Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore COMputer tools

COMputer tools

Published by Suchaya Pornphong, 2023-07-26 17:13:19

Description: COMputer tools

Search

Read the Text Version

COANMDPUETQERUIPTMOENOLTS PANISARA MEEPHO 4641071141111 SUCHAYA PORNPHONG 4641071141121

HARDWARE INPUT UNIT CPU : Central Processing Unit Memory Unit Secondary Memory Unit Output Unit

HARDWARE เครื่องมือและอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อช่วยให้ ทำงานได้เร็วสะดวกและแม่นยำมากขึ้นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานอย่างได้ มีประสิทธิภาพต้องเรียนรู้และเข้าใจส่วนประกอบวิธีการทำงานของคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆมากมาย ซึ่งแต่ละส่วนก็จะมีหน้า ที่และความสำคัญแตกต่างกันไป จึงจำเป็นจะต้องมีความเข้าใจถึงหน้าที่การ ทำงานของอุปกรณ์แต่ละส่วนเพื่อเป็นความรู้พื้นฐานก่อนที่จะพิจารณาเลือกซื้อ อุปกรณ์เหล่านี้มา ประกอบเครื่องได้อย่างมีประสิทธิภาพ ฮาร์ดแวร์(Hardware) หมายถึงโครงสร้างของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ สามารถมองเห็นและจับต้องได้เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ จอคอมพิวเตอร์และตัวเครื่อง นอกจากนี้ยังประกอบด้วยอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆที่ช่วยเสริมให้คอมพิวเตอร์ ทำงานได้กว้าง และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เช่น เครื่องสแกนเนอร์เครื่องดิจิไตส์ เซอร์ชุดมัลติมีเดีย อุปกรณ์สื่อสารอื่นๆดังนั้น ส่วนประกอบของเครื่อง คอมพิวเตอร์แบ่งตาม หน้าที่การทำงานของเครื่องได้ดังนี้

INPUT UNIT c หน่วยรับข้อมูล เป็นอุปกรณ์รับเข้าทำหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์รับเข้าที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่ คือ แป้นพิมพ์ ( Keyboard ) และเม้าส์ ( Mouse) นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์รับเข้าอื่น ๆ อีก ได้แก่ สแกนเนอร์( Scanner), วีดีโอคาเมรา (Video Camera), ไมโครโฟน (Microphone) ,ทัชสกรีน (Touch screen), แทร็คบอล (Trackball), ดิจิตเซอร์เท เบิ้ล แอนด์ ครอสแชร์(Digiter tablet and crosshair) แป้นพิมพ์ จอยสติก (Joystick) แป้นพิมพ์จะรับข้อมูลจากกดแป้นแล้วทำการเปลี่ยนเป็นรหัสสัญญาณทาง ไฟฟ้า เป็นก้านสำหรับใช้โยกขึ้นลงและซ้ายขวาเพื่อย้าย เพื่อส่งเข้าไปในหน่วยประมวลผลของเครื่องแป้นพิมพ์ส่วนใหญ่จะถูกออกแบบแป้น ตำแหน่งของตัวชี้ตำแหน่งบนจอภาพหลักการทำงาน เป็นกลุ่มคือ เช่นเดียวกับเมาส์แต่ต่างกันตรงมีแป้นกดเพิ่มเติมมาจำนวนหนึ่งสำหรับสั่งงาน - แป้นอักขระ (Character Keys) พิเศษ นิยมใช้กับการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ หรือควบคุมหุ่นยนต์ - แป้นควบคุม (Control Keys) - แป้นฟังก์ชั่น (Function Keys) จอภาพระบบสัมผัส(Touch Screen) - แป้นตัวเลข (Numeric Keys) เป็นจอภาพแบบพิเศษซึ่งผู้ใช้เพียงแตะปลายนิ่ว สไตลัส (Stylus) ลงบนจอภาพในตำแหน่งที่กำหนดไว้เพื่อเลือกการ ทำงานที่ต้องการซอฟต์แวร์ที่ใช้จะเป็นตัวค้นหาว่า เป็นปากกาที่ใช้กับแท็บแล็ตและอุปกรณ์ ผู้ใช้เลือกทางใดและสั่งให้ทำงานตามนั้นจอภาพระบบสัมผัสนี้ในปัจจุบันเป็นที่ เคลื่อนที่ต่าง ๆ ซึ่ง ใช้แรงกดในการวาดบน นิยมกันมาก สมาร์ทโฟนหรือแท็บแล็ต หน้าจอ สามารถใช้ร่วมกับซอฟต์แวร์รู้จำลายมือ (handwriting recognition software) เพื่อแปลงจากลายมือที่วาดหรือเขียนให้อยู่ใน รูปแบบที่หน่วย เม้าส์ (Mouse) ระบบสามารถประมวลผลได้ ผู้ใช้เพียงแต่เลื่อนเมาส์ ที่จอภาพจะปรากฏเป็น (ตัTวเoลื่uอcนhเมinาgส์พPอaยdท์)เตอร์แบบสัมผัส ลูกศร เรียกว่าตัวชี้เมาส์ (Mouse Pointer) เคลื่อนที่ไป มาบนจอภาพในทิศทางเดียวกันกับที่ผู้ใช้ เมาส์เลื่อนไป เมื่อตัวชี้เมาส์เลื่อนออกไป เป็นอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์กระเป๋าหิ้ว อยู่ยังตำแหน่งที่ต้องการ ให้ผู้ใช้กดปุ่มด้านซ้าย ที่อยู่บนตัวเมาส์ (คลิก) เพื่อเลือก (Note book) ซึ่งใช้งานแทนเมาส์ มีลักษณะเป็นแผ่นสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ รายการนั้น ๆ ขึ้นมา ด้านล่างมีปุ่มอยู่ 2 ปุ่ม ทำหน้าที่เหมือนกับปุ่มซ้ายและขวาของเมาส์ สามารถเลื่ อนเมาส์พอยท์เตอร์ได้โดยการสัมผัสที่แผ่นสี่เหลี่ยม

