Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Sport Report 2021

Sport Report 2021

Published by Anek Anek Pholsri, 2021-05-04 06:02:08

Description: Sport Report 2021

Search

Read the Text Version

(รายป) (มกราคม-กันยายน พ.ศ. 2563) โครงการจัดทำรายงานสถานการณการกฬี าของชาติ สำนกั งานปลัดกระทรวงการทอ งเที่ยวและกีฬา

คำนำ การดำเนนิ การโครงการจดั ทำรายงานสถานการณก ารกฬี าแหง ชาตคิ รง้ั น้ี เปน การศกึ ษาเพอ่ื วเิ คราะหส ถานการณ แนวโนม และทิศทางการพัฒนาการกีฬาแหงชาติ ระหวางป พ.ศ. 2561 - 2580 และเชื่อมโยงฐานขอมูลสถานการณ การกฬี าของชาตใิ หเ ปน ระบบ มคี วามทนั สมยั ทนั ตอ สถานการณแ ละพรอ มสำหรบั การวเิ คราะหก ำหนดทศิ ทาง นโยบาย และแผนงานการขบั เคลอ่ื นและพฒั นาการกฬี าของชาติ รวมทง้ั รปู แบบรายงาน รายไตรมาส และรายป ตามแผนแมบ ท ภายใตย ทุ ธศาสตรช าติ 3 แผนยอ ย ทง้ั น้ี การศกึ ษาสถานการณก ารกฬี าของชาติ แบง เปน 3 ระยะ ระยะท่ี 1 ศกึ ษาสภาพ ความเปน จรงิ ปญ หาอปุ สรรค และรูปแบบเกย่ี วกับสถานการณก ารกฬี าของชาติ โดยศึกษาวเิ คราะหขอ มูลจากเอกสาร และงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ งถงึ ประเดน็ ทจ่ี ะศกึ ษาดว ยวธิ ที บทวนอยา งเปน ระบบ (Systematic Review) ระยะท่ี 2 สรา งและ พฒั นารปู แบบ รายงานสถานการณก ารกฬี าของชาติ โดยนำรา งรปู แบบรายงานสถานการณก ารกฬี าของชาติ ทไ่ี ดผ า นผู เชย่ี วชาญมาพฒั นาเปน ตนแบบรายงานสถานการณก ารกฬี าของชาติมาพัฒนาโดยเทคนคิ กระบวนกลุม Focus Group กับผูเชี่ยวชาญจำนวน 40 ทาน/รอบ จำนวน 3 รอบ รอบที่ 1 ขอมูลการออกกำลังกายและสถานที่ รอบที่ 2 ขอมูล การสง เสรมิ การกฬี าเพอ่ื พฒั นาสรู ะดบั อาชพี และบคุ ลากรทางการกฬี า และรอบท่ี 3 ขอ มลู ดา นอตุ สาหกรรมกฬี า ระยะท่ี 3 จดั ทำตน แบบและรายงานสถานการณก ารกฬี าของชาตริ ายไตรมาส และรายป รายงานงานสถานการณก ารกฬี าแหง ชาตริ ายปน น้ั เปน การจดั ทำรายงานเพอ่ื เปน เครอ่ื งมอื ในการจดั เกบ็ ขอ มลู ทั้งการออกกำลังกาย การจัดการแขงขัน และอุตสาหกรรมกีฬาใหครอบคลุมทั้งป เพื่อศึกษาและวิเคราะหสถานการณ แนวโนมการออกกำลังกายหรือเลนกีฬาของประเทศและของโลก โดยมุงไปที่การสงเสริมการออกกำลังกายและกีฬา ขั้นพื้นฐานใหกลายเปนวิถีชีวิต การสงเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสูระดับอาชีพ และการพัฒนาบุคลากรดานการกีฬาและ นันทนาการ นอกจากนี้ยังครอบคลุมถึงการวิเคราะหพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬาเพื่อเปนสวนสำคัญในการสรางมูลคา เพม่ิ ทางเศรษฐกจิ อกี ดว ย ทั้งนี้ เนื้อหา และขั้นตอนการจัดทำรายงานครั้งนี้ ไดมีการศึกษา รวบรวมและวิเคราะหขอมูลมาจาก เอกสาร และงานวิจัยในประเทศและตางประเทศที่เกี่ยวของ รวมถึงการใชเทคนิคกระบวนการกลุม และขอมูลจากการจัดทำ แบบสำรวจถงึ ประเดน็ ทจ่ี ะศกึ ษาดว ยวธิ ที บทวนอยา งเปน ระบบ (Systematic Review) เพอ่ื จดั ทำตน แบบและรปู แบบ รายงานสถานการณก ารกฬี าแหง ชาติ รายไตรมาส และรายป เพอ่ื นำไปใชป ระโยชนต อ ไป สำนักงานปลัดกระทรวงการทองเทีย่ วและกฬี า

สารบัญ หนา 1. สถานการณ แนวโนม การออกกำลังกาย หรอื เลนกีฬา 1 1.1 สถานการณ แนวโนม การออกกำลงั กาย หรือเลน กีฬาของเอเชีย 3 1.2 สถานการณ แนวโนม การออกกำลงั กาย หรอื เลน กีฬาของไทย 4 1.3 รายงานการสง เสรมิ การออกกำลังกาย และกฬี าขน้ั พนื้ ฐานใหกลายเปน 7 วถิ ีชวี ติ และการสง เสรมิ ใหป ระชาชนมีสวนรว มในกิจกรรมการออกกำลงั กาย กฬี า และนันทนาการ รายป 2. สถานการณ แนวโนม นักกีฬาประสบความสำเรจ็ ในการแขงขนั มหกรรมกฬี านานาชาติ 16 2.1 การแขง ขนั กฬี าซีเกมส 2019 17 2.2 การแขงขันกฬี าเอเชยี นเกมส 2018 20 2.3 รายงานการสง เสริมการกีฬาเพ่ือพัฒนาสูร ะดบั อาชีพ รายป 24 3. สถานการณ แนวโนม ขอมูลดานบุคลากรทางการกฬี าและนันทนาการ 27 3.1 รายงานขอมูลดา นบุคลากรทางการกฬี าและนันทนาการ รายป 28 4. สถานการณ แนวโนม ขอมลู ดา นอตุ สาหกรรมกีฬา 29 4.1 สถานการณ แนวโนม ขอมูลดา นอตุ สาหกรรมกีฬาของโลก 30 4.2 สถานการณ แนวโนม ขอมลู ดา นอุตสาหกรรมของเอเชีย 30 4.3 สถานการณ แนวโนม ขอมลู ดานอตุ สาหกรรมกีฬาของไทย 33 4.4 รายงาน สถานการณ แนวโนม ขอ มลู ดา นอตุ สาหกรรมกฬี า รายป ป 2557 – 2562 36 5. สรปุ สภาพปญหา และขอเสนอแนะของรายงานสถานการณดานการกฬี าของประเทศ 38 6.คำนิยาม 40 บรรณานกุ รม

สารบญั ตาราง ตารางท่ี หนา 1. รายงานสถานการณ กจิ กรรมทางกายในภาคพื้นเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต 3 2. เหรยี ญของการแขง ขันซเี กมสต ง้ั แต ป ค.ศ. 2015-2019 17 3. คา %MKS แบบ Olympic Sports 18 4. คา %MKS แบบ Olympic and AG Sports 18 5. คา %MKS แบบ All Sports 18 6. การเปรยี บเทียบสดั สว นรอ ยละของจำนวนเหรยี ญ (%MKS) ของประเทศตาง ๆ ป ค.ศ. 2015 2017 และ 2019 19 7. การรายงานสถานการณ นกั กฬี าไทยประสบความสำเรจ็ โดยใชวิธกี ารนับจำนวนเหรยี ญทอง จากตารางเหรียญ กีฬาโอลิมปก เกมส กฬี าเอเชียนเกมส และกีฬาซเี กมส 23 8. ผลประกอบการธรุ กิจกีฬา ปงบการเงนิ ป พ.ศ. 2557-2562 34

สารบญั ภาพ ภาพที่ หนา 1. รายงานการสำรวจแนวโนมกิจกรรมทางกายไมเพียงพอของโลกในวยั รนุ ขององคก าร 1 อนามัยโลก ป ค.ศ. 2019 2. ความถีข่ องการขาดแคลนกจิ กรรมทางกายในเดก็ นักเรยี นชายอายุ 11-17 ป ป ค.ศ. 2016 2 3. ความถ่ีของความขาดแคลนกจิ กรรมทางกายในเดก็ นักเรยี นหญงิ อายุ 11-17 ป ป ค.ศ. 2016 2 4. การออกกำลงั กายหรแื เลนกีฬาของประชาชนชาวไทย ระหวา งป พ.ศ. 2558-2563 5 5. แนวโนม รอ ยละการออกกำลงั กาย หรือเลนกีฬาของประชาชน ป พ.ศ. 2564 ป พ.ศ. 2565 6 และทกุ ๆ 5 ป ขา งหนา 6. รอ ยละของประชาชนทอ่ี อกกำลังกาย หรอื เลน กฬี า ป พ.ศ. 2563 7 7. รอ ยละของประชาชนทีอ่ อกกำลังกาย หรือเลนกีฬา ป พ.ศ. 2558-2563 8 8. รอยละของประชาชนท่ีออกกำลงั กาย หรอื เลน กฬี า (สถานภาพ) 9 9. รอยละของประชาชนที่ออกกำลงั กาย หรอื เลนกีฬา (เพศ) 10 10. รอยละของประชาชนทอ่ี อกกำลงั กาย หรอื เลนกฬี า (เขตการปกครอง) 11 11. รอยละของประชาชนทอี่ อกกำลงั กาย หรือเลนกฬี า (ภาค) 12 12. รอยละของประชาชนทอ่ี อกกำลงั กาย หรือเลน กฬี า (อาชีพ) 13 13. รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรอื เลนกีฬา 14 14. รอยละของประชาชนท่อี อกกำลังกาย หรอื เลนกฬี า 15 15. กระบวนการ การพัฒนานกั กีฬาเพ่ือความเปนเลิศของกฬี าไทย 16 16. แนวโนมการลดลงสดั สวนรอยละของจำนวนเหรียญ (%MKS) ของกฬี าซเี กมสประเทศไทย 19 ป ค.ศ. 2015 2017 และ 2019

สารบญั ภาพ(ตอ ) ภาพที่ หนา 17 การเปรยี บเทียบจำนวนสดั สวนรอยละของจำนวนเหรยี ญ (%MKS) การแขงขัน 20 เอเชยี นเกมส 3 คร้ัง ป ค.ศ. 2010 2014 และ 2018 18 แสดงสดั สว นรอยละ (%MKS) ของชาติตา ง ๆ ในการแขงขันกีฬาเอเชยี นเกมส ป ค.ศ. 2018 21 19 แนวโนม การเปลี่ยนแปลง สัดสว นรอ ยละของจานวนเหรยี ญ (%MKS) ของกีฬาเอเชยี นเกมส 22 ป ค.ศ. 2022-2026 20 รายงานอันดับการแขง ขนั ในกีฬาเอเชียนเกมส โดยใชว ธิ ีการวิเคราะหด วยสัดสว นรอยละ 24 ของจำนวนเหรยี ญ (Percentage of Market share, %MKS) ป ค.ศ. 2018 21 รายงานอนั ดับการแขงขนั ในกีฬาซเี กมส โดยใชวธิ กี ารวิเคราะหดวยสัดสว นรอยละของ 25 จำนวนเหรียญ (Percentage of Market share, %MKS) ป ค.ศ. 2019 22 รายงานอนั ดบั การแขง ขันในกีฬาโอลิมปกเกมส โดยใชวธิ กี ารวิเคราะหด วยสัดสวนรอ ยละ 26 ของจำนวนเหรยี ญ (Percentage of Market share, %MKS) ป ค.ศ. 2016 23 ขอ มลู บุคลากรการกฬี าทผ่ี านการฝกอบรมจากกรมพลศึกษา (กพล.) และ 27 การกฬี าแหงประเทศไทย (กกท.) ป พ.ศ. 2563 24 รายงานสถานการณบคุ ลากรทางการกีฬา โดยแยกเปนรายไตรมาส และรายป 28 ป พ.ศ. 2563 25 อตั ราการเติบโตเฉล่ยี ของอตุ สาหกรรมกีฬาในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต 32 26 อัตราการเจรญิ เติบโตเฉล่ียของไทยกบั กิจกรรมเชิงสนั ทนาการ วฒั นธรรม และกฬี า 33 ป พ.ศ. 2553-2563 27 รายงานสถานการณป จจุบนั : ผลประกอบการของธรุ กิจ ปง บการเงนิ พ.ศ. 2557-2562 35 28 รายงานสถานการณปจ จุบนั : การคาดการณผ ลประกอบการของธุรกจิ ปง บการเงนิ 35 พ.ศ. 2563-2580 29 รายงานสถานการณปจ จบุ นั : ผลประกอบการธุรกิจกฬี า ปงบการเงนิ พ.ศ. 2557-2562 36

1 การหอรสืออถาเกลนกกนาำกรีฬลณาังกาย รายงานการสำรวจแนวโนมกิจกรรมทางกายไมเพียงพอของโลกในวัยรุน ขององคการอนามัยโลก ป 2019 โดย สำรวจจากวัยรุนในโรงเรียนทั่วโลก 298 โรงเรียน จาก 146 ประเทศ จำนวน 1.6 ลานคน ชวงอายุ 11-17 ป ระหวางป 2001 - 2016 พบวา กจิ กรรมทางกายไมเ พยี งพอตามเกณฑอ งคก ารอนามยั โลก ในเดก็ วยั รนุ ผชู าย จำนวน 77.6% และเด็ก วัยรุนผูหญิง 84.7% และกิจกรรมทางกายโดยรวมของวัยรุน มีแนวโนมลดลงอยางมีนัยสำคัญระหวางป 2001 - 2016 จาก 80.1% เหลือ 77.6% ในเด็กวัยรุนผูชาย และไมเปลี่ยนแปลงในเด็กวัยรุนผูหญิง ดังภาพที่ 1 ภาพที่ 1 : แสดงรายงานการสำรวจแนวโนม กจิ กรรมทางกายไมเพยี งพอของโลกในวยั รุน ขององคก ารอนามัยโลก ป ค.ศ. 2019 Boys, 2001 Boys, 2016 Girls, 2001 Girls, 2016 100 90 80 Prevalence (%) 70 60 50 40 30 20 10 0 Global Low income Lowinecro-mmidedle Uppinecro-mmidedle High income ที่มา: Lancet Child Adolesc Health 2020 ในประเทศกลุมตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีกิจกรรมทางกายไมเพียงพอ มีแนวโนมลดลง จาก 83.1% ในป 2001 และ 82.0% ในป 2016 และประเทศไทยมีกิจกรรมทางกายไมเพียงพอต่ำที่สุดในกลุมประเทศ กลุมตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต 77.8% และ 70.2% ในป 2001 และ 2016 ตามลำดับ อยางไรก็ตาม หากดูประเทศที่มีรายไดครัวเรือนสูงในประเทศสิงคโปร มีกิจกรรมทางกายไมเพียงพอต่ำที่สุด คือ 77.7% และ 69.7% ในป 2001 และ 2016 ตามลำดับ 1

ภาพท่ี 2 : แสดงความถ่ีของการขาดแคลนกิจกรรมทางกายในเด็กนักเรยี นชายอายุ 11-17 ป ป ค.ศ. 2016 ทีม่ า: Lancet Child Adolesc Health 2020 ภาพท่ี 3 : ภาพแสดงความถข่ี องการขาดแคลนกจิ กรรมทางกายในเดก็ นกั เรยี นหญงิ อายุ 11-17 ป ป ค.ศ. 2016 ทีม่ า: Lancet Child Adolesc Health 2020 2

1.1 สถานการณ แนวโนม การออกกำลงั กาย หรือเลนกฬี าของเอเชยี รายงานสถานการณ สุขภาพและกิจกรรมทางกายในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Status report on “physical activity and health in the South-East Asia Region”) พ.ศ. 2561 ขององคการอนามัยโลกพบวา กิจกรรมทางกายโดยรวมทั้ง 3 ชนิด การทำงาน การเดินทาง และกิจกรรมนันทนาการ พบวา ทุกประเทศมีกิจกรรมทางกายเพียงพอตามเกณฑขององคการอนามัยโลก ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 : ภาพแสดงรายงานสถานการณ กจิ กรรมทางกายในภาคพน้ื เอเชียตะวันออกเฉยี งใต ทีม่ า: Status report on “physical activity and health in the South-East Asia Region” อยางไรก็ตาม เมื่อดูเฉพาะดานนันทนาการ (Recreational : PA) คือ ออกกำลังกายหรือเลนกีฬา พบวาประเทศมัลดีฟส ไทย ภูฐาน บังกลาเทศ เกาหลีใต พมา ศรีลังกา และ ติมอร-เลสเต มีกิจกรรมทางกาย ดานนันทนาการ เฉลี่ย 197.4 156.1 133.7 112 105 73.5 53.2 และ 34.3 นาทีตอสัปดาห ตามลำดับ โดยมี 2 ประเทศ (ประเทศมัลดีฟส และประเทศไทย) ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอตามขอแนะนำ คือ อยางนอย 150 นาทีตอสัปดาห 3

1.2 สถานการณ แนวโนม การออกกำลังกาย หรอื เลนกีฬาของไทย ผลการสำรวจของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม กวารอยละ 66 ขึ้นไป (จำนวน 845 คน คิดเปนรอยละ มหาวิทยาลัยมหิดล รวมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุน 69.9 จำนวน 1,139 คน คิดเปนรอยละ 68.2 และจำนวน การสรา งเสรมิ สขุ ภาพ สรปุ ผลสำรวจขอ มลู กจิ กรรมทางกาย 936 คน คิดเปนรอยละ 66.2 ตามลำดับ) และการออก ระดบั ชาติ พ.ศ. 2562 จำนวนกลมุ ตวั อยา ง 7,606 คน กลมุ กำลงั กายของคนไทย พจิ ารณาจากการมกี จิ กรรมทางกาย ตัวอยางที่ใชในการวิเคราะหขอมูลในครั้งนี้ ใชกลุมตัวอยาง ทั้งในระดับหนักมาก และระดับปานกลาง พบวา ผูที่มี ทม่ี อี ายตุ ง้ั แต 15 ปข น้ึ ไป ซง่ึ มจี ำนวน 6,592 คน ในประเดน็ อายตุ ง้ั แต 15 ปข น้ึ ไป มจี ำนวน 2,663 คน คดิ เปน รอ ยละ การมกี จิ กรรมทางกายของคนไทย จากการทำงาน ทง้ั ในงาน 40.4 และที่ไมไดทำกิจกรรมทางกายในประเด็นดังกลาว อาชีพและงานภายในครัวเรือน การเดินทางสัญจรจาก มีจำนวน 3,929 คน คิดเปนรอยละ 59.6 ทห่ี นง่ึ ไปอกี ทห่ี นง่ึ โดยการวง่ิ การเดนิ หรอื การปน จกั รยาน จากการสำรวจสำนักงานสถิติแหงชาติ (2550) และกิจกรรมทางกาย เพื่อนันทนาการหรือกิจกรรมยามวาง พบวา แนวโนมการออกกำลังกายของประชาชนเพิ่มขึ้น เพื่อการผอนคลาย เมื่อพิจารณาการมีกิจกรรมทางกาย เล็กนอย คือ 29.0 29.1 และ 29.6 ในป 2546 2547 ทั้งในระดับหนักมาก และระดับปานกลาง พบวา เด็กอายุ 2550 และ 2562 ตามลำดับ โดยเพศชายมีอัตราการ 15–17 ป ทม่ี กี จิ กรรมทางกายวนั ละ 60 นาที หรอื 420 นาที ออกกำลังกายมากกวาเพศหญิง รวมถึงผูที่อาศัยในเขต ตอ สปั ดาห มจี ำนวน 116 คน คดิ เปน รอ ยละ 34.1 และ พบวา เทศบาลมแี นวโนม ออกกำลงั กายมากกวา ผอู าศยั นอกเขต เด็กอายุ 15–17 ป มีกิจกรรมทางกายไมเพียงพอ จำนวน ประชากรอายุ 11 ปขึ้นไปที่ออกกำลังกายมีความถี่ใน 224 คน มากถงึ รอ ยละ 65.9 และในกรณผี ใู หญอ ายุ 18 ปข น้ึ ไป การออกกำลงั กาย เฉลย่ี 3–5 ครง้ั ตอ สปั ดาห (รอ ยละ 38.2) ทค่ี วรมกี จิ กรรมทางกาย 150 นาทตี อ สปั ดาห หรอื มกี จิ กรรม และใชเวลาออกกำลังกาย 31-61 นาที (รอยละ 31 และ ทางกายระดบั หนกั 75 นาทตี อ สปั ดาห จำนวน 4,448 คน คดิ เปน 29.3 ตามลำดับ) จากผลการสำรวจชใี้ หเ หน็ วาประชากร รอ ยละ 71.1 และมเี พยี ง 1,804 คน ทม่ี กี จิ กรรมทางกายไมเ พยี งพอ ออกกำลงั กายและเลน กฬี าอยา งสมำ่ เสมอ ประมาณรอ ยละ คดิ เปน รอ ยละ 28.9 เมอ่ื พจิ ารณาการมกี จิ กรรมทางกายของ 30 และมแี นวโนม เพม่ิ ขน้ึ เลก็ นอ ย ใกลบ รรลเุ ปา ประสงคห ลกั คนไทย จำแนกตามภมู ภิ าค พบวา ผทู ม่ี อี ายตุ ง้ั แต 15 ปข น้ึ ไป รองลงมาคือออกกำลังกาย 6–7 วัน และออกกำลังกาย ทอ่ี าศยั อยใู นเขตภาคกลางและภาคใต มกี จิ กรรมทางกายทเ่ีพยี งพอ นอยกวา 3 วัน ตามลำดับ ซึ่งผลการสำรวจนี้ไมเปลี่ยน กวา รอ ยละ 75 ขน้ึ ไป (จำนวน 667 คน คดิ เปน รอ ยละ 77.6 และ แปลงจากการสำรวจปที่แลวมากนัก พบวาประชากรใน จำนวน 1,075 คน คิดเปนรอยละ 74.6 ตามลำดับ) และผู กลุมวัยเด็ก (11–14 ป) มีการออกกำลังกายมากที่สุด ที่อาศัยอยูในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ภาคตะวันออก รองลงมาคือประชากรกลุมเยาวชน (15-24 ป) กลุมผูสูง เฉียงเหนือ และภาคเหนือ มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ อายุ (60 ปข น้ึ ไป) และกลมุ วยั ทำงาน (25-59 ป) ตามลำดบั 4

โดยการออกกำลังกายที่เปนที่นิยมสูงสุด คือการเลนกีฬา รองลงมาคือการเดิน วิ่ง เตนแอโรบิค และ ออกกำลังกายประเภทอื่น ๆ ตามลำดับ โดยนิยมออกกำลังกายที่บริเวณบาน สนามกีฬาของสถานศึกษา และ บริเวณสถานศึกษา รอยละ 32.9 25.7 และ 9.6 ตามลำดับ และมีการออกกำลังกายอยางตอเนื่องติดตอกัน นานกวา 7 เดือน รอยละ 83 โดยเหตุผลหลักในการออกกำลังกายคือความตองการใหรางกายแข็งแรง รอยละ 76.9 จากการทบทวนการสำรวจกิจกรรมทางกายของประชากรคนไทย ตั้งแตป พ.ศ. 2558-2563 พบวา กิจกรรมทางกาย และออกกำลังกายของประชากร มีแนวโนมเพิ่มขึ้น และบรรลุเปาหมาย ตามแผนแมบท ภายใตยุทธศาสตรชาติ ดังภาพที่ 4 ประชากรทุกภาคสว นออกกำลังกาย และเลน กีฬาอยางสมำ่ เสมอ ไมนอ ยกวา รอ ยละ 40 ของประชากรทั้งประเทศ ภายในป พ.ศ.2565 ภาพที่ 4 : การออกกำลังกายหรือเลนกีฬาของประชาชนชาวไทย ระหวางป พ.ศ. 2558 – 2563 บรรลเุ ปาหมาย 41.82 34.48 40.4 26.56 23.4 24.46 ป พ.ศ. 2558 2559 2560 2561 2562 2563 ที่มา : ป 2558, 2559 สำนักงานสถติ แิ หง ชาติ ป 2550, 2561, 2563 กรมพลศกึ ษา ใชเกณฑ ออกกำลังกาย/เลน กีฬาอยางนอ ยตอ เนือ่ ง 3 วันตอ สัปดาห ไมน อ ยกวา รอ ย 30 นาทตี อ คร้ัง ป 2562 สถาบนั วิจยั ประชากรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลยั มหิดล ใชเกณฑ 150 นาทีตอสปั ดาห ท่ีระดบั กิจกรรมทางกาย ในระดับหนัก ปานกลางและระดับหนักมาก (กิจกรรมการออกกำลงั กาย/เลนกฬี า) การพยากรณเชิงปริมาณ (Quantitative Methods) จำนวนรอยละการเขารวมการออกกำลังกาย หรือ เลนกีฬาของประชากรไทย คาดวาในป พ.ศ. 2564-2565 ประชากรทุกภาคสวนจะเขารวมออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา รอยละ 41.92 และ 42.56 ตามลำดับ และทุก ๆ 5 ปขางหนา ชวง พ.ศ. 2566-2570, 2571-2575 และ 2576-2580 ประชากรทุกภาคสวนจะเขารวมออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา เฉลี่ย รอยละ 44.48 47.69 และ 50.90 ตามลำดับ ดังแสดงในภาพที่ 5 5

ภาพที่ 5 : แนวโนม รอ ยละการออกกำลงั กาย หรอื เลน กฬี าของประชาชน ป พ.ศ. 2564 ป พ.ศ. 2565 และ ทกุ ๆ 5 ป ขา งหนา øšĂ÷úą 47.69 50.90 60 40.40 41.82 41.92 42.56 44.48 2562 2563 2564 50 24.46 34.48 2565 2566-70 2571-75 2576-80 2559 2560 40 30 23.4 20 10 0 2558 ที่มา : ดดั แปลงจากรายงานรอ ยละกจิ กรรมทางกาย การออกกำลงั กาย จากสำนกั งานสถติ แิ หง ชาติ กรมพลศกึ ษา และสถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คมศาสตร มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 6

1.3 รายงานการสงเสริมการออกกำลังกาย และกีฬาขั้นพื้นฐานใหกลายเปนวิถีชีวิต และ การสง เสรมิ ใหป ระชาชนมสี ว นรว มในกจิ กรรมการออกกำลงั กาย กฬี า และนนั ทนาการ รายป ภาพที่ 6 : รอ ยละของประชาชนทอ่ี อกกำลงั กาย หรอื เลน กฬี า ป พ.ศ. 2563 รอยละ ชาย หญิง 50 40 41.82 30 20 25.09 16.73 10 0 ป พ.ศ.2563 ที่มา : ขอ มลู การสำรวจกจิ กรรมการออกกำลงั กาย หรอื เลน กฬี า กรมพลศกึ ษา ป พ.ศ. 2563 ภาพที่ 6 ไดแสดงรอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา โดยใน ป พ.ศ. 2563 พบวา ประชาชนออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา สม่ำเสมอ รอยละ 41.82 แบงเปนเพศชายรอยละ 25.09 และเพศ หญิงรอยละ 16.73 7

ภาพที่ 7 : รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา ป พ.ศ. 2558-2563 รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา รอยละ ชาย หญิง 50 40 40.4 41.82 30 34.48 20.69 20 23.4 24.48 13.79 25.56 24.24 25.09 15.34 16.16 16.73 10 14.04 14.68 2560 10.22 0 9.36 9.78 2562 2563 ป พ.ศ. 2561 2558 2559 ป รอ ยละ ชาย หญงิ 2558 23.4 14.04 9.36 2559 24.46 14.68 9.78 2560 34.48 20.69 13.79 2561 25.56 15.34 10.22 2562 40.4 24.24 16.16 2563 41.82 25.09 16.73 ที่มา : ขอมูลการสำรวจกิจกรรมการออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา กรมพลศึกษา ป พ.ศ. 2563 ภาพที่ 7 ไดแสดงกราฟแสดงรอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา ป พ.ศ. 2558-2563 พบวาประชาชนมีแนวโนมออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา สม่ำเสมอ เพิ่มขึ้น รวมทั้งเพศชายและเพศหญิง 8

ภาพที่ 8 : รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา (สถานภาพ) รายงานการเขารวมการออกกำลังกาย หรือเลนกีฬาประชาชนไทย รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกายหรือเลนกีฬาสม่ำเสมอ รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกายหรือเลนกีฬาไมสม่ำเสมอ รอยละของประชาชนที่ไมออกกำลังกายหรือเลนกีฬา 50 41.68 41 35.13 30.49 34.38 33.66 40 45.33 29.52 29.48 30.33 26.93 30 31.93 27.99 39.41 20 22.74 10 0 หยา สถานภาพสมรส หมาย แยกกันอยู โสด สถานภาพ รอ ยละขหอรงอื ปเลรนะชกาฬี ชานสทมอ่ีำ่ เอสกมกอำลงั กาย รอ ยลหะรขอื อเลงปน รกะฬี ชาาไชมนส ทมำ่อ่ี เอสกมกอำลงั กาย ไมอ รออ กยกลำะลขงัอกงาปยรหะรชอื าเชลนน ทก่ีฬี า โสด 45.33 31.93 22.74 หยา 41.68 30.33 27.99 สถานภาพสมรส 41 29.52 29.48 หมา ย 35.13 30.49 34.38 แยกกนั อยู 33.66 26.93 39.41 ที่มา : ขอมูลการสำรวจกิจกรรมการออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา กรมพลศึกษา ป พ.ศ. 2563 ภาพที่ 8 ไดแสดงรอยละสถานภาพของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา ป พ.ศ. 2558-2563 พบวาประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา สม่ำเสมอ มีสถานภาพโสดมากที่สุด รอยละ 45.3 และนอยสุด มีสถานภาพแยกกันอยูรอยละ 33.7 และแสดงรอยละการออกกำลังกาย หรือเลนกีฬาไมสม่ำเสมอ และรอยละ ที่ไมออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา 9

ภาพที่ 9 : รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา (เพศ) รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา (เพศ) 30.6% ชาย 30.1% ชาย 32.5% ชาย 36.2% หญิง 36.5% หญิง 34.1% หญิง ยอดรวม ยอดรวม ยอดรวม 33.3% 33.4% 33.4% ออรกอ กยำลละสังขกมอาำ่งยเปสหรมระอือชเาลชนนกทีฬี่ า ออรกอกยำลลไะมงัขกสอามงยำ่ปหเรสระมือชอเาลชนนกทฬี ่ี า ไมอรออ กยกลำะลขงั อกงาปยรหะรชอื าเชลนนทกี่ฬี า เพศ รอยละขหอรงือปเลรนะชกาีฬชานสทมี่อ่ำเอสกมกอำลังกาย รอยละหขรอืองเปลนระกชีฬาาชไนมทสมี่อ่ำอเกสกมำอลังกาย ไมอรออกยกลำะลขังอกงาปยรหะรชือาเชลนนทกี่ีฬา 1 ยอดรวม 41.82 30.29 27.89 2 ชาย 45.49 27.33 27.18 3 หญิง 38.41 33.05 28.54 ที่มา : ขอมูลการสำรวจกิจกรรมการออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา กรมพลศึกษา ป พ.ศ. 2563 ภาพที่ 9 ไดแสดงรอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา สม่ำเสมอ แสดงรอยละการออกกำลังกาย หรือเลนกีฬาไมสม่ำเสมอ และรอยละที่ไมออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา แยกแสดงตามเพศ โดยเพศชายออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา สม่ำเสมอมากกวาเพศหญิง รอยละ 45.49 เพศหญิง รอยละ 38.41 10

ภาพที่ 10 : รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา (เขตการปกครอง) รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา (เขตการปกครอง) รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกายหรือเลนกีฬาสม่ำเสมอ รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกายหรือเลนกีฬาไมสม่ำเสมอ รอยละของประชาชนที่ไมออกกำลังกายหรือเลนกีฬา 50 40 43% 40.83% 30 29.09% 32.28% 20 27.91% 26.89% 10 0 นอกเขตเทศบาล ในเขตเทศบาล สถานภาพ รอ ยละขหอรงอื ปเลรนะชกาฬี ชานสทมอ่ีำ่ เอสกมกอำลงั กาย รอ ยลหะรขอื อเลงปน รกะฬี ชาาไชมนส ทมำ่อ่ี เอสกมกอำลงั กาย ไมอ รออ กยกลำะลขงัอกงาปยรหะรชอื าเชลนน ทก่ีฬี า 1. ในเขตเทศบาล 43 27.91 29.09 2. นอกเขตเทศบาล 40.83 32.28 26.89 ที่มา : ขอมูลการสำรวจกิจกรรมการออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา กรมพลศึกษา ป พ.ศ. 2563 ภาพที่ 10 ไดแสดงรอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา สม่ำเสมอ แสดงรอยละการออกกำลังกาย หรือเลนกีฬาไมสม่ำเสมอ และรอยละที่ไมออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา แยกแสดงตามเขตการปกครอง โดยในเขต เทศบาลออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา สม่ำเสมอ รอยละ 43.00 นอกเขตเทศบาลรอยละ 40.83 11

ภาพที่ 11 : รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา (ภาค) รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา (ภาค) รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกายหรือเลนกีฬาสม่ำเสมอ รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกายหรือเลนกีฬาไมสม่ำเสมอ รอยละของประชาชนที่ไมออกกำลังกายหรือเลนกีฬา 60 50 51.97 43.2 41.85 38.73 36.22 36.64 29.9 28.18 29.97 35.72 27.14 40 26.9 25.55 30 27.98 20 20.05 10 0 ภาคใต ภาคเหนอื ภาคกลาง (ไมร วม กทม.) ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื กรงุ เทพมหานคร ภาค รอ ยละขหอรงอืปเรละน ชกาฬีชนาสทมอ่ี ำ่ อเสกมกำอลงั กาย รอ ยลหะขรอือเงลปน รกะฬีชาาชไมนส ทมอ่ี ำ่ อเสกมกอำลงั กาย ไมอ รออ กยกลำะลขงั อกงาปยรหะรชอื าเลชนน กทฬี่ี า ภาคใต 51.97 27.98 20.05 ภาคเหนอื 43.2 29.9 26.9 ภาคกลาง (ไมร วม กทม.) 41.85 28.18 29.97 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 38.73 35.72 25.55 กรงุ เทพมหานคร 36.22 27.14 36.64 ที่มา : ขอมูลการสำรวจกิจกรรมการออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา กรมพลศึกษา ป พ.ศ. 2563 ภาพที่ 11 ไดแสดงรอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา สม่ำเสมอ แสดงรอยละการ ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬาไมสม่ำเสมอ และรอยละที่ไมออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา แยกแสดงตามภูมิภาค กรุงเทพมหานคร รอยละ 36.22 ภาคกลาง (ไมรวมกรุงเทพมหานคร) รอยละ 41.82 ภาคเหนือรอยละ 43.2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือรอยละ 38.73 และภาคใตรอยละ 51.97 12

ภาพที่ 11 : รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา (อาชีพ) รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา (อาชีพ) อาชพี รอ ยละของปรหะรชอืาเชลนน กทฬีไ่ี มาอ อกกำลงั กาย รอ ยละของปหระรอืชเาลชน นกทฬี อ่ีาอกกำลงั กาย 1. ไมม อี าชพี 13.82 5.72 2. คา ขาย 10.18 6.89 3. ทำการเกษตร 9.75 7.03 4. รบั จา งทว่ั ไป 9.68 7.05 5. แมบ า น/พอ บา น 9.66 7.06 6. พนกั งานบรษิ ทั /หา งรา น 8.9 7.3 7. ประกอบธรุ กจิ สว นตวั 7.65 7.71 8. อน่ื ๆ 6.8 7.98 9. รบั ราชการ/เจา หนา ทข่ี องรฐั 5.52 8.39 10. รฐั วสิ าหกจิ 5.51 8.49 11. ขา ราชการบำนาญ 4.42 8.75 12. นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา 4.29 8.79 13. ไมท ราบอาชพี 4.1 8.85 ที่มา : ขอมูลการสำรวจกิจกรรมการออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา กรมพลศึกษา ป พ.ศ. 2563 ภาพที่ 12 ไดแสดงรอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา สม่ำเสมอ แสดงรอยละ การออกกำลังกาย หรือเลนกีฬาไมสม่ำเสมอ และรอยละที่ไมออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา แบงตามอาชีพ 13

ภาพที่ 13 : รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา ประเภทกิจกรรมในการออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา รอ ยละของประเภทกจิ กรรมในการออกกำลงั กาย หรอื เลน กฬี า 40 36.98 35 30 25 20 22.43 15 10 9.53 8.51 1.1 6.62 5.87 2.74 1.92 1.64 1.36 1.3 5 วง่ิ จกั รยาน ฟตุ บอล เตน แอโรบคิ (เเชปอน น น่ืโตยๆคน ะ) (ไมอรน่ื ะๆบ)ุ ตะกรอ แบตมนิ ตนั วอลเลยบ อล แเลพะาฟะตกเานยส ฟตุ ซอล 0 เดนิ ออปกรกะำเภลงัทกกาจิ ยกหรรรมอื ใเนลนกากรฬี า รออยอลกะกปำลระงั กเภาทยกหจิ รกอื รเรลมน ใกนฬี กาาร 1. เดนิ 36.98 2. วง่ิ 22.43 3. จกั รยาน 9.53 4. ฟตุ บอล 8.51 5. เตน แอโรบคิ 6.62 6. อน่ื ๆ เชน โยคะ เปตอง กระโดดเชอื ก 5.87 2.74 เตน บสั โลบ มวยไทย บาสเกตบอล 1.92 รำมวยจนี วา ยนำ้ เปน ตน 1.64 1.36 7. อน่ื ๆ (ไมร ะบ)ุ 1.3 8. ตะกรอ 1.1 9. แบตมนิ ตนั 10. วอลเลยบ อล 11. เพาะกายและฟต เนส 12. ฟตุ ซอล ที่มา : ขอมูลการสำรวจกิจกรรมการออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา กรมพลศึกษา ป พ.ศ. 2563 ภาพที่ 13 ไดแสดงรอยละประเภทกิจกรรมการออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา โดยกิจกรรมการเดินสูงสุดรอยละ 36.98 และกิจกรรมการเลนฟุตซอลต่ำสุดรอยละ 1.1 14

ภาพที่ 13 : รอยละของประชาชนที่ออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา (สถานที่) รวม บาน/บริเวณที่พักอาศัย สวนสาธารณะ ลานออกกำลังกาย/เลนกีฬา โรงเรียน/สถานศึกษา สนามกีฬาประจำตำบล/อำเภอ/จังหวัด ที่ทำงาน ถนน/ทางสาธารณะ/ซอย ฟตเนสหรือยิม ศาสนสถาน อื่นๆ รพ.สต./อาคารเอนกประสงค/ศาลาประชาคม/ อบต แปลงเกษตร เชน สวน ไร นา แปลงผัก เชาสนาม/สนามกอลฟ/สนามหญาเทียม สถานท่ี หในรกอื าเลรนอกอฬีกกาำลงั กาย รอ ยละของสถหารนอื ทเ่ีลในนกกฬีาราออกกำลงั กาย 1. บา น/บรเิ วณทพ่ี กั อาศยั 41.61 2. สวนสาธารณะ 16.98 3. ลานออกกำลงั กาย/เลน กฬี า 15.97 4. โรงเรยี น/สถานศกึ ษา 8.67 5. สนามกฬี าประจำตำบล/อำเภอ/จงั หวดั 8.36 6. ทท่ี ำงาน 4.94 7. ถนน/ทางสาธารณะ/ซอย 1.35 8. ฟต เนส/ยมิ 1.22 9. ศาสนสถาน 0.25 10. อน่ื ๆ 0.2 11. รพ.สต./อาคารเอนกประสงค/ ศาลาประชาคม/อบต 0.19 12. แปลงเกษตร เชน สวน ไร นา แปลงผกั 0.15 13. เชา สนาม/สนามกอลฟ /สนามหญา เทยี ม 0.11 ที่มา : ขอมูลการสำรวจกิจกรรมการออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา กรมพลศึกษา ป พ.ศ. 2563 ภาพที่ 14 ไดแสดงรอยละสถานที่การออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา โดยประชาชนออกกำลังกาย หรือ เลนกีฬาที่บานหรือบริเวณที่พักอาศัยสูงสุดรอยละ 41.61 และสถานที่เชาสนาม/สนามกอลฟ/สนามหญาเทียม ต่ำสุดรอยละ 0.11 15

2 สถานการณ แนวโนม นักกีฬาประสบความสำเร็จ ในการแขงขันมหกรรมกีฬานานาชาติ การรายงานสถานการณ นักกีฬาไทยประสบความสำเร็จ ใชวิธีการวิเคราะหผลการแขงขันดวยวิธีการ ที่เปนมาตรฐาน เพื่อใหทราบถึงสถานภาพความเปนเลิศของกีฬาไทยในปจจุบัน เฉพาะชนิดกีฬาที่แขงขันใน กีฬาโอลิมปกฤดูรอน (Summer Olympic Sports) และแนวโนมการพัฒนากีฬาของประเทศในกลุมเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต การวิเคราะหผลการพัฒนานักกีฬาเพื่อความเปนเลิศของกีฬาไทย จะสะทอนถึงประสิทธิภาพของ นโยบายการพัฒนากีฬาสูความเปนเลิศ ในระดับนานาชาติ ตั้งแตขั้นตอนกระบวนการนำเขา ระหวางการ ดำเนินการ และผลการดำเนินการ ดังภาพที่ 15 ภาพที่ 15 : แสดงกระบวนการ การพัฒนานักกีฬาเพื่อความเปนเลิศของกีฬาไทย Elite athlete production as a process model INPUTS PROCESS OUTPUTS MFaocnileityieTs ime AEltihtelePterosgFraumndminegs ‘PMFaeerdetilacgliopsoatdio’ nFaInctcorersase ที่มา : De Bosscher et al.,2006 การวิเคราะหผลการแขงขันกีฬาซีเกมส และผลการแขงขันกีฬาเอเชียนเกมส จะใชการวิเคราะหจาก ผลการแขงขันที่นักกีฬาไทยไดรับเหรียญรางวัลตาง ๆ ซึ่งสามารถใชผลการวิเคราะหมาอธิบายสถานภาพ ความเปนเลิศของกีฬาไทยในซีเกมสครั้งนี้ และคาดการณแนวโนมการพัฒนากีฬาของประเทศในกลุมเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตได วิธีการวิเคราะหเปนการวัดดวยสัดสวนรอยละของจำนวนเหรียญ (Percentage of Market share; MKS) บนพื้นฐานการคำนวณดวยระบบคะแนน (Point Score system; 3-2-1) จากจำนวนเหรียญที่แตละชาติได มาทั้งหมดจากการแขงขัน (เหรียญทอง 3 คะแนน เหรียญเงิน 2 คะแนน และเหรียญทองแดง 1 คะแนน) MKS เปนวิธีการที่เปนมาตรฐานที่ใชวัดและสะทอนถึงประสิทธิภาพของนโยบายการพัฒนากีฬาสูความเปนเลิศ (Impact of policy on elite sport development systems) 16

2.1 การแขงขันกีฬาซีเกมส 2019 การแขงขันครั้งนี้ มีการบรรจุประเภทชนิดกีฬาที่แขงขันในกีฬาโอลิมปกฤดูรอน (Summer Olympic Sports) จำนวนทั้งสิ้น 33 รายการ เพิ่มขึ้นหรือมากวาป 2017 จำนวน 9 รายการ และมีเหรียญรางวัล จำนวน เหรียญทองทั้งสิ้น 322 เหรียญ เพิ่มจากเดิมในป 2017 จำนวน 61 เหรียญทอง จำแนกดังนี้ เหรียญทอง 322 เหรียญ เหรียญเงิน 317 เหรียญ เหรียญทองแดง 393 เหรียญ ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 : จำนวนเหรียญของการแขงขันซีเกมสตั้งแตป ค.ศ. 2015-2019 SEA Games 2015 2017 2019 Sports Olympic Non-Olympic Olympic Non-Olympic Olympic Non-Olympic Sport Total 26 10 24 20 33 23 Gold 299 104 264 145 322 208 Silver 288 113 243 159 317 211 Bronze 349 160 283 243 393 333 ที่มา : ดัดแปลงจากตารางรายงานผลการแขงขันกีฬาซีเกมส ป ค.ศ. 2015 2017 และ 2019 จากตารางที่ 2 แสดงใหเห็นวาการแขงขันซีเกมสมี จำนวนรายการแขงขันแตละครั้งหรือจำนวนเหรียญ ไมเทากัน ดังนั้นจึงตองปรับฐานตัวเลขใหเทากันดวยวิธี (Normalize Value) เพื่อนำมาวิเคราะหและเปรียบเทียบ การพัฒนากีฬาเพื่อความเปนเลิศไดอยางแทจริง จึงจำเปนตองใชวิธีการวิเคราะหดวยสัดสวนรอยละของจำนวน เหรียญ (Percentage of Market share; %MKS) โดย MKS เปนวิธีการที่เปนมาตรฐานที่ใชวัดและสะทอนถึง 17

ตารางที่ 3 : คา %MKS แบบ Olympic Sports ตารางที่ 4 : คา %MKS แบบ Olympic and AG 2P0o1in9t SSocuotrhinegasStysAtseiamn :GOamlyemspMicedSaploTrtasble Analysis 2P0o1in9t SScoourtinhgeaSsytstAesmian: OGlaymmepsicMaenddalAsTiaabnleGaAmnaelsysSipsorts Rank Nation Gold Silver Bronze Point %MKS Rank Nation Gold Silver Bronze Point %MKS 1 PHI 74 71 71 435 21.86 1 PHI 92 84 87 531 22.67 2 THA 64 66 84 408 20.50 2 THA 73 74 90 457 19.51 3 VIE 73 54 62 389 19.55 3 VIE 77 61 70 423 18.06 4 INA 49 49 64 309 15.53 4 INA 57 58 77 364 15.54 5 SGP 31 30 34 187 9.40 5 SGP 38 33 45 225 9.61 6 MAS 26 25 39 167 8.39 6 MAS 29 29 45 190 8.11 7 MYA 5 18 25 76 3.82 7 MYA 7 19 29 88 3.76 8 LAO 0 3 6 12 0.60 8 LAO 0 4 12 20 0.85 9 TLS 0 1 5 7 0.35 9 TLS 0 1 5 7 0.30 10 CAM 0 0 0 0 0.00 10 CAM 1 2 17 24 1.02 11 BRU 0 0 0 0 0.00 11 BRU 1 3 4 13 0.56 322 317 390 1990 100 375 368 481 2342 100 ตารางที่ 5 : คา %MKS แบบ All Sports ประสิทธิภาพของนโยบายการพัฒนากีฬา สูความเปนเลิศ (Impact of policy on elite 2P0o1in9t SSocuotrhinegasStysAtseiamn :GAalml eSspoMretds al Table Analysis sport development systems) การวิเคราะห ดวยสัดสวนรอยละของจำนวนเหรียญ (%MKS) Rank Nation Gold Silver Bronze Point %MKS แบบชนิดกีฬาที่แขงขันใน กีฬาโอลิมปก (Olympic 1 PHI 149 117 121 802 23.78 Sports) กีฬาโอลิมปกและเอเชียนเกมส (Olympic 2 THA 92 103 123 605 17.94 and Asian Games Sports) และทุกชนิดกีฬา 3 VIE 98 85 105 569 16.87 (All Sports) ในการแขงขันกีฬาซีเกมสครั้งที่ 30 นี้ 4 INA 72 84 111 495 14.68 อันดับที่ 1 ไดแกประเทศฟลิปปนส อันดับ 2 5 MAS 55 58 71 352 10.44 ประเทศไทย อันดับ 3 ประเทศ เวียดนาม ดังแสดง 6 SGP 53 46 68 319 9.46 ในตารางที่ 2 3 และ 4 แตอยางไรก็ตามเมื่อดู 7 MYA 4 18 51 99 2.94 จำนวนเหรียญทอง เวียดนามจะมีสูงกวาประเทศไทย 8 CAM 4 6 36 60 1.78 9 LAO 1 5 29 42 1.25 10 BRU 2 5 6 22 0.65 11 TLS 0 1 5 7 0.21 530 528 726 3372 100 และ %MKS ก็ไมคอยแตกตางกันมากนัก ประเทศไทยจะตองกลับมาดูวาประเภทกีฬาโอลิมปกใด ที่ยัง ตองพัฒนาหรือแยงชิงเหรียญทองใหมากขึ้น แตหากเปรียบเทียบดวยการนับจำนวนเหรียญทอง ประเทศ เวียดนามจะอยูลำดับที่ 2 ของตาราง จากการวิเคราะหดวย %MKS ประเทศไทยมีแนวโนมลดลง ใน ขณะที่ประเทศเจาภาพฟลิปปนส เวียดนาม อินโดนีเซีย พมา ลาว ติมอร มีพัฒนาการดานกีฬาดีขึ้น 18

ตารางที่ 6 : การเปรียบเทียบสัดสวนรอยละของจำนวนเหรียญ (%MKS) ของประเทศตาง ๆ ป ค.ศ. 2015 2017 และ 2019 2019 Southeast Asian Games Medal Table Analysis Point Scoring System : Olympic Sports Nation Ranking (P3o-2in-1t) 20S1h5a-rMe(a%rk)et Ranking (P3o-2in-1t) 20S1h7a-rMe(a%rk)et Ranking (P3o-2in-1t) 20S1h9a-rMe(a%rk)et ChaMnKgSe in MAS 5 230 12.62 1* 413 26.61 5 167 8.39 -68.46 THA 1 414 22.72 2 327 21.07 2 408 20.50 -2.69 VIE 3 316 17.34 3 231 14.88 3 389 19.55 31.37 SGP 2* 385 21.13 4 219 14.11 5 187 9.40 -33.40 INA 4 239 13.12 5 194 12.5 4 309 15.53 24.22 PHI 6 176 9.66 6 134 8.63 1* 435 21.86 153.29 CAM 8 3 0.16 7 7 0.45 10 0 0.00 -100.00 MYA 7 51 2.8 8 19 1.22 7 76 3.82 213.04 LAO 11 2 0.11 9 5 0.32 8 12 0.60 88.44 TLS 9 3 0.16 10 3 0.19 9 7 0.35 85.14 BRU 10 3 0.16 11 0 11 0 0.00 Total 1822 100 1552 0 1990 100 100 ที่มา : ดัดแปลงจากตารางรายงานผลการแขงขันกีฬาซีเกมส ป ค.ศ. 2015 2017 และ 2019 ภาพที่ 16 : แนวโนมการลดลงสัดสวนรอยละของจำนวนเหรียญ (%MKS) ของกีฬาซีเกมสประเทศไทย ป ค.ศ. 2015 2017 และ 2019 รายงานสถานการณการแขงขันกีฬาซีเกมส (2015-2017-2019) แสดงการเปรยี บ(%เทMยี บKสSดั) สขวอนงปรอระยเลทะศขไอทงยจำนวนเหรยี ญ แสดงพฒั นาการสดั สว นรอ ยละของจำนวนเหรยี ญ (%MKS) ในแตล ะประเทศ 23 % Market Share Changes (2015-2019) 22.5 2015%MKS 30 22 20 22001197%%MMKKSS 21.5 21 20.5 20 19.5 10 19 2015 2017 2019 ป ค.ศ. 0 MAS THA VIE SGP INA PHI CAM MYA LAO LTS BRU อนั ดบั การแขง ขนั ในมหกรรมกฬี า ซเี กมส ป 2558 (ค.ศ.2015) ประเทศไทยอยอู นั ดบั ท่ี 1 ป 2560 (ค.ศ.2017) ประเทศไทยอยอู นั ดบั ท่ี 2 ป 2562 (ค.ศ.2019) ประเทศไทยอยอู นั ดบั ท่ี 2 Sอcนั oดrบัinกgาSรyแsขtงeขmนั ;ก3ฬี -2าซ-1เี ก) แมลสะข แอสงดปงรผะลเทกศารไคทำยนมวแณี นเปวนโ นสม ดั ลสดว นลงรอ โยดลยะคขำอนงวจณำนดวว นยเรหะรบยี บญคะ(%แนMนar(kPeotinSthare) ที่มา : ดัดแปลงจากตารางรายงานผลการแขงขันกีฬาซีเกมส ป ค.ศ. 2015 2017 และ 2019 19

2.2 การแขงขันกีฬาเอเชียนเกมส 2018 การแขงขันครั้งนี้ มีการบรรจุประเภทชนิดกีฬาที่แขงขันในกีฬาโอลิมปกฤดูรอน (Summer Olympic Sports) ในแตละครั้งจะมีจำนวนเหรียญแตกตางกัน เปรียบเทียบ 3 ครั้ง ป 2018 2014 และ 2010 ดวยการ ประเมินจากการคำนวณดวยวิธี %MKS ดังภาพที่ 17 ภาพที่ 17 : การเปรียบเทียบจำนวนสัดสวนรอยละของจำนวนเหรียญ (%MKS) การแขงขันกีฬา เอเชียนเกมส3 ครั้ง ป ค.ศ.2010 2014 และ 2018 ที่มา : ดัดแปลงจากตารางรายงานผลการแขงขันกีฬาเอเชียนเกมส ป ค.ศ. 2010 2014 และ 2018 การวิเคราะหดวยสัดสวนรอยละของจำนวนเหรียญ (Percentage of Market share, MKS) ไดแสดง ลำดับของแตละประเทศดวยการประเมินจากการคำนวณดวยวิธี %MKS โดยประเทศจีนอยูในลำดับที่ 1 ญี่ปุน ลำดับที่ 2 เกาหลีใต ลำดับที่ 3 ตามดวยเจาภาพอินโดนีเซียลำดับที่ 4 และประเทศไทยอยูในลำดับที่ 10 หรือ เปนที่ 2 ในกลุมอาเชียน ดังแสดงในกราฟ ซึ่งหากดูจากตารางเหรียญทอง ไทยจะอยูอันดับที่ 12 ดังภาพที่ 18 20

ภาพที่ 18 : แสดงสัดสวนรอยละ (%MKS) ของชาติตาง ๆ ในการแขงขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส ป ค.ศ. 2018 อนั ดับที่ 10 ที่มา : ดัดแปลงจากตารางรายงานผลการแขงขัน กีฬาเอเชียนเกมส ป ค.ศ. 2018 สรุปการวิเคราะหดวยสัดสวนรอยละของ การเปลี่ยนแปลงแบบ %MKS จะเห็นวาการ เปลี่ยนแปลงของผลการแขงขันของประเทศไทย หรือการสะทอนถึงประสิทธิภาพของนโยบายการ พัฒนากีฬาสูความเปนเลิศ มีแนวโนมเพิ่มขึ้นจาก 2 ครั้งที่ผานมา คือ เพิ่มขึ้น รอยละ 2.76 (2010) 2.81 (2014) และ 3.77 (2018) ตามลำดับ ใน ขณะที่ประเทศเจาภาพประเทศอินโดนีเซียมี MKS รอยละ 6.24 (2018) ซึ่งสูงกวาประเทศไทย ดังภาพที่ 19 สามารถวิเคราะหไดวา ในการแขงขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส ประเทศจีน สามารถดำรงสัดสวนจำนวน %MKS เปนที่ 1 ไดตอเนื่อง โดยเจาภาพอินโดนีเซีย อยูในลำดับที่ 4 และ ไทยอยูในลำดับที่ 10 ของเอเชีย และลำดับที่ 2 ของอาเซียน อยางไรก็ตามในกีฬาเอเชียนเกมส %MKS ของประเทศไทยมีแนวโนมเพิ่มขึ้นและคาดการณวา ในป ค.ศ. 2022 และ 2026 %MKS จะเพิ่มขึ้นเฉลี่ย รอยละ 3.94 และ 4.07 ตามลำดับ ดังแสดงภาพที่ 19 21

ภาพที่ 19 : แนวโนมการเปลี่ยนแปลง สัดสวนรอยละของจำนวนเหรียญ (%MKS) ของกีฬาเอเชียนเกมส ป ค.ศ. 2022 - 2026 แนวโนมการเปลี่ยนแปลง สัดสวนรอยละของจำนวนเหรียญ (%MKS) ของกีฬาเอเชี่ยนเกมส ค.ศ.2022 และ 2026 กีฬาเอเชี่ยนเกมส ค.ศ.2022 และ 2026 3.77 3.94 4.07 2.76 2.81 ป (ค.ศ.) 2010 2014 2018 2022 2026 ที่มา : วิเคราะหจากตารางรายงานผลการแขงขัน กีฬาเอเชียนเกมส ป ค.ศ. 2010 2014 และ 2018 22

ตารางที่ 7 : การรายงานสถานการณ นักกีฬาไทยประสบความสำเร็จ โดยใชวิธีการนับจำนวนเหรียญทอง จากตารางเหรียญ กีฬาโอลิมปกเกมส กีฬาเอเชียนเกมส และกีฬาซีเกมส ตารางสรุปเหรียญทอง กีฬาโอลิมปกเกมส กีฬาเอเซียนเกมส พ.ศ. สถานที่ จำนวนเหรียญ อันดับ พ.ศ. สถานที่ จำนวนเหรียญ อันดับ 2547 เอเธนส 8 25 2545 ปูซาน 42 6 2551 ปกกิ่ง 4 34 2548 โดฮา 54 5 2555 ลอนดอน 4 57 2553 กวางโจว 52 9 2559 ริโอ เดอจาไรโร 6 35 2557 อินซอน 47 6 2561 จาการตา 73 12 กีฬาซีเกมส พ.ศ. สถานที่ จำนวนเหรียญ อันดับ 2555 ปาเล็มบังและจาการตา 102 2 2556 เนปยีดอ 107 1 2558 สิงคโปร 95 1 2560 กัวลาลัมเปอร 72 2 2562 ฟลิปปนส 92 2 ที่มา : วิเคราะหขอมูลจากตารางรายงานผลการแขงขันกีฬาโอลิมปกเกมส กีฬาเอเชียนเกมส และ กีฬาซีเกมส 23

2.3 รายงานการสงเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสูระดับอาชีพ รายป ภาพที่ 20 : รายงานอันดับการแขงขันในกีฬาเอเชียนเกมส โดยใชวิธีการวิเคราะหดวยสัดสวนรอยละ ของจำนวนเหรียญ (Percentage of Market share, %MKS) ป ค.ศ. 2018 เอเซียนเกมส 2018 Market Share (%) 25 20 21.89 15 13.95 11.3 3.77 10 6.24 ไทย 5 4.61 4.17 4.17 4.14 4.07 0 จนี ญป่ี นุ เกาหลใี ต อนิ โดนเี ซยี อซุ เบกสิ ถาน อนิ เดยี คาซคั สถาน อหิ รา น ไตห วนั Nation Rank Market Share (%) 1. จนี 1 21.89 2. ญป่ี นุ 2 13.95 3. เกาหลใี ต 3 11.3 4. อนิ โดนเี ซยี 4 6.24 5. อซุ เบกสิ ถาน 5 4.61 6. อนิ เดยี 6 4.17 7. คาซคั สถาน 7 4.17 8. อหิ รา น 8 4.14 9. ไตห วนั 9 4.07 10. ไทย 10 3.77 ที่มา : วิเคราะหขอมูลจากตารางรายงานผลการแขงขันกีฬาเอเชียนเกมส ป ค.ศ. 2018 24

ภาพที่ 21 : รายงานอันดับการแขงขันในกีฬาซีเกมส โดยใชวิธีการวิเคราะหดวยสัดสวนรอยละของ จำนวนเหรียญ (Percentage of Market share, %MKS) ป ค.ศ. 2019 กีฬาซีเกมส 2019 Market Share (%) 40 38.7 35 30 31.8 25 28.8 26.7 20 15 18.4 10 5 7.3 4.6 3.6 3.4 0 1.3 0.6 ฟลิปปนส ไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร พมา กัมพูชา ลาว บรูไน ติมอร-เลสเต Nation Rank Market share (%) 1. ฟล ปิ ปน ส 1 38.7 2. ไทย 2 31.8 3. เวยี ดนาม 3 28.8 4. อนิ โดนเี ซยี 4 26.7 5. มาเลเซยี 5 18.4 6. สงิ คโปร 6 16.7 7. พมา 7 7.3 8. กมั พชู า 8 4.6 10. ลาว 9 3.4 9. บรไู น 10 1.3 11. ตมิ อร- เลสเต 11 0.6 ที่มา : : วิเคราะหขอมูลจากตารางรายงานผลการแขงขันกีฬาซีเกมส ป ค.ศ. 2019 รายงานอันดับการแขงขันในกีฬาซีเกมส โดยใชวิธีการวิเคราะหดวยสัดสวนรอยละของจำนวนเหรียญ (Percentage of Market share, %MKS) แสดงใหเห็นวาประเทศไทยอยูอันดับที่ 2 จากตาราง 25

ภาพที่ 22 : รายงานอันดับการแขงขันในกีฬาโอลิมปกเกมส โดยใชวิธีการวิเคราะหดวยสัดสวนรอยละ ของจำนวนเหรียญ (Percentage of Market share, %MKS) ป ค.ศ. 2016 กีฬาโอลิมปกเกสม 2016 Market Share (%) 7.39 14 5.86 4.22 3.85 12 13.2 4.54 2.96 2.96 2.22 10 8 อาสณหราาจชกั ร รสั เซยี เยอรมนี ฝรง่ั เศส ญป่ี นุ ออสเตรเลยี อติ าลี เกาหลใี ต 7.6 6 4 2 0 สหรฐั อเมรกิ า จนี Nation Rank Market Share (%) 1. สหรฐั อเมรกิ า 1 13.2 2. สหราชอาณาจกั ร 2 7.6 3. จนี 3 7.39 4. รสั เซยี 4 5.86 5. เยอรมนี 5 4.54 6. ฝรง่ั เศส 6 4.22 7. ญป่ี นุ 7 3.85 8. ออสเตรเลยี 8 2.96 9. อติ าลี 8 2.96 10. เกาหลใี ต 10 2.22 11. ไทย 35 0.63 ที่มา : วิเคราะหขอมูลจากตารางรายงานผลการแขงขันกีฬาโอลิมปกเกมส ป ค.ศ. 2016 รายงานอันดับการแขงขันในกีฬาโอลิมปกเกมส โดยใชวิธีการวิเคราะหดวยสัดสวนรอยละของจำนวนเหรียญ (Percentage of Market share, MKS) แสดงใหเห็นวา ประเทศไทยอยูอันดับที่ 35 จากตาราง 26

3 สถานการณ แนวโนม ขอมูลดานบุคลากร ทางการกีฬาและนันทนาการ การพัฒนาบุคลากรดานการกีฬาและนันทนาการ โดยมีเปาหมายแผนแมบทยอย บุคลากรดานการกีฬา และนันทนาการมีคุณภาพและมาตรฐานเพิ่มขึ้น และมีตัวชี้วัด คือ บุคลากรดานการกีฬานันทนาการ และวิทยาศาสตร การกีฬาทั่วประเทศที่ไดรับการรับรองมาตรฐานเพิ่มขึ้น ในป พ.ศ. 2561 – 2565 เพิ่มขึ้นรอยละ 5 ป พ.ศ. 2560 จำนวน 487 คน และป พ.ศ. 2561 จำนวน 628 คน เพิ่มขึ้นรอยละ 28.95 สูงกวาเปาหมาย (ที่มา : การติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนากีฬาแหงชาติ ฉบับที่ 6 ระยะครึ่งแผนแรก สำนักงาน ปลัดการทองเที่ยวและกีฬา) จากขอมูลบุคลากรการกีฬาที่ผานการฝกอบรมจากกรมพลศึกษา (กพล.) และการกีฬาแหงประเทศไทย (กกท.) (ขอมูล ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2563) บุคลากรการกีฬา ประกอบไปดวย ผูฝกสอน ผูตัดสิน และผูบริหาร การกีฬา โดยผานการอบรมและพัฒนาตามเกณฑมาตรฐานที่กำหนด/หลักสูตรที่สมาคมกีฬาแหงประเทศไทย (ในแตละชนิดกีฬา) เปนผูกำหนดและใหการรับรอง ในระบบทะเบียนบุคลากรทางการกีฬาชาติของการกีฬา แหงประเทศไทย (http://hrd.sat.or.th) ดังภาพที่ 23 ภาพที่ 23 : ขอมูลบุคลากรการกีฬาที่ผานการฝกอบรมจากกรมพลศึกษา (กพล.) และการกีฬาแหง ประเทศไทย (กกท.) ป พ.ศ. 2563 70,000 ขอมูลบุคลากร(ขกาอรมกูลีฬณาทวี่ผันาทนี่ก1า9รฝสกิงอหบารคมมจ2า5ก6ก3พ) ล. และ กกท. 60,000 50,000 ผูตัดสิน, 61,326 40,000 30,000 ผูฝกสอน, 22,791 20,000 ผูนำส14ัน,ท2น20าการ, 10,000 นักจ4ัด,ก1า3ร4กีฬา, ที่มา : ที่มา : สรุปขอมูล บุคลากรการกีฬา จากกรมพลศึกษาและการกีฬาแหงประเทศไทย ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2563 27

3.1 รายงานขอมูลดานบุคลากรทางการกีฬาและนันทนาการ รายป ภาพที่ 24 : รายงานสถานการณบุคลากรทางการกีฬา โดยแยกเปนรายไตรมาส และรายป ป พ.ศ. 2563 2562/Q1 2562/Q2 2562/Q4 2562/Q3 2562/Total 2563/Q1 2563 2563/Q2 2563/Q3 2563/Q4 2563/Total 10.4% 5K 21.7% 4K 3K 67.9% 2K อาสาสมัครกีฬา 1K ผูฝกสอน 0 ผูตัดสินกีฬา อาสาสมคั รกฬี า ผฝู ก สอน บคุ ลากรกฬี า ผตู ดั สนิ กฬี า บุคลากรกีฬา 2562/Q1 2562/Q2 2562/Q3 2562/Q4 2562/Total 2563/Q1 2562/Q2 2562/Q3 2562/Q4 2563/Total 1. ผฝู ก สอน บคุ ลากรกฬี า 357 357 357 357 1,426 227 227 227 227 906 2. ผตู ดั สนิ กฬี า 318 318 318 318 1,272 109 109 109 109 435 3. ผนู ำสนั ทนาการ 0 00 0 0 0 0 0 0 0 4. นกั จดั การกฬี า 0 00 0 0 0 0 0 0 0 5. อาสาสมคั รกฬี า 1,245 1,245 1,245 1,245 4,981 710 710 710 710 2,838 รวมทั้งหมด 1,920 1,920 1,920 1,920 7,679 1,046 1,046 1,046 1,046 4,179 ที่มา : วิเคราะหขอมูลจากขอมูลการรายงานจำนวนบุคลากรดานการกีฬา การกีฬาแหงประเทศไทย ป พ.ศ. 2563 28

4 สถานการณ แนวโนม ขอมูลดานอุตสาหกรรมกีฬา อุตสาหกรรมการกีฬา มีลักษณะเปนอุตสาหกรรมที่มีขนาดใหญ และเปนหนึ่งในอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก อยา งไรก็ตามอตุ สาหกรรมกฬี ามคี วามเกีย่ วขอ ง ทกุ หมวดหมู หรอื กลมุ ใด ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั กฬี า ซง่ึ คำนยิ าม กบั อตุ สาหกรรมอน่ื ๆ หลายอตุ สาหกรรม เชน อตุ สาหกรรม นี้กีฬานี้ประกอบดวย 3 สวนสำคัญ คือ นิยามทางสถิติ: เสอ้ื อตุ สาหกรรมรองเทา อตุ สาหกรรมสอ่ื อตุ สาหกรรมการ ประกอบดวย “กิจกรรมกีฬา” (เฉพาะสวนภาคกีฬาที่มี จดั งาน ทำใหอ ุตสาหกรรมการกฬี า ยังขาดการระบนุ ยิ าม หมวดหมูของ NACE) นิยามเชิงแคบ: กิจกรรมทั้งหมดที่ ที่ชัดเจน ที่สามารถบอกเลาไดถึงขอบเขตและเนื้อหาที่ เปน ปจจัยนำเขา (input) สูก ารจดั กฬี า (ไดแ ก สินคาและ อุตสาหกรรมนี้ครอบคลุมได แมวามีนักวิชาการและ บรกิ ารทง้ั หมดทจ่ี ำเปน สำหรบั การจดั กฬี า) รวมกบั คำจำกดั หนว ยงานบางสว นไดใ หก รอบแนวคดิ เกย่ี วกบั อตุ สาหกรรม ความทางสถิติ นิยามเชิงกวาง: กิจกรรมทั้งหมดที่ตองใช การกีฬาไวแลว เชน แนวคิดของ Brenda Pitts (2008) กฬี าเปน ตวั นำเขา (input) สกู ารจดั กฬี า (ไดแ ก สนิ คา และ ที่ไดใหนิยามของอุตสาหกรรมกีฬาไววา “กลุมของตลาด บรกิ ารทง้ั หมดทเ่ี กย่ี วขอ งกบั กจิ กรรมกฬี า แตไ มใ ชส ำหรบั ที่ประกอบไปดวยผลิตภัณฑ และบริการดานการกีฬา” เรอ่ื งการทำประกนั ภยั หรอื การพนนั ) รวมกบั คำนยิ ามเชงิ แคบ การออกกำลงั กายและนนั ทนาการ ซง่ึ สามารถจดั ใหอ ยใู น อยางไรก็ตามนิยามดังกลาวยังเปนนิยามที่มีความหมาย รูปแบบของกิจกรรม สินคา บริการ บุคลากร สถานที่” กวา งและไมส ามารถแจกแจงสนิ คา และบรกิ ารทอ่ี ยภู ายใต หรอื การจดั ทำ Sport Satellite Accounts (SSAs) ของ อตุ สาหกรรมกีฬาไดอยางละเอยี ด สหภาพยโุ รป (EU) ทไ่ี ดก ำหนดนยิ ามของเศรษฐกจิ การกฬี า (Vilnius Definition) วาเศรษฐกิจการกีฬา เกี่ยวขอ งกับ คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศดานกีฬา ศิลปะ วัฒนธรรม ศาสนา คุณธรรม และ จริยธรรม สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ รวมกับกระทรวงทองเที่ยวและการกีฬา สำนักงานสภาที่ปรึกษา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สถาบันการศึกษาทางการกีฬาและสมาคมการจัดการกีฬาแหงประเทศไทย (2562) ไดจัดหมวดหมูของกลุมที่มีลักษณะธุรกิจ ที่มีการประกอบการอยางใกลเคียงและเชื่อมโยงกัน เปนกลุมธุรกิจ (Cluster) จำนวน 5 กลุมธุรกิจ ดังนี้ กลุมธุรกิจที่หนึ่ง กลุมใหบริการสถานบริการออกกำลังกายและสโมสรกีฬาสมัครเลน ประกอบดวย 2 กลุมยอย ไดแก 1) กลุมสถานที่บริการออกกำลังกาย และ 2) กลุมสโมสรกีฬาสมัครเลน กลุมธุรกิจที่สอง กลุมใหบริการสื่อสารมวลชน ลิขสิทธิ์ทางการกีฬาและกีฬาอาชีพ ประกอบดวย 3 กลุมยอย คือ 1) กลุมสื่อสารมวลชน กิจกรรมการตลาดและโฆษณา การประชาสัมพันธทางการกีฬา 2) กลุมการจัดการสิทธิประโยชนและลิขสิทธิ์ทางการกีฬา และ 3) กลุมกีฬาอาชีพ 29

กลุมธุรกิจที่สาม กลุมวิทยากรทางการกีฬาและผูผลิตบุคลากรทางการกีฬา ประกอบดวย 2 กลุมยอย คือ 1) กลุมการบริการทางวิทยาศาสตรการกีฬา และ 2) กลุมสถาบันการศึกษาผูผลิตบุคลากรดานการกีฬา กลุมธุรกิจที่สี่ กลุมกีฬาเพื่อการทองเที่ยว และการจัดการแขงขัน ประกอบดวย 2 กลุมยอย คือ 1) กลุมการจัดการกีฬาเพื่อการทองเที่ยวและนันทนาการ และ 2) กลุมการจัดการแขงขันกีฬา กลุมธุรกิจที่หา กลุมผูผลิต ผูคา ผูนำเขา และสงออกทางการกีฬา ประกอบดวย 3 กลุมยอย คือ 1) กลุมผูคาปลีกและคาสงอุปกรณกีฬา 2) กลุมผูผลิตอุปกรณกีฬา และ 3) กลุมผูนำเขาและสงออกทางการกีฬา 4.1 สถานการณ แนวโนม ขอมูลดานอุตสาหกรรมกีฬาของโลก อตุ สาหกรรมการกฬี ามอี ตั ราการเจรญิ เตบิ โตอยา งมากในชว งทศวรรษทผ่ี า นมา KPMG หนง่ึ ในบรษิ ทั ตรวจสอบ บญั ชที ใ่ี หญท ส่ี ดุ ในโลก ไดต ง้ั ขอ สงั เกตวา ตลาดกฬี าทว่ั โลกรวมถงึ โครงสรา งพน้ื ฐาน กจิ กรรมการฝก อบรม และสนิ คา กฬี า จะมีมูลคา 6-7 พันลานเหรียญสหรัฐตอป สงผลการเติบโตของ GDP ของเกือบทุกประเทศ ขณะที่ตลาดอุปกรณกีฬา ระดับโลกมีมูลคาประมาณ 3 พันลาน โดยกลุมผูผลิตเหลานี้มียอดขายประจำปเพิ่มขึ้นประมาณรอยละ 4.3 ระหวางป ค.ศ. 2005-2014 ซง่ึ เปน อตั ราทส่ี งู กวา กลมุ ผบู รโิ ภค 1.5 เทา และจะเตบิ โตถงึ รอ ยละ 5.6 ในป ค.ศ. 2020 ในชว ง 5-10 ป ขา งหนา รายไดข องอตุ สาหกรรมกฬี าโลก มแี นวโนม เตบิ โต ในภมู ภิ าคเอเชยี สงู เนอ่ื งจากเอเชยี จะเปน เจา ภาพการจดั การ แขง ขนั กฬี าระดบั โลก เชน โอลมิ ปก 2020 ทป่ี ระเทศญป่ี นุ 4.2 สถานการณ แนวโนม ขอมูลอุตสาหกรรมของเอเชีย ภมู ภิ าคเอเชยี สาธารณรฐั ประชาชนจนี ถอื ไดว า เปน ประเทศทม่ี อี ตุ สาหกรรมการกฬี าทม่ี ขี นาดใหญท ส่ี ดุ ในภมู ภิ าค เอเชยี มมี ลู คา รวมอยทู ่ี 800,000 ลา นหยวน หรอื คดิ เปน รอ ยละ 0.2 ของผลติ ภณั ฑม วลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) อยา งไรกต็ ามอตุ สาหกรรมการกฬี าของสาธารณรฐั ประชาชนจนี ยงั อยใู นระยะเรม่ิ ตน และสามารถพฒั นา ใหเ ตบิ โตไดอ กี มากในอนาคตเพราะมคี วามหลากหลายในดา นอตุ สาหกรรมการกฬี า และมจี ำนวนประชาชนทเ่ี ปน ผชู มกฬี า และผใู ชบ รกิ ารการกฬี าเปน จำนวนมหาศาล รวมทง้ั ในปจ จบุ นั สาธารณรฐั ประชาชนจนี สง เสรมิ ชนดิ กฬี าสากลอกี หลายชนดิ ใหเ ปน ทแ่ี พรห ลายและสรา งกระแสความนยิ มอยา งตอ เนอ่ื ง อาทิ ฟตุ บอล บาสเกตบอล วอลเลยบ อล เทเบลิ เทนนสิ แบดมนิ ตนั เปน ตน ซง่ึ จากการทส่ี าธารณรฐั ประชาชนจนี เปน เจา ภาพจดั การแขง ขนั กฬี าโอลมิ ปก ในป ค.ศ. 2008 สง่ิ ทไ่ี ดร บั จากกฬี า โอลมิ ปก นอกจากเมด็ เงนิ แลว สง่ิ สำคญั ทไ่ี ดร บั คอื การสรา งระเบยี บวนิ ยั ของคนในชาตทิ เ่ี ปน ผลประโยชนท เ่ี ปน นามธรรม ซง่ึ ไมส ามารถวดั คา ไดอ กี ดว ย สง่ิ ทน่ี า สนใจอกี ประการหนง่ึ ของสาธารณรฐั ประชาชนจนี คอื การประกาศนโยบายใหมใ นแผนพฒั นาการกฬี าดว ย การกระตนุ เศรษฐกจิ และพฒั นาสงั คมไปพรอ มกนั ดว ยกลยทุ ธใ หมค อื การใชแ นวทางการพฒั นาอตุ สาหกรรมการกฬี าภายใน ประเทศใหเ ปน กลไกทางเศรษฐกจิ และลดความแตกตา งดา นคณุ ภาพชวี ติ ระหวา งเมอื งและภมู ภิ าค ทง้ั นภ้ี ายใตแ ผนพฒั นา ดา นกฬี าดงั กลา ว รฐั บาลสาธารณรฐั ประชาชนจนี ไดต ง้ั เปา หมายในป ค.ศ. 2025 วา จะกระตนุ ใหป ระชาชนจำนวนไมน อ ยกวา 500 ลา นคน มกี ารออกกำลงั กายเปน ประจำ ดว ยการลงทนุ 30

ในดา นบรกิ ารสาธารณะดา นกฬี า เพอ่ื ใหป ระชาชนทง้ั หมดสามารถ จะเปน ผคู ดั เลอื กและจดั หาผฝู ก สอนเอง ดงั นน้ั นโยบายสนบั สนนุ เขา ถงึ การกฬี า และกำหนดใหเ พม่ิ พน้ื ทส่ี ำหรบั การออกกำลงั กาย อตุ สาหกรรมการกฬี าของสาธารณรฐั ประชาชนจนี ฉบบั ใหมน ้ี จากเดมิ 1.2 ตารางเมตรตอ ประชากร 1 คน เพม่ิ เปน 2 ตารางเมตร จงึ มงุ เนน ทก่ี ารขจดั อปุ สรรคดา นกฎระเบยี บและการเปลย่ี นแปลง ตอ ประชากร 1 คน นอกจากนร้ี ฐั บาลสาธารณรฐั ประชาชนจนี มาตรการลดภาษนี ติ บิ คุ คลสำหรบั ธรุ กจิ ดา นเทคโนโลยกี ารกฬี า ไดน ำเปา หมายดงั กลา วไปสกู ารลงทนุ ในสาธารณปู โภคดา น ขน้ั สงู จากเดมิ รอ ยละ 25 ใหค งเหลอื รอ ยละ 15 จงึ นบั เปน โอกาส การกฬี าจำนวนมหาศาล ในขณะเดยี วกนั ยงั เปน เสมอื นประตทู ่ี ทด่ี ี สำหรบั บรษิ ทั ตา งชาตทิ ม่ี คี วามชำนาญการในการจดั กจิ กรรม เปด กวา งขน้ึ เพอ่ื รองรบั การไหลเวยี นของเงนิ ลงทนุ จากตา งชาติ การทอ งเทย่ี วและการบรหิ ารพน้ื ทด่ี า นการกฬี า ใหเ คลอ่ื นยา ยเขา ทจ่ี ะเขา มามสี ว นรว มในการพฒั นาอตุ สาหกรรมการกฬี าของ มาลงทนุ ทง้ั นข้ี อ มลู ทางสถติ ใิ นป พ.ศ. 2558 พบวา มบี รษิ ทั สาธารณรฐั ประชาชนจนี ปจ จบุ นั อตุ สาหกรรมการกฬี าของ ตา งชาตเิ ขา มาทำธรุ กจิ ดา นบรกิ ารในสาธารณรฐั ประชาชนจนี สาธารณรฐั ประชาชนจนี สว นใหญถ กู ควบคมุ จากสว นกลางคอื ประมาณรอ ยละ 1.55 โดยในจำนวนนเ้ี ปน ธรุ กจิ ดา นการกฬี า องคก รบรหิ ารการกฬี า (General Administration of Sport) ประมาณรอ ยละ 23 ซง่ึ ยงั นบั วา ตำ่ มาก ทง้ั ในดา นการจดั กจิ กรรมและการพฒั นานกั กฬี า โดยสว นกลาง แตหากมีการดำเนนิ การตามนโยบายใหมน ีไ้ ดมกี ารคาดการณวา ภายหลงั จากมกี ารเปด ตลาด ดา นอุตสาหกรรมการกีฬาแลว สดั สว นของกจิ การขา มชาติจะเขา มาลงทนุ และประกอบการใน สาธารณรฐั ประชาชนจีนเพ่มิ มากขึน้ อยา งมาก ในสว นของสาธารณรฐั เกาหลหี รอื เกาหลใี ตน น้ั เปน อกี ประเทศทป่ี ระสบความสำเรจ็ ในการใชก ารกฬี าผลกั ดนั อตั รา เจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ โดยเรม่ิ ตน จากการเปน เจา ภาพเอเชยี นเกมสใ นป ค.ศ. 1986 ซง่ึ เรม่ิ จากการสรา งภาพลกั ษณป ระเทศ ใหท ว่ั โลกรจู กั ตามมาดว ยการจดั ระบบทางธรุ กจิ ทางการกฬี าตง้ั แตก อ นจนจบการแขง ขนั หลงั จากนน้ั แผนการพฒั นาการกฬี า ของเกาหลใี ต กไ็ ดส รา งความเจรญิ เตบิ โตในวงการกฬี าของประเทศ จากการสรา งฟตุ บอลอาชพี เกาหลลี กี (K league) ใหเ ตบิ โต โดยดงึ ประชาชนเขา มามสี ว นรว มในกจิ กรรม หลงั จากนน้ั เกาหลใี ตส ามารถสรา งใหเ กดิ ความเปน หนง่ึ ในการกฬี าดว ยการจดั กจิ กรรมนนั ทนาการทม่ี ขี นาดใหญ สามารถสรา งรายไดถ งึ 24 ลา นเหรยี ญสหรฐั ไดใ นป พ.ศ. 2553 สง ผลใหฟ ตุ บอลทมี ชาติ เกาหลใี ตส ามารถเขา ไปเลน ในรอบสดุ ทา ยของฟตุ บอลโลกถงึ 7 ครง้ั สามารถสรา งรายไดเ ปน มลู คา มากถงึ 109 ลา นเหรยี ญ สหรฐั ในขณะทฟ่ี ตุ บอลอาชพี ในเกาหลลี กี เพม่ิ เรม่ิ กอ ตง้ั ในป พ.ศ. 2536 นอกจากน้ี เกาหลใี ตย งั ประสบความสำเรจ็ ในการ บรหิ ารธรุ กจิ การกฬี า โดยใชก ลยทุ ธด า นการตลาดทง้ั ในระดบั ประเทศและนานาชาติ จนสามารถสรา งทมี ฟตุ บอลและสรา ง แฟนคลบั ทมี ไดอ ยา งมากมายสามารถดงึ ดดู ใหป ระชาชนมอี ารมณร ว มชมและเชยี รไ ปกบั ทมี ฟตุ บอล สำหรบั ประเทศอนิ เดยี ถอื เปน อกี ประเทศหนง่ึ ในภมู ภิ าคเอเชยี ทม่ี พี ฒั นาการจากอตุ สาหกรรมการกฬี าและธรุ กจิ ท่ี เกย่ี วขอ งกบั การกฬี า สามารถสรา งมลู คา ทางเศรษฐกจิ ของประเทศเปน อยา งมากโดยเฉพาะการผลติ และจำหนา ยอปุ กรณ การกฬี าไดส งู ถงึ จำนวน 610 ลา นเหรยี ญสหรฐั ในป ค.ศ. 2014 31

ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ขอมูลทางสถิติของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต พบวา มูลคา เพิ่มทางเศรษฐกิจอันเกิดจากการกีฬาและนันทนาการมีอัตราการเจริญเติบโตขึ้นอยางตอเนื่อง ปรากฏผล ตามแผนภาพที่ 25 มีคาเฉลี่ยของอัตราการเจริญเติบโตของมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจจากการกีฬาและนันทนาการ เมื่อเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑมวลรวมในระยะเวลา 6 ป ระหวางป พ.ศ. 2553-2563 จะอยูในอัตราประมาณรอยละ 0.95 อยางตอเนื่อง แมวาจะมีคานอยกวาคาเฉลี่ย เมื่อเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑมวลรวมแลวจะอยูในอัตรา ประมาณรอยละ 1.24 ก็ตาม แตยังสามารถบงชี้ใหเห็นถึงพัฒนาการและเสถียรภาพที่มีอยู ภาพที่ 25 : อัตราการเติบโตเฉลี่ยของอุตสาหกรรมกีฬาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต Share of sporting value added to GDP in Share of sporting value added to GDP in Southeast Asia1) Southeast Asian co2u0n1t5ri,e%s 2006-2015, USD billion CAGR2010-2020 1.92% Global -0.1%p.a Southeast Asia +0.4%p.a 1.25%1.24% 1.24% 1.24% 1.24% 1.24% 1.24% 1.24% 1.24% 1.24% 1.24% 1.36% 1.24% 1.13% 0.93% 0.95% 0.94% 0.95%0.94% 0.95% 0.96% 0.96% 0.97% 0.97% 0.97% 0.95% 0.53% 0.61% 2010 0.17% Malaysia Philippines Singapore Thailand Vietnam 2011 2012 Indonesia 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 Average taken of six countries in Southeast Asia:Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore, Thailand and Vietnam ที่มา : HIS และ คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศดานกีฬา ศิลปะ วัฒนธรรม ศาสนา คุณธรรม และจริยธรรม สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ป พ.ศ. 2559 32

4.3 สถานการณ แนวโนม ขอมูลดานอุตสาหกรรมกีฬาของไทย อุตสาหกรรมกีฬาในประเทศไทยมีมูลคาตลาดมากกวา 2 แสนลานบาท และมีอัตราเติบโตอยางนอย 4-5% ตอป และมูลคาทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากการแขงขันกิจกรรมกีฬาของการกีฬาแหงประเทศไทย (กกท.) สามารถสรางเม็ดเงินสะพัดสูงถึง 27,663 ลานบาท ที่สำคัญมีแนวโนมเพิ่มขึ้นตอเนื่องในชวง 5 ป และ ในรอบ 6 ป ระหวาง พ.ศ. 2553-2559 มีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยรอยละ 5.6 ในขณะที่อัตราการเจริญเติบโต ของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) เฉลี่ย ประมาณรอยละ 2.8 จึงเห็นไดวาอุตสาหกรรมการกีฬา ในประเทศไทยมีอัตราการเติบโตเปน 2 เทา เมื่อเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ภาพที่ 26 : อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยของไทยกับกิจกรรมเชิงสันทนาการ วัฒนธรรม และกีฬา ป พ.ศ. 2553 - 2563 ที่มา : World Bank, Euromornitor 33

ขนาดและการเติบโต ของอุตสาหกรรมกีฬา มูลคาของอุตสาหกรรมกีฬาประเทศไทย โดยรวบรวมจากผลประกอบการธุรกิจ ปงบการเงิน 2557-2562 จากกองขอมูลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจ กระทรวงพาณิชย มีอัตราการเติบโต เฉลี่ยรอยละ 5.2 ดังแสดงในภาพที่ 27 และคาดการณวาการเติบโตมูลคาธุรกิจทางการกีฬา ในป 2563 2564 2565 จะเพิ่มขึ้น รอยละ 2.36 2.37 และ 2.38 ตามลำดับ และ พ.ศ. 2563-2580 มีจะอัตราเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 2.9 ดังแสดงในภาพที่ 28 ตารางที่ 8 : ผลประกอบการธุรกิจกีฬา ปงบการเงิน พ.ศ. 2557-2562 ที่มา : กองขอมูลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการคา (22 มกราคม พ.ศ. 2564) 34

ภาพที่ 27 : รายงานสถานการณปจจุบัน : ผลประกอบการของธุรกิจ ปงบการเงิน พ.ศ. 2557–2562 มูลคาอุตสาหกรรมการกีฬามีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้น เฉลี่ยรอยละ 5.2 ตอป 250000 ลานบาท ผลประกอบการของธุรกิจ ประกอบดวย 200000 17,6013 19,7087 20,9107 20,5243 21,5854 22,5299 • การผลิตชุดและอุปกรณการกีฬา 150000 2558 2559 2560 • กิจกรรมนันทนาการและการแขงขันกีฬา ป.พ.ศ. • การขายสงและสงออกสินคาเกี่ยวกับกีฬา 100000 2561 2562 • การผลิตและจำหนายเครื่องดื่มกีฬา • การขายปลีกสินคาเกี่ยวกับกีฬา 50000 • การดำเนินการใหความรูทางกีฬา • การดำเนินการใหเชาสถานที่และอุปกรณกีฬา • การดำเนินการซอมบำรุงเกี่ยวกับการกีฬา 0 2557 ที่มา : กองขอมูลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการคา (22 มกราคม พ.ศ. 2564) ภาพที่ 28 : รายงานสถานการณปจจุบัน : การคาดการณผลประกอบการของธุรกิจ ปงบการเงิน พ.ศ. 2563 -2580 3.00 1.96 2.06 2.05 2.15 2.25 2.36 2.37 2.38 2.43 2.50 2.57 1.76 2.50 ~2.9%2.00 1.50 1.00 0.50 ป.พ.ศ. 0.00 ที่มา : ดัดแปลงจากผลประกอบการธุรกิจกีฬา ปงบการเงิน พ.ศ.2557-2562 กองขอมูลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการคา 35

4.4 รายงานสถานการณ แนวโนม ขอมูลดานอุตสาหกรรมกีฬา รายป ป 2557-2562 ภาพที่ 29 : รายงานสถานการณปจจุบัน : ผลประกอบการธุรกิจกีฬา ปงบการเงิน พ.ศ. 2557-2562 รายงานมูลคาอุตสาหกรรมการกีฬา 2557 2558 2559 2560 2561 2562 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (ลานบาท) 500K 400K 300K 200K 100K 0 รายไดรวม (ลานบาท) พ.ศ. 2557 2558 2559 2560 2561 2562 1. รายไดร วม (ลา นบาท) 352,012.97 349,154.73 418,205.48 410,479.50 413,696.78 450,588.49 2. กำไร (ขาดทนุ ) 20,810.78 30,289.84 30,413.24 29,717.23 40,942.73 35,727.3 สทุ ธิ (ลา นบาท) 36

ที่มา : ผลประกอบการธุรกิจกีฬา ปงบการเงิน พ.ศ. 2557-2562 กองขอมูลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการคา 37

5 สรุปสภาพปญหาและขอเสนอแนะ ของการรายงานสถานการณดานการกีฬาของประเทศ 5.1 การสำรวจขอมูลกิจกรรมทางกาย การออกกำลังกาย หรือการเลนกีฬา จะใชนิยาม และเกณฑ ที่แตกตางกัน วิธีการสุมตัวอยาง จำนวนประชากร การแบงชวงอายุสำหรับวัยตาง ๆ แบบสำรวจ ที่แตกตางกัน ชวงเวลาที่ทำการสำรวจขอมูล สงผลใหการเปรียบเทียบขอมูลของแตละประเทศไมไปในทิศทางเดียวกัน ขึ้นอยู กับวิธีการสำรวจของแตละประเทศ โดยประเทศไทยที่ผานจากการทบทวนรายงานการสำรวจกิจกรรมทางกาย การออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา ดังที่กลาวมาแลว มีหลายหนวยงานทำการสำรวจขอมูล บนนิยามที่แตกตางกัน และวิธีการสำรวจ รวมทั้งเครื่องมือที่ใช ก็แตกตางกัน จึงทำใหการนำขอมูลมาเปรียบเทียบกันไดคอนขางแตกตางกัน ไมเปนในทิศทางเดียวกัน ทำขาดความนาเชื่อถือ ดังนั้นเพื่อเปนในทิศทางเดียวกัน และทำใหการสำรวจขอมูล มีความนาเชื่อถือในการรายงานขอมูลในแตละครั้งที่ทำการสำรวจ ถูกตองตามหลักระเบียบวิธีวิจัย จากผลรายงาน การสัมมนากลุมยอย ใหใชนิยามที่ใชสำหรับการสำรวจการออกกำลังกาย หรือเลนกีฬา คือ ออกกำลังกายอยางนอย 30 นาทีตอครั้ง ที่ระดับความหนักอยางนอยปานกลาง อยางนอย 3 ครั้งตอสัปดาห ในวัยผูใหญที่มีอายุตั้งแต 15 ปขึ้นไป ใหกำหนดรูปแบบการสำรวจที่มีความนาเชื่อถือ ดวยระเบียบวิธีวิจัยที่มีคุณภาพ และกองเศรษฐกิจ การทองเที่ยวและกีฬา กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ควรเปนหนวยงานหลักในการสำรวจและวิเคราะหขอมูล 5.2 การประเมินความสำเร็จของนักกีฬาในระดับนานาชาติ จากการทบทวนรายงานการนำเสนอ ผลการแขงขันในกีฬาระดับมหกรรมกีฬาของประเทศ จะรายงานผลอันดับนักกีฬาไทยที่ทำได ดวยการนับ เหรียญทองที่แสดงในตารางแสดงจำนวนเหรียญจากผลการแขงขัน ซึ่งวิธีการแบบนี้มีจุดออนหรือปญหาใน การประเมินประสิทธิภาพนักกีฬาในระดับนานาชาติ เนื่องจากการแขงขันในแตละครั้งจำนวนเหรียญไมเทากัน ไมสามารถเปรียบเทียบพัฒนาการของนักกีฬาได และการนับเฉพาะเหรียญทอง เปนการนับเชิงเปรียบเทียบ กับชาติอื่น ไมไดนับแบบเปรียบเทียบเชิงสมบูรณของเหรียญที่ได จึงทำใหการเปรียบเทียบในแตละครั้ง แตกตางกัน หรืออันดับไมแนนอน เชน บางครั้งไดจำนวนเหรียญมาก ไดอันดับในตารางอยูทาย แตบางครั้ง ไดจำนวนเหรียญนอยลงจากครั้งที่แลว แตอันดับในตารางดีขึ้น ดังนั้นเพื่อประเมินผลงานของนักกีฬาที่มี ความนาเชื่อถือ สามารถเปรียบเทียบพัฒนาการของนักกีฬาไทยในแตละครั้งได รวมทั้ง เปรียบเทียบกับชาติ อื่น ๆ ได จากการทบทวนรายงานการวิจัย และผลการสนทนากลุมยอย เสนอแนะใหวิธีการประเมินแบบ สัดสวนรอยละ (Percentage of market share: %MKS) มาประเมินอันดับความสำเร็จของนักกีฬาไทย และยังสามารถเปนตัวสะทอนถึงความสำเร็จของนโยบายหรือแผนพัฒนากีฬาของชาติในระดับนานาชาติ ดังทีกลาวและเสนอไวในรายงานสถานการณ แนวโนม นักกีฬาประสบความสำเร็จในการแขงขัน 5.3 การสำรวจบุคลากรดานการกีฬาของประเทศ จากการทบทวนรายงานขอมูลสถานการณ จำนวน บุคลากรดานการกีฬาจากหนวยงานที่ทำการเก็บรวบรวมขอมูลทั้งกรมพลศึกษา และการกีฬาแหงประเทศไทย พบวา จำนวนบุคลากรดานการกีฬา มีหลายหนวยงานใหการฝกอบรม ไมเปนมาตรฐานเดียวกัน ทำงาน ซ้ำซอนกัน ไมมีฐานขอมูลเดียวกัน จึงทำใหเปนปญหาในการพัฒนาบุคลากรดานการกีฬาที่มีคุณภาพ ดังนั้น 38

เพื่อใหไปในทิศทางเดียวกัน จากผลการสนทนากลุมยอย ไดเสนอดังนี้ บุคลากรดานการกีฬาควรไดรับการ ฝกอบรม หรือไดรับการรับรองจากหนวยงานที่มีมาตรฐาน จากสมาคมกีฬาแหงประเทศไทย ในแตละชนิด กีฬา หรือสหพันธกีฬานานาชาติ ในแตละชนิดกีฬานั้น ๆ และมีหนวยงานที่รับผิดชอบฐานขอมูลบุคลากร ดานกีฬาอยางชัดเจน ในการที่จะบูรณาการกับหนวยงานตาง ๆ ดานกีฬาที่จะจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบ เพื่อประโยชนในการบริหารจัดการดานบุคลากรกีฬา และพัฒนาบุคลากรดานการกีฬาอยางมีประสิทธิภาพ 5.4 การรายงานสถานการณ แนวโนม ขอมูลดานอุตสาหกรรมกีฬาของไทย ไทย โดยคณะกรรมา ธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศดานกีฬา ศิลปะ วัฒนธรรม ศาสนา คุณธรรม และจริยธรรม สภาขับเคลื่อน การปฏิรูปประเทศ รวมกับกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สถาบันการศึกษาทางการกีฬาและสมาคมการจัดการกีฬาแหงประเทศไทย ไดกำหนดกลุมธุรกิจ (Cluster) ออกเปน 5 กลุม ดังกลาวขางตน แตการรายงานมูลคาของอุตสาหกรรมกีฬาของกระทรวงการทองเที่ยวและ กีฬาไดขอมูลจาก กองขอมูลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการคา ยังไมตรงหรือเปนไปตามการจัดหมวดหมูของกลุม ที่มีลักษณะธุรกิจ 5 กลุมของรายงานการศึกษา เรื่องอุตสาหกรรมกีฬาประเทศไทย รวมถึงจากผลการรายงาน จากการประชุมสัมมนากลุมยอย ภายใตโครงการจัดทำรายงานสถานการณการกีฬาของชาติ ของสำนักงาน ปลัดกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา เสนอใหมีการรายงานมูลคาธุรกิจกีฬา หรือมูลคาอุตสาหกรรมกีฬา ตามหมวดหมูที่ไดศึกษาไว 5 กลุมธุรกิจ ประกอบดวย กลุมธุรกิจที่หนึ่ง: กลุมใหบริการสถานบริการออกกำลังกายและสโมสรกีฬาสมัครเลน ประกอบดวย 2 กลุมยอย ไดแก 1) กลุมสถานที่บริการออกกำลังกาย 2) กลุมสโมสรกีฬาสมัครเลน กลุมธุรกิจที่สอง: กลุมใหบริการสื่อสารมวลชน ลิขสิทธิ์ทางการกีฬาและกีฬาอาชีพ ประกอบดวย 3 กลุมยอย คือ 1) กลุมสื่อสารมวลชน กิจกรรมการตลาดและโฆษณา การประชาสัมพันธทางการกีฬา 2) กลุมการจัดการสิทธิประโยชนและลิขสิทธิ์ทางการกีฬา และ 3) กลุมกีฬาอาชีพ กลุมธุรกิจที่สาม: กลุมวิทยากรทางการกีฬาและผูผลิตบุคลากรทางการกีฬา ประกอบดวย 2 กลุมยอย คือ 1) กลุมการบริการทางวิทยาศาสตรการกีฬา และ 2) กลุมสถาบันการศึกษาผูผลิตบุคลากรดานการกีฬา กลุมธุรกิจที่สี่: กลุมกีฬาเพื่อการทองเที่ยว และการจัดการแขงขัน ประกอบดวย 2 กลุมยอย คือ 1) กลุมการจัดการกีฬาเพื่อการทองเที่ยวและนันทนาการ และ 2 ) กลุมการจัดการแขงขันกีฬา กลุมธุรกิจที่หา: กลุมผูผลิต ผูคา ผูนำเขา และสงออกทางการกีฬา ประกอบดวย 3 กลุมยอย คือ 1) กลุมผูคาปลีกและคาสงอุปกรณกีฬา 2) กลุมผูผลิตอุปกรณกีฬา และ 3) กลุมผูนำเขาและสงออกทางการกีฬา 39

6 คำนิยาม การออกกำลังกาย หรือการเลนกีฬาอยางสม่ำเสมอ การออกกำลังกาย หรือเลนกีฬาอยางสม่ำเสมอ หมายถึง การเคลื่อนไหวรางกายหรือการออกแรงใน กิจกรรมการออกกำลังกาย หรือการเลนกีฬา ครั้งละไมนอยกวา 30 นาที ที่ระดับความเหนื่อยอยางนอยปานกลาง อยางนอย 3 ครั้งตอสัปดาห บุคลากรการกีฬา 1. บุคลากรการกีฬา หมายถึง ผูฝกสอน ผูตัดสิน ผูบริหารการกีฬา และนักวิทยาศาสตรการกีฬาหรือ บุคลากรอื่น ๆ ที่ปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับการกีฬา ซึ่งมีการนับจำนวนบุคลากรการกีฬา ที่ไดรับการอบรมและ พัฒนาตามเกณฑมาตรฐานที่กำหนดจากหนวยงานวิชาชีพ หรือหลักสูตรที่สมาคมกีฬาแหงประเทศไทย (ในแต ละชนิดกีฬา) เปนผูกำหนดและใหการรับรอง ในระบบทะเบียนบุคลากรทางการกีฬาชาติของการกีฬาแหงประเทศไทย หรือมาตรฐานการฝกอบรมระดับนานาชาติของสหพันธกีฬานานาชาติแตละชนิดกีฬาโดยใชระบบการนับที่ไมมี ความซ้ำซอน (ระบบทะเบียนบุคลากรทางการกีฬาชาติ ; http://hrd.sat.or.th) 2. บุคลากรการกีฬาที่ไดรับการพัฒนาใหมีมาตรฐาน หมายถึง บุคลากรกีฬาเพื่อความเปนเลิศ (ผูตัดสิน ผูฝกสอน และผูบริหาร) ที่ไดรับการพัฒนาหรือผานการอบรมตามมาตรฐาน/หลักสูตรที่สมาคมกีฬา แหงประเทศไทย (ในแตละชนิดกีฬา) เปนผูกำหนดและใหการรับรอง พรอมกันนี้ไดดำเนินการแจง รายชื่อ ดังกลาวเพื่อให กกท. รับรองพรอมขึ้นทะเบียนไวอยางเปนทางการโดยมีขอมูลตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน อุตสาหกรรมการกีฬา อุตสาหกรรมการกีฬา หมายถึง ระบบการผลิตสินคาและบริการทางดานกีฬา การออกกำลังกายและ นันทนาการและการพาณิชยกรรม ที่กอใหเกิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ประกอบดวย 5 กลุมธุรกิจ ดังนี้ กลุมธุรกิจที่หนึ่ง: กลุมใหบริการสถานบริการออกกำลังกายและสโมสรกีฬาสมัครเลน ประกอบดวย 2 กลุมยอย ไดแก 1) กลุมสถานที่บริการออกกำลังกาย และ 2) กลุมสโมสรกีฬาสมัครเลน กลุมธุรกิจที่สอง: กลุมใหบริการสื่อสารมวลชน ลิขสิทธิ์ทางการกีฬาและกีฬาอาชีพ ประกอบดวย 3 กลุมยอย คือ 1) กลุมสื่อสารมวลชน กิจกรรมการตลาดและโฆษณา การประชาสัมพันธทางการกีฬา 2) กลุมการจัดการ สิทธิประโยชนและลิขสิทธิ์ทางการกีฬา และ 3) กลุมกีฬาอาชีพ 40

กลุมธุรกิจที่สาม: กลุมวิทยากรทางการกีฬาและผูผลิตบุคลากรทางการกีฬา ประกอบดวย 2 กลุมยอย คือ 1) กลุมการบริการทางวิทยาศาสตรการกีฬา และ 2) กลุมสถาบันการศึกษาผูผลิตบุคลากรดานการกีฬา กลุมธุรกิจที่สี่: กลุมกีฬาเพื่อการทองเที่ยว และการจัดการแขงขัน ประกอบดวย 2 กลุมยอย คือ 1) กลุมการจัดการกีฬาเพื่อการทองเที่ยวและนันทนาการ และ 2) กลุมการจัดการแขงขันกีฬา กลุมธุรกิจที่หา: กลุมผูผลิต ผูคา ผูนำเขา และสงออกทางการกีฬา ