พมิ พ์ รา่ งจดหมายโตต้ อบ ทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศท่ีองค์กรใช้เป็นประจ�ำ ดูแลรับผิดชอบจัดแฟ้มเอกสาร จัดการประชุม เตรียมเอกสารในการประชุมของผู้บงั คบั บญั ชา การจัดท�ำรายงานการประชมุ จัดการ และดูแลเอกสารที่เป็นส่วนตวั และท่ีส�ำคัญแก่ผูบ้ ังคบั บัญชา เจรจาโต้ตอบ และการนดั หมายธรุ กิจ ประสานงานกบั เจา้ หนา้ ทีใ่ นองคก์ รทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 635 กบั งานของผบู้ งั คบั บญั ชา ตอ้ งมคี วามเขา้ ใจถงึ ธรรมชาตแิ ละภาระหนา้ ทข่ี องทงั้ ผบู้ งั คบั บญั ชาและองคก์ รทต่ี นปฏบิ ตั ิ อยู่และรู้จักการแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้ง เม่ือปฏิบัติงานจนได้รับความวางไว้ใจของผู้บังคับบัญชาแล้วอาจได้รับมอบ หมายให้ท�ำงานแทนได้ในบางกรณี สภาพการจา้ งงาน ในส่วนงานราชการจะได้รับเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา แต่ในองค์กรธุรกิจเอกชนจะได้รับเงินเดือน มากกว่า 1 - 2 เท่า คอื ประมาณ 15,000 - 21,000 บาท อาจมีคา่ ลว่ งเวลา และโบนสั และไดร้ ับสวัสดกิ ารตาม ระเบียบของทางราชการ หรืออย่างต่ำ� ตามกฎหมายแรงงาน ส�ำหรบั ภาคเอกชน ถา้ จะตอ้ งตดิ ตามผู้บรหิ ารไปปฏบิ ัติ งานนอกพนื้ ท่ี หรือในต่างประเทศ กจ็ ะไดร้ ับคา่ เบีย้ เลี้ยง ค่าที่พัก ค่าพาหนะ ค่าเดนิ ทาง เวลาทำ� งานเปน็ ไปตามกฎเกณฑ์ขององค์กร ซง่ึ มชี ่วั โมงท�ำงานปกติไมเ่ กินวันละ 8 ช่วั โมง สปั ดาห์ละไมเ่ กิน 48 ชั่วโมง แต่ผู้ปฏิบัติงานเลขานุการ อาจจะต้องท�ำงานนอกเวลาท�ำงานปกติและวันหยุด ขึ้นอยู่กับภารกิจ ของผู้บรหิ าร หรือผบู้ งั คับบญั ชา สภาพการทำ� งาน ตอ้ งทำ� งานภายใตส้ ภาวะความกดดนั เนอ่ื งจากตอ้ งมคี วามรบั ผดิ ชอบสงู และตอ้ งพบกบั บคุ คลหลายประเภท ซึ่งมีบุคลิกและอารมณ์ท่ีแตกต่างกัน อีกทั้งต้องค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้บังคับบัญชาและองค์กรจึงต้องใช้

ท20ต่ี 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน ความสุขุม ละเอียด รอบคอบ และอดทน นอกจากนี้ต้องท�ำงานให้เสร็จทันต่อเวลา เม่ืองานไม่เสร็จในเวลาท่ี Department of Employment มอบหมายก็ตอ้ งทำ� งานนอกเวลา เพื่อให้งานทร่ี ับมอบหมายแล้วเสรจ็ ประสานงานทั้งภายในและภายนอกองค์กรด้วยมนุษยสัมพันธ์ที่ดี เพ่ือให้งานส�ำเร็จตามเป้าหมาย ต้องท�ำ หน้าทเี่ สมอื นเป็นประชาสมั พนั ธใ์ หผ้ ้บู ังคับบัญชาและองค์กร เม่ือท�ำการนัดหมาย ตดิ ต่อทางธรุ กจิ และอาจจะต้อง มกี ารเดินทางไปทำ� งานในตา่ งจงั หวัดและตา่ งประเทศได้ในบางโอกาส โอกาสในการมงี านทำ� ปัจจุบันองค์กรท้ังท่ีเป็นองค์กรธุรกิจเอกชน และรัฐวิสาหกิจทางธุรกิจ และรัฐวิสาหกิจ ต้องการผู้มีความ สามารถในการท�ำงานต�ำแหน่งเลขานกุ ารเฉพาะด้านมากข้นึ ตามประเภทธรุ กิจขององคก์ ร คอื องค์กรประกอบธุรกจิ ด้านใดกต็ อ้ งการผู้มีคุณสมบัตกิ ารศกึ ษาทางด้านนั้น ๆ บางองคก์ รจะรบั เลขานกุ ารทจี่ บปรญิ ญาตรสี าขาใดกไ็ ด้ แตต่ อ้ งพดู อา่ น เขยี นภาษาตา่ งประเทศ และสอ่ื สาร ได้ดี แนวโนม้ ในการวา่ จ้างเลขานกุ ารในปจั จุบนั ได้ปรับเปล่ียนไปตามรปู แบบและงานธุรกจิ ขององค์กร คือมกี ารวา่ จ้างผู้ท่ีไม่จ�ำเป็นต้องเรียนหรือจบสาขาวิชาชีพเลขานุการเสมอไป แต่ผู้สนใจในเลขานุการ -Secretaryควรท่ีจะ เข้ารับการอบรมในหลกั สูตรเลขานุการ เพ่อื เรยี นรกู้ ารท�ำงาน ในหน่วยงานของภาคราชการนั้น ไม่มีต�ำแหน่งเลขานุการของผู้บริหารโดยเฉพาะ แต่ผู้บริหารอาจแต่งต้ัง เจา้ หนา้ ทผี่ ูใ้ ดก็ไดใ้ ห้ท�ำหน้าท่เี ลขานกุ ารของตนได้ สำ� หรบั รฐั วิสาหกจิ มหาวทิ ยาลยั วิทยาลัย กเ็ ป็นเช่นเดียวกันกับ ภาคราชการ ส่วนในองค์กรเอกชนอาจจะมีการว่าจ้างงานผู้ปฏิบัติงานต�ำแหน่งเลขานุการของผู้บริหารระดับต่างๆ เช่น เลขานุการของกรรมการบริหาร เลขานุการผู้จัดการประจ�ำฝ่ายหรือแผนก หรือเลขานุการฝ่ายหรือแผนก ท่ีส�ำคัญ ๆ ในองค์กร คือจะท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการส่วนกลาง เช่น เลขานุการฝ่ายการตลาด เลขานุการฝ่ายขาย หรือเลขานกุ ารกองบรรณาธิการ 636 สำ� หรบั ผ้บู ริหารระดบั สูงในองค์กรใหญ่ ๆ หรือนักธรุ กจิ ข้ามชาตจิ �ำเป็นตอ้ งมเี ลขานุการตำ� แหน่งละ 1 คน หรืออาจมีเลขานุการส่วนตัวด้วย ท�ำให้มีการว่าจ้างงานในต�ำแหน่งเหล่านี้อยู่ในเกณฑ์สูงขององค์กรธุรกิจน้ัน ๆ ซ่งึ ต้องการผู้มีประสบการณใ์ นหน้าท่ีเลขานกุ ารอย่างนอ้ ย 3 - 5 ปี ผสู้ นใจในการประกอบเลขานกุ าร อาจสมคั รงานกบั บรรษทั ขา้ มชาติ ธนาคาร และองคก์ รดา้ นการเงนิ บรษิ ทั หา้ งรา้ นในนคิ มอตุ สาหกรรมทตี่ งั้ อยใู่ นพน้ื ทท่ี ว่ั ทกุ ภาค ดงั นนั้ จงึ อาจกลา่ วไดว้ า่ โอกาสในการมงี านทำ� ของเลขานกุ าร ยังคงมีอยู่ตลอดเวลา อย่างไรก็ดี ผู้ประกอบเลขานุการจะมีความก้าวหน้าในการท�ำงานได้ต้องขวนขวาย หาความรหู้ รอื ศกึ ษางานเพอ่ื ตามใหท้ นั เหตกุ ารณข์ องโลกหรอื หนว่ ยราชการทตี่ นสงั กดั อยู่ จะไดน้ ำ� มาใชป้ ระโยชนใ์ น งานที่ตนรับผิดชอบใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย และรวดเรว็ คุณสมบตั ิของผ้ปู ระกอบอาชพี 1. ต้องมีวุฒิการศึกษาอยา่ งนอ้ ยประกาศนียบัตรวิชาชีพทางเลขานกุ าร จนถึงปริญญาตรี หรือปริญญาโท ขึน้ อยู่กับลักษณะงานขององค์กร ขนาดขององค์กร และระดบั ผ้บู ริหาร 2. มีความรงู้ านขององคก์ รทท่ี ำ� งานอยู่ 3. สามารถใชช้ วเลข และใชภ้ าษาได้มากกวา่ หนงึ่ ภาษาคอื ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ เชน่ องั กฤษ ญ่ีปนุ่ หรอื จีน เปน็ ต้น ขนึ้ อยู่กบั การประกอบธุรกจิ ขององค์กรนัน้ ซง่ึ ต้องส่ือสารไดท้ ้ังการเขียนและการพูด 4. เป็นผมู้ บี คุ ลกิ และอุปนสิ ัยท่ีดี รจู้ ักกาลเทศะและมปี ฏิภาณไหวพริบ คลอ่ งแคล่วทกุ ดา้ น

ที่ตลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาพี ร ประจำ�ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน Department of Employment 5. มีความรับผดิ ชอบงานดีมาก อดทน ทำ� งานภายในสภาพกดดนั สงู ได้ และมมี นษุ ยสัมพันธ์ดี 6. ต้องใช้อุปกรณ์ส�ำนักงานท่ีจำ� เป็นตอ่ งานและสามารถใชค้ อมพวิ เตอร์ และโปรแกรมต่าง ๆ ได้ 7. สามารถใหค้ ำ� ปรกึ ษาแนะนำ� แกผ่ บู้ งั คบั บญั ชา ตลอดจนการแกไ้ ขปญั หาอปุ สรรคของงานในความรบั ผดิ ชอบของผบู้ งั คับบญั ชา 8. มีความสามารถในการเก็บความลับของผ้บู งั คับบัญชา และองค์กร 637 9. มีความสามารถในการตอ้ นรับผมู้ าติดตอ่ เพ่ือสรา้ งภาพลักษณ์ของผบู้ งั คับบญั ชา และองคก์ ร 10. มคี วามสามารถในการสรา้ งความสัมพันธอ์ นั ดีระหวา่ งบุคคล หรอื องค์กรท่ีมาตดิ ต่อ 11. มีความสามารถในการประชาสัมพันธ์ เพ่ือประโยชนข์ องผูบ้ งั คับบัญชา และองคก์ ร 12. เป็นผู้อทุ ิศเวลาให้แก่การท�ำงาน สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบนั การศกึ ษา ผทู้ จ่ี ะประกอบเลขานกุ าร ควรเตรยี มความพรอ้ มคอื : สำ� หรบั ผจู้ บการศกึ ษาทมี่ วี ฒุ กิ ารศกึ ษาไมต่ รงกบั สาขา วิชาเลขานุการ ท้ัง ปวส. หรือในระดับปริญญาตรี สามารถเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรเลขานุการระยะส้ันจาก โครงการการศกึ ษาต่อเน่อื งตามมหาวิทยาลยั ตา่ งๆ หรือสถาบันท่กี ระทรวงศึกษาธิการให้การรับรองเพิม่ เตมิ ได้ โอกาสความก้าวหน้าในอาชพี เมอ่ื มปี ระสบการณก์ ารทำ� งานตงั้ แต่ 2 - 5 ปี ขนึ้ ไป อาจเลอ่ื นตำ� แหนง่ เปน็ เลขานกุ ารของผบู้ รหิ าร (Secretary to Executive) หรอื ถา้ มีประสบการณ์มาก อาจได้เลื่อนตำ� แหน่งเปน็ เลขานุการของกรรมการผู้จดั การ (Secretary to Managing Director) หรือผู้บริหารระดับสูง ซ่ึงจะได้รับเงินเดือนตามอายุการท�ำงานตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงสูงสุด คือประมาณตั้งแต่ 15,000 - 80,000 บาท หรืออาจมากกว่าน้ีในบรรษัทข้ามชาติ เช่น บริษัทน้�ำมัน ธนาคาร บรรษทั อตุ สาหกรรม เปน็ ตน้

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ตี่ 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 อาชีพทเี่ กยี่ วเนื่อง องค์กรมืออาชีพอิสระที่จัดการประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ จะจัดจ้างผู้ท่ีท�ำหน้าท่ีเลขานุการในการ ประชมุ ใหญ่ ๆ ไวบ้ ริการเฉพาะกิจ ในศนู ย์การจดั ประชมุ ระดบั ชาติ ซงึ่ เลขานกุ ารเหลา่ นจ้ี ะไดร้ ับค่าจา้ งทีค่ อ่ นขา้ งสงู อนั เป็นอกี ทางเลอื กหน่งึ ในการท�ำงานที่ท้าทาย นอกจากน้ี ผ้ทู ม่ี ีความสามารถทางภาษา อาจใชค้ วามรคู้ วามช�ำนาญ ทำ� งานแปลเอกสาร หรือท�ำงานเป็นล่ามเฉพาะบุคคล กลมุ่ บุคคล หรือในทป่ี ระชุมนานาชาติ แหล่งขอ้ มูลอนื่ ๆ - หนังสอื พิมพ์ และแหลง่ งานทางอินเทอรเ์ นต็ - สมาคมเลขานกุ ารแหง่ ประเทศไทย 638