นโยบายอตั ราแลกเปล่ยี นของประเทศกาลงั พฒั นา
นโยบายอัตราแลกเปลย่ี นของประเทศกาลังพฒั นา • ประเทศกาลงั พฒั นามกั มีระบบเศรษฐกิจขนาดเลก็ ระบบอตั ราแลกเปล่ียนที่ เหมาะสมน่าจะเป็นการใชน้ โยบายอตั ราแลกเปล่ียนคงที่โดยอิงค่าเงินกบั เงินสกลุ หลกั ซ่ึงจะทาใหร้ าคาในประเทศมีเสถียรภาพ นกั ลงทุนมีความเช่ือมนั่ ในค่าเงิน • แต่การปล่อยใหอ้ ตั ราแลกเปลี่ยนลอยตวั มีขอ้ ดีทอี่ ตั ราแลกเปลี่ยนท่ียดื หยนุ่ ไดจ้ ะ เป็นฉนวนป้องกนั ความผนั ผวนจากภายนอกได้ • ประเดน็ ท่ีควรพจิ ารณาวา่ ประเทศกาลงั พฒั นาควรจะใชอ้ ตั ราแลกเปล่ียนแบบใดมี 2 ประเดน็ คือ ▫ (1) ถา้ ตอ้ งการอิงค่าเงินไวก้ บั เงินสกลุ หลกั ควรอิงไวก้ บั เงินสกลุ ใด หรือถา้ อิงกบั ตะกร้าของเงินตราต่างประเทศ สดั ส่วนของเงินตราต่างประเทศในตะกร้าควรเป็น เท่าไร ▫ (2) ถา้ จะใหอ้ ตั ราแลกเปลี่ยนลอยตวั ควรจะปล่อยลอยตวั อิสระหรือจะยงั มีการ แทรกแซงอยบู่ า้ ง
นโยบายอัตราแลกเปลย่ี นของประเทศกาลังพฒั นา • ทางเลือกของประเทศกาลงั พฒั นามี 3 แนวทางคือ 1. ถา้ ประเทศคา้ ขายกบั ประเทศใดมากกอ็ ิงค่าเงินกบั เงินตราของประเทศคู่คา้ 2. อิงค่าเงินไวก้ บั ตะกร้าเงินตราต่างประเทศหลายๆสกลุ 3. ประเทศกาลงั พฒั นาที่มีระบบเศรษฐกิจค่อนขา้ งใหญ่เลือกใชร้ ะบบอตั รา แลกเปลี่ยนลอยตวั และแทรกแซงเป็นคร้ังคราว
นโยบายอัตราแลกเปลย่ี นของประเทศกาลังพฒั นา • ประเทศกาลงั พฒั นาหลายประเทศไม่เห็นดว้ ยกบั การใชร้ ะบบอตั ราแลกเปล่ียน ลอยตวั ▫ ความไม่แน่นอนในรายไดจ้ ากการส่งออก รายจ่ายเพื่อการนาเขา้ มูลค่าของเงินสารอง ระหวา่ งประเทศ ▫ อตั ราแลกเปลี่ยนที่ยดื หยนุ่ ไดจ้ ะนาไปสู่การแบ่งเขตเงินตรา (currency area) ใน ลกั ษณะท่ีแต่ละเขตเงินตราจะประกอบดว้ ยประเทศท่ีมีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ (ประเทศ พฒั นาแลว้ ) 1 ประเทศและประเทศบริวารอีกจานวนหน่ึง ในเขตเศรษฐกิจแต่ละเขต ประเทศบริวารคา้ ขายกบั ประเทศที่พฒั นาแลว้ โอกาสท่ีประเทศบริวารในเขตหน่ึง คา้ ขายกบั ประเทศบริวารในอีกเขตหน่ึงมีนอ้ ย เพราะอยกู่ นั คนละเขตเงินตราและอตั รา แลกเปล่ียนลอยตวั ระหวา่ งกนั ในท่ีสุดประเทศกาลงั พฒั นาตอ้ งพ่ึงพาประเทศที่พฒั นา แลว้ ที่อยใู่ นเขตเศรษฐกิจเดียวกนั มากเกินไป
นโยบายอัตราแลกเปลยี่ นของประเทศกาลังพฒั นา • ประเทศกาลงั พฒั นาหลายประเทศไม่เห็นดว้ ยกบั การใชร้ ะบบอตั ราแลกเปลี่ยน ลอยตวั ▫ ความกลวั ในการจดั การกบั เงินสารองระหวา่ งประเทศและหน้ีต่างประเทศ เมื่อ อตั ราแลกเปลี่ยนยดื หยนุ่ ได้ มูลค่าเงินสารองระหวา่ งประเทศและมูลค่าหน้ี ต่างประเทศมีค่าไม่แน่นอนข้ึนกบั การเคล่ือนไหวของอตั ราแลกเปล่ียนในแต่ละ ช่วงเวลา ▫ การพฒั นาตลาดเงินตราต่างประเทศใหท้ างานอยา่ งมีประสิทธิภาพภายใตอ้ ตั รา แลกเปล่ียนลอยตวั ไม่ใช่เรื่องง่ายสาหรับประเทศกาลงั พฒั นา • ประเทศกาลงั พฒั นาส่วนใหญ่เลือกใชร้ ะบบการกาหนดค่าเงินใหค้ งท่ีโดยอิงค่าเงิน ไวก้ บั เงินสกลุ หลกั ประเทศเหล่าน้ีเลือกที่จะทิ้งเป้าหมายการดาเนินนโยบาย การเงินอยา่ งอิสระเพื่อแลกกบั เสถียรภาพดา้ นราคาและอตั ราแลกเปล่ียน
นโยบายอตั ราแลกเปล่ยี นของไทย
ระบบอัตราแลกเปล่ยี นของไทยช่วงหลังสงครามโลกครั้งทส่ี อง • ภายหลังสงครามโลกครั้งทส่ี องไทยใช้ระบบอัตราแลกเปลยี่ นหลายอัตรา (multiple exchange rate system) อัตราราชการ: 12.50 บาท/ดอลลาร,์ อตั ราตลาดเสรีกาหนดโดยอุป สงคอ์ ุปทานตลาด • ปี พ.ศ. 2492 ไทยสมคั รเป็ นสมาชิกกองทุนการเงนิ ระหวา่ งประเทศ( IMF ) แต่ยังไม่ พร้อมประกาศคา่ เสมอภาค • ปี พ.ศ. 2498 เมอื่ ปัญหาการขาดแคลนเงนิ ตราตา่ งประเทศบรรเทาลง รัฐบาลจงึ เร่ิมใช้ นโยบายการค้าและการเงนิ ระหว่างประเทศทเ่ี สรีมากขึน้ โดยยกเลกิ ระบบอตั รา แลกเปล่ยี นหลายอัตราและจดั ตงั้ “ทุนรักษาระดบั อัตราแลกเปลย่ี นเงนิ ตรา” (Exchange Equalization Fund หรือ EEF) เพอื่ แทรกแซงในตลาดเงนิ ตราตา่ งประเทศใหค้ ่าเงนิ บาทมี เพยี งอัตราเดยี วและมเี สถยี รภาพมากขึน้
ไทยใช้ระบบอตั ราแลกเปลยี่ นต่างๆแบ่งเป็ น 6 ระยะ ดงั นี้ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2498-2506 หรือ ค.ศ. 1955-1963 ) แมว้ า่ จะเป็นสมาชิกIMF แลว้ แต่ไทยกย็ งั ไม่สามารถกาหนดคา่ เสมอภาคของเงินบาทได้ เนื่องจากรัฐบาลในยคุ น้นั เห็นวา่ ฐานะการเงินของประเทศยงั ไม่มน่ั คงเพียงพอ ธปท. พยายามรักษา ค่าเงินบาทไวท้ ี่ 20 บาท/ดอลลาร์ ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2506-2521 หรือ ค.ศ. 1963-1978 ) ในเดือนตลุ าคม ปี พ.ศ. 2506 รัฐบาลไทยตกลงกาหนดคา่ เสมอภาคของเงินบาทตามพนั ธะ ที่มีกบั IMF 1 บาท = ทองคา 0.0427245 กรัม หรือ 20.80 บาทต่อดอลลาร์ band เท่ากบั 1% ในช่วง 10ปี แรกของยคุ น้ี เงินบาทมีคา่ คอ่ นขา้ งคงที่ แต่เมื่อมีการยกเลิกระบบเบรตเตน็ วดู ส์ และมีขอ้ ตกลงช่ือ Smithsonian Agreement ไทยจึงไดล้ ดค่าเงินบาทตามการลดค่าของเงินดอลลาร์ การลดคา่ เงินคร้ังท่ี 1: 2514 ลดค่าเงินบาท 1 บาท = ทองคา 0.0395516 เพอื่ รักษาอตั รา แลกเปลี่ยน 20.80 บาทต่อดอลลาร์เดิม และเปล่ียนแปลง band เป็น 2.25%
ระยะท่ี 2 (พ.ศ. 2506-2521 หรือ ค.ศ. 1963-1978 ) การลดคา่ เงินคร้ังที่ 2: 2516 ประกาศลดคา่ เงินอีก 10% ตามการลดค่าเงินดอลลาร์ การเพิ่มคา่ เงินบาท : ก.ค. 2516 การลดคา่ เงินไม่ช่วยใหด้ ุลการคา้ ปรับตวั ดีข้ึน สถานการณ์ การเงินระหวา่ งประเทศยงั คงวนุ่ วาย มีการเกง็ กาไรคา่ เงินต่อเน่ือง ประกาศเพม่ิ คา่ เงินเป็น 20 บาท/ ดอลลาร์ ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2521-2524 หรือ ค.ศ. 1978-1981 ) ภายหลงั การยกเลิกระบบเบรตเตน็ วดู ส์ เงินสกลุ สาคญั ของโลกมีค่าผนั ผวนมากข้ึน ประเทศไทยตอ้ งเผชิญกบั ปัญหาวกิ ฤติการณ์พลงั งานถึงสองคร้ัง ก่อใหเ้ กิดปัญหาการชาระเงิน ระหวา่ งประเทศเร้ือรัง ในปี พ.ศ. 2521 ธปท. ยกเลิกกาหนดคา่ เสมอภาค และหนั มาใชร้ ะบบอตั ราแลกเปลี่ยนให้ มีความยดื หยนุ่ มากข้ึนโดยผกู คา่ เงินบาทไวก้ บั ตะกร้าเงิน (basket) ใชว้ ธิ ีกาหนดค่าเงินประจาวนั ร่วมกนั กบั ธนาคารพาณิชย์ ในระบบ daily fixing
ระยะท่ี 4 (พ.ศ. 2524-2527 หรือ ค.ศ. 1981-1984 ) ต่อมาเมื่อเงินดอลลาร์แขง็ ข้ึนและไทยมีปัญหาขาดดุลการคา้ รุนแรงมากเน่ืองมาจาก วกิ ฤติการณ์น้ามนั คร้ังท่ี 2 ทาใหเ้ งินบาทเร่ิมมีแนวโนม้ อ่อนตวั เทียบกบั ดอลลาร์ มีการเกง็ กาไรเงินบาท มากข้ึน ธปท.ตอ้ งขายเงินดอลลาร์ออกไปอยา่ งมากและอยา่ งต่อเนื่องเพอ่ื รักษาคา่ เงินบาทไว้ เป็นเหตุให้ เงินสารองระหวา่ งประเทศลดลงอยา่ งฮวบฮาบ ธปท.จึงตอ้ งยกเลิกระบบ ระบบ daily fixing ประกาศลดคา่ เงินจาก 21 บาท/ดอลลาร์ เป็น 23 บาท/ดอลลาร์ และใหท้ ุนรักษาระดบั อตั ราแลกเปลี่ยนเป็นผกู้ าหนดอตั ราแลกเปลี่ยนเอง เศรษฐกิจยา่ แย่ วกิ ฤตการณ์น้ามนั วกิ ฤตการณ์สถาบนั การเงิน ระยะท่ี 5 (พ.ศ. 2527-2540 หรือ ค.ศ. 1984-1997 ) เปล่ียนมาใชร้ ะบบอตั ราแลกเปลี่ยนแบบอิงกบั ตะกร้าเงิน ผกู คา่ งินไวก้ บั เงินตราหลายสกลุ เพอื่ ใหอ้ ตั ราแลกเปลี่ยนของเงินบาทยดื หยนุ่ และเป็นอิสระจากเงินดอลลาร์มากข้ึน ลดคา่ เงินบาทเป็น 27 บาท/ดอลลาร์ เมื่อสถานการณ์ทางเศรษฐกิจดีข้ึน รัฐบาลเริ่มเปิ ดเสรี ทางการเงินโดยการยกเลิกการควบคุมอตั ราดอกเบ้ีย และการเปิ ดเสรีดา้ นบญั ชีทุนทาใหม้ ีการไหลของ ทุนเขา้ ออกไดส้ ะดวกข้ึน มีการจดั ต้งั วเิ ทศธนกิจ (international banking facilities) เพ่ือส่งเสริมใหไ้ ทย เป็นศูนยก์ ลางทางการเงินของภูมิภาค เศรษฐกิจไทยขยายตวั อยา่ งรวดเร็ว บญั ชีเดินสะพดั ขาดดุลอยา่ ง ต่อเน่ือง เงินต่างชาติไหลเขา้ มาก ก่อใหเ้ กิดการเกง็ กาไรในกิจกรรมต่างๆ
ระยะท่ี 6 (พ.ศ. 2540-ปัจจุบัน หรือ ค.ศ. 1997-ปัจจุบนั ) ต้งั แต่ปี 2539 การส่งออกหดตวั เกิดปัญหาความเชื่อมน่ั ในหมู่นกั ลงทุน มีการเกง็ กาไรค่าเงินบาทต้งั แต่ตน้ ปี พ.ศ. 2540 ทาให้ ธปท.สูญเสียเงินสารองระหวา่ ง ประเทศเป็นจานวนมาก ธปท.พยายามพยงุ ค่าเงินบาทโดยการขายดอลลาร์ล่วงหนา้ แต่กไ็ ม่สามารถ สร้างความเชื่อมนั่ ในค่าเงินบาทได้ จนในที่สุดตอ้ งประกาศลอยตวั ค่าเงินบาทในวนั ท่ี 2 ก.ค. 2540 ทาใหค้ า่ เงินบาทลดคา่ อยา่ งมาก เศรษฐกิจเขา้ สู่วกิ ฤติการณ์ โดยภาวะเงินเฟ้อรุนแรงข้ึน ธุรกิจประสบปัญหาไม่สามารถ ชาระหน้ีคืนได้ กิจการลม้ ละลายเป็นจานวนมาก เศรษฐกิจหดตวั จนตอ้ งขอรับความช่วยเหลือจาก IMF และมีการเปลี่ยนมาใชอ้ ตั ราแลกเปล่ียนลอยตวั แบบมีการจดั การ (managed float) คือปล่อยให้ ค่าเงินถูกกาหนดโดยกลไกตลาด แต่มีการแทรกแซงเม่ือเห็นสมควร
Search