ปากกาแสง (Light pen) เครื่องอ่านอาร์เอฟไอดี (RFID readers) ใช้เซลล์แบบซึ่งมีความไวต่อแสงเป็นตัวกำหนด เป็นเครื่องอ่านความถี่คลื่นวิทยุซึ่ง จะอ่านข้อมูล ตำแหน่งบนจอภาพ รวมทั้งสามารถใช้วาดลักษณะหรือ จากไมโครงชิปอาร์เอฟไอดีที่ฝังอยู่ในอุปกรณ์หรือสิ่ง รูปแบบของข้อมูลให้ปรากฏบนจอภาพ การใช้งานทำได้ ต่าง ๆ เช่น สินค้า ใบขับขี่ บัตรประชาชน เป็นต้น โดยการแตะปากกาแสงไปบนจอภาพตามตำแหน่งที่ ในชิปอาร์เอฟไอดีจะมีการบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ใน รูป ต้องการนิยมใช้กับงานคอมพิวเตอร์ช่วยการ แบบอิเล็กทรอนิกส์ ออกแบบ(CADหรือ Computer Aided Design) เครื่องอ่านภาพ (Scanner) กล้องถ่ายภาพดิจิทัล (Digital Camera) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านหรือสแกนข้อมูลบน เอกสาร เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับถ่ายภาพแบบไม่ต้องใช้ เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ใช้วิธีส่องแสงไปยังวัตถุที่ ฟิล์ม ภาพที่ได้จะประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ จำนวนมาก และ ต้องการสแกนแสงที่ส่องไปยังวัตถุแล้วสะท้อนกลับมา สามารถ นำเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานได้โดยไม่ จะถูกส่งผ่านไปที่เซลล์ไวแสง (Charge-Coupled ต้องใช้อุปกรณ์สแกนเนอร์อีก เป็นอุปกรณ์ที่เริ่มได้รับ Deviceหรือ CCD) ปัจจุบันสแกนเนอร์ที่นิยมมากที่สุด ความนิยมเพิ่มขึ้นแทนที่กล้องฟิล์มแบบเดิมเนื่องจาก คือเครื่องสแกนเนอร์แบบแท่น สามารถถ่ายดู ผลลัพธ์ได้ทันที เครื่องอ่านแทบสี (Bar-Core Reader) อุปกรณ์รับข้อมูลเสียง (Voice Input DeVeces) ทำหน้าที่อ่านรหัสที่มีลักษณะเป็น แถบสีขาวสลับ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไมโครโฟน เป็นอุปกรณ์รับ ดำ (Bar-code) ที่นิยมกันมากคือ UPC (Universal ข้อมูลในรูปแบบเสียง โดยจะทำการแปลงสัญญาณเสียง Product Code) เป็นรหัสที่ติดอยู่บนห่อสินค้าทั่วไป เป็นสัญญาณดิจิทัลแล้วจึงส่งไปยังคอมพิวเตอร์ เครื่องอ่านแถบสีจะทำการอ่านแถบรหัสบนสินค้า แล้ว แปลเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ m

CPU :หนC่วeยntปraรlะมPวroลcผesลsiกnลgาUง nit จะทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ทั้งหมด โดยนำข้อมูลจากอุปกรณ์รับข้อมูลมาทำการ ประมวลผลข้อมูลตามคำสั่งของโปรแกรมและส่งผลลัพธ์ที่ได้ออกไปที่หน่วยแสดงผลในรูปแบบที่ผู้ใช้เข้าใจ หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบขึ้นมาจากวงจรอิเล็กทรอนิกส์อยู่ 2 ส่วน คือ หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic and Logical Unit : ALU) ทำหน้าที่เหมือนกับเครื่องคำนวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยทำงานเกี่ยวกับการคำนวณ ทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร มีความสามารถอีก อย่างหนึ่งที่เครื่อง คำนวณธรรมดาไม่มีคือความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ ส่วนควบคุม (Control Unit : CU) tทำหน้าที่ควบคุมลำดับขั้นตอนการประมวลผล รวมไปถึงการประสานงานกับอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจำสำรองด้วย

Memory Unit หน่วยความจำ เป็นที่เก็บโปรแกรม ข้อมูล และผลลัพธ์ ไว้ภายในคอมพิวเตอร์หน่วยนี้รวมถึงสื่อข้อมูลที่ช่วยในการจดจำ เช่น แผ่นบันทึก เป็นต้น สำหรับหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ หน่วยความจำหลัก (Primary Memory Unit) หน่วยความจำหลักทำงานร่วมกับหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำหลักจะอยู่ ภายในตัวเครื่องและเป็นส่วนที่จำเป็นต้องมีสำหรับคอมพิวเตอร์ u SRAM (Static Random Access Memory) รอม (Rom : Read Only Memory) เป็นชิปที่มีเวลาในการ เข้าถึงข้อมูล ที่เร็วกว่า DRAM มาก SRAM เป็นหน่วยความจำที่ได้รับการบรรจุข้อมูลไว้ภายในก่อนแล้ว โดย มักนำไปใช้ในหน่วยความจำแบบแคช (Cache Memory) เนื่องจาก ทั่วไปแล้วรอมจะถูกอ่านอย่างเดียวเท่านั้น จะเก็บคำสั่งที่ใช้อยู่เป็น มีความเร็วสูงกว่า DRAM มาก ซึ่งใกล้เคียงกับการทำงาน ของ ประจำและคำสั่งเฉพาะโปรแกรมที่อยู่ในรอมนี้จะอยู่อย่างถาวร แม้ ซีพียู ทำให้ไม่มีสภาวะรอคอยเกิดขึ้น SRAM จะมีราคาค่อนข้างสูง จะปิดเครื่องโปรแกรมก็จะไม่ถูกลบไป เรียกว่า นอน-โวลาไทล์ ความจุต่อชิปก็น้อยเมื่อ เทียบกับ DRAM (Non-Volatile Memory) คือข้อมูลจะไม่หายไปเมื่อปิดเครื่อง ใน หน่วยความจำหลักที่เป็นประเภท ของ ROM มีอีก 3 อย่างคือ DRAM (Dynamic Random Access Memory) - Prom (Programmable Read Only Menory) PROM เป็น เป็นชิปของ หน่วยความจำที่นิยมใช้หน่วยความจำหลักในเครื่อง ROM ชนิดที่ยังไม่มีการบันทึกโปรแกรมใด มาจากผู้ผลิต คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC : Personal Computer) มีเวลาใน การเข้าถึงข้อมูลค่อนข้างช้า ข้อดีของ DRAM คือ มี ความจุสูงมาก -EPROM (Erasable Programmable Read Only Memory) และราคาไม่แพงหาซื้อได้ง่าย EPROM มีลักษณะคล้าย ROM มาก แต่สามารถลบข้อมูลได้หลาย ครั้ง โดยการใช้แสง อัลตราไวโอเลต (UV) หลังจากลบข้อมูลแล้ว P แรม (Ram : Random Access Memory) สามารถลงโปรแกรมได้ ใช้ในระบบ คอมพิวเตอร์ ลักษระเด่นคือสามารถเขียนข้อมูลลงไป -EEPROM (Electronic Erasable Programmable Read และเรียกข้อมูลได้ แรมจะเก็บ ข้อมูลตราบเท่าที่มีกระแสไฟฟ้าเลี้ยง Only Memory) มีลักษณะคล้ายกับ EPROM ซึ่งสามารถเขียนและ วงจรไว้ เรียกว่า โวลาไทล์ (Volatile Memory) หากไฟฟ้าเลี้ยง ลบโปรแกรมที่ถูกจัดเก็บ ภายในหน่วยความจำได้โดยการใช้กระแส วงจรขาดหายไปข้อมูลที่เก็บไว้ก็จะสูญหายไป หรือเรียกว่าหน่วย ไฟฟ้า ความ ชั่วคราว (Read Write Memory) สามารถแบ่งได้ 2 ชนิด คือ DRAM, SRAM

H ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy Disk) เป็นแผ่นพลาสติกวงกลม ปัจจุบันมี ขนาด 3.5 นิ้ว (วัดจากเส้นผ่า ศูนย์กลางของวงกลม) สามารถอ่านได้ด้วยดิสก์ไดร์ฟ มี ความจุ 1.44 MB มีแถบป้องกันการบันทึก (Write-protection) ผู้ใช้สามารถเปิดแถบ นี้เพื่อป้องกันไม่ให้มีการบันทึกข้อมูลอื่นทับไปหรือลบข้อมูลทิ้ง ปัจจุบันไม่ นิยมใช้งาน แล้ว ฟล็อปปี้ ดิสก์กลายเป็นรูปสัญลักษณ์ (Icon) ที่ใช้สื่อถึง การบันทึกข้อมูลใน โปรแกรม Secondary G ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) Memory Unit ฮาร์ดดิสก์ทำมากจากแผ่นโลหะแข็ง ฮาร์ดดิสก์มีหลักการทำงานคล้ายกับ หน่วยความจำสำรอง ฟล็อปปี้ ดิสก์ แต่ฮาร์ดดิสก์ทำมาจาก แผ่นโลหะแข็ง ทำให้สามารถเก็บ ข้อมูลได้มากและทำงานได้รวดเร็ว ฮาร์ดดิสก์ส่วนใหญ่จะถูกยึดติดอยู่ เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศัยสื่อบันทึกข้อมูลและ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ ก็มีบางรุ่นที่เป็นแบบเคลื่อนย้ายได้ อุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลชนิดต่าง ๆ หน่วยความจำ (Removable disk เก็บข้อมูลได้ถึงหน่วย TB สำรองมีลักษณะ non-volatile แม้ว่าจะปิดเครื่อง ฮาร์ดดิสก์ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน จะประกอบด้วยจานแม่เหล็กหลาย ๆ แผ่น (ไม่มีกระแสไฟฟ้า) ข้อมูลก็ไม่สูญหายได้แก่ และสามารถบันทึกข้อมูลได้ทั้งสองหน้าของผิวจานแม่เหล็ก โดยที่ทุก แทรก (Track) และเซกเตอร์ (Sector) ที่มีต าแหน่งตรงกันของ ฮาร์ดดิสก์ชุดหนึ่งจะเรียกว่า ไซลิน เดอร์ (Cylinder) R โซลิดสเตตไดร์ฟ (Solid State Drive หรือ SSD) เป็นชิปวงจร รวมที่ประกอบเป็นหน่วยความจำเก็บข้อมูลซึ่งถูกสร้างมา เพื่อทดแทนการใช้งานจานแม่เหล็กในฮาร์ดดิสก์แบบเดิม ชิปวงจรรวมนี้ ส่งผลให้ความเสียหายจากแรงกระแทก ของโซลิดสเตตนั้นน้อยกว่า ฮาร์ดดิสก์ ไม่ใช้วิธีการอ่านข้อมูลด้วยวิธีหมุนจานแม่เหล็ก ทำให้อุปกรณ์ ชนิดนี้กินไฟน้อยกว่าเดิม เวลาในการเข้าถึงข้อมูลเร็วขึ้น ขนาดที่เล็ก และ เบาลงกว่าฮาร์ดดิสก์ทำให้ในถูกนำไปเป็นชิ้นส่วนของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบบ พกพา สมาร์ทโฟน แท๊บแล็ต เป็นต้น

K ซีดี-รอม ดีวีดี (DVD หรือ Digital Versatile Disk) ( CD-ROM หรือ Compact Disk Read Only Memory) แผ่นซีดีรอมจะมีลักษณะคล้ายซีดีเพลง สามารถเก็บข้อมูลได้สูงถึง 700 แผ่นดีวีดีสามารถเก็บ ข้อมูลได้ต่ำสุดที่ 4.7 จิกะไบต์ดีวีดีจะสามารถมี ความจุได้ตั้งแต่ 4.7 GB ถึง 17 GB และมีความเร็วในการเข้าถึง เมกะไบต์ การใช้งานแผ่นซีดีรอมต้องใช้ร่วมกับซีดีรอมไดร์ฟ (CD-ROM (Accesstime) อยู่ที่ 600 กิโลไบต์ต่อวินาที ถึง 1.3 เมกะ ไบต์ต่อวินาที Drive) ซึ่งจะมีหลายชนิดขึ้นกับความเร็วในการทำงาน ซีดีรอมไดร์ฟรุ่น แรกสุดนั้นมีความเร็วในอ่าน ข้อมูลที่ 150 กิโลไบต์ต่อวินาที เรียกว่ามี สามารถอ่านแผ่นซีดีรอมแบบเก่าได้ด้วย ความเร็ว 1 เท่าหรือ 1X รุ่นหลัง ๆ จะอ้างอิง ความเร็วในการอ่านข้อมูล v จากรุ่นแรก เช่น ความเร็ว 2 เท่า (2X)5 ความเร็ว 4 เท่า (4x) เป็นต้น ปัจจุบันนี้ ซีดีรอมไดร์ฟที่จะมีความเร็วตั้งแต่สิบเท่าขึ้นไป เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) ซิบไดร์ฟ (Zip Drive) หลักการทำงานคล้ายเทป บันทึกเสียง การอ่านข้อมูลแบบลำดับ เป็นสื่อบันทึกข้อมูลที่หวังจะมาแทนแผ่นฟล็อปปี้ ดิสก์ (Sequential access) ทำให้อ่านข้อมูลได้ช้า นิยมนำเทปแม่เหล็กมา มีขนาดความจุ 100 เมกะไบต์ ซึ่งการใช้งานซิปไดร์ฟจะต้องใช้งานกับซิป สำรองข้อมูลเท่านั้น ใช้กับข้อมูลที่สำคัญและไม่ถูกเรียกใช้บ่อย ๆ อ่าน ดิสก์ (ZipDisk) ความสามารถในการเก็บข้อมูลของซิปดิสก์จะเก็บข้อมูล และลบกี่ครั้งก็ได้ ราคาต่ำ ได้มากกว่าฟล็อปปี้ ดิสก์ รีมูฟเอเบิลไดร์ฟ (Removable Drive) การ์ดเมมโมรี (Memory Card) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่สามารถพกพาไปไหนได้โดยต่อเข้ากับเครื่อง เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีขนาดเล็ก พัฒนาขึ้น เพื่อนำไปใช้กับ คอมพิวเตอร์ด้วย Port USB ปัจจุบันความจุมีตั้งแต่ 4, 16, 32, 64, อุปกรณ์เทคโนโลยีแบบต่างๆ เช่น กล้องดิจิทัล คอมพิวเตอร์มือถือ 128, 256 กิกะไบต์ และขยายจนถึง 1 เทอราไบต์ ยังมีไดร์ฟ ลักษณะเดียวกันเรียกในชื่ออื่น ๆ เช่น Pen Drive, Thump Drive, D(Personal Data Assistant - PDA) โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น Flash Drive ,Handy Drive เป็นต้น

Output Unit หน่วยแสดงผล แบ่งเป็น 2 ประเภท อุปกรณ์ที่ใช้แสดงผลลัพธ์ชั่วคราว หมายถึงอุปกรณ์ที่ให้ผลลัพธ์แก่ผู้ใช้ในระยะเวลาหนึ่งไม่สามารถเก็บไว้เป็นหลักฐานได้ เช่น จอภาพ เป็นต้น คอมพิวเตอร์จอภาพ (Monitor) อุปกรณ์ฉายภาพ (Projector) ใช้แสดงข้อมูลหรือผลลัพธ์ให้ผู้ใช้เห็นได้ทันที มีรูปร่างคล้าย เป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเรียนการสอน หรือการประชุม จอภาพของโทรทัศน์บนจอภาพประกอบด้วยจุดจำนวนมากมาย เนื่องจากสามารถนำเสนอข้อมูลให้ผู้ชมจำนวนมากเห็นพร้อม ๆ เรียกจุดเหล่านั้นว่า พิกเซล (Pixel) ถ้ามีพิเซลจำนวนมากก็จะ กัน ในปัจจุบันจะมีอยู่หลายแบบ ทั้งที่สามารถต่อสัญญาณจาก ทำให้ผู้ใช้มองเห็นภาพบนจอได้ชัดเจนมากขึ้น จอภาพที่ใช้ใน คอมพิวเตอร์โดยตรง หรือ ใช้อุปกรณ์พิเศษในการวางลงบน ปัจจุบันแบ่งได้เป็นสองประเภท คือ เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ (Overhead Projector) ธรรมดา เหมือนกับอุปกรณ์นั้นเป็นแผ่นใส่แผ่นหนึ่ง จอซีอาร์ที (Cathode Ray Tube) นิยมใช้กับเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ ส่วนมากในปัจจุบัน ใช้หลักการยิงแสง อุปกรณ์เสียง (Audio Output) ผ่านหลอดภาพคล้ายกับโทรทัศน์ คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ มักจะมีหน่วยแสดง เสียง ซึ่งประกอบ จอแอลซีดี (Liquid Crystal Display) นิยมใช้เป็น ขึ้นจาก ลำโพง (Speaker) และ การ์ดเสียง (Sound card) จอภาพของเครื่อง คอมพิวเตอร์แบบพกพาท าให้เป็น เพื่อให้ ผู้ใช้สามารถฟังเพลงในขณะทำงาน หรือให้เครื่อง จอภาพที่มีความหนาไม่มาก มีน้ าหนักเบาและกิน ไฟ น้อย คอมพิวเตอร์รายงานเป็นเสียงให้ ทราบเมื่อเกิดปัญหาต่าง ๆ กว่าจอภาพซีอาร์ที แต่มีราคาสูงกว่า L

อุปกรณ์ที่แสดงผลลัพธ์แบบถาวร เครื่องพิมพ์ (Printer) อุปกรณ์ที่ให้ผลลัพธ์ที่สามารถเก็บไว้เป็น เป็นอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อทำหน้าที่ในการแปลงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของ หลักฐานได้ต่อ ๆ ไปในอนาคต เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในรูปของอักขระหรือรูปภาพที่จะไปปรากฏอยู่บนกระดาษ นับเป็นอุปกรณ์แสดง เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ผลที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายมากที่สุด y เครื่องพิมพ์แบบกระทบ (Impact Printer) เครื่องพิมพ์แบบกระทบมีหลายลักษณะ เป็นเครื่องพิมพ์ที่อาศัยการกดหัวพิมพ์กับแถบผ้าหมึก เพื่อให้เกิด ตัวอักษร ได้แก่ เครื่องพิมพ์แบบเรียงจุด (Dot Matrix Printer) เป็นเครื่องพิมพ์ที่ได้รับความนิยม เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (Ink Jet Printer) เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก โดยหัวพิมพ์ซึ่งเป็นตลับหมึกของเครื่องพิมพ์ จะมีรูเล็กๆ ไว้พ่นหมึกลงบน กระดาษ ใช้หลักการพ่นหมึกลงในต่ำแหน่งที่ต้องการ โดยการควบคุมด้วย ไฟฟ้าสถิตย์จาก คอมพิวเตอร์ ทำให้ไม่เกิดเสียงดัง ในขณะใช้งาน และยังสามารถพ่นหมึกเป็นสีต่าง ๆ เป็นเครื่องพิมพ์สีได้อีกด้วย เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer) ใช้หลักการเปลี่ยนตัวอักษรและภาพให้ เป็นสัญญาณภาพ ที่มีความละเอียดตั้งแต่ 200 จุดถึง 1,200 จุดต่อ นิ้ว จากนั้นใช้แสง เลเซอร์วาดภาพที่จะพิมพ์ลงบนกระบอกรับภาพ การทำงานคล้าย เครื่องถ่ายเอกสาร พล็อตเตอร์ (Plotter) เป็นอุปกรณ์แสดงข้อมูลที่มักจะใช้กับงาน ออกแบบ (CAD) โดยจะแปลงสัญญาณข้อมูล เป็นเส้นตรง หรือ เส้นโค้ง ก่อนพิมพ์ลง บนกระดาษ ทำให้แสดงผลเป็นกราฟแผนที่ แผนภาพต่าง ๆ ได้ โดยตัวพล็อตเตอร์

THANK YOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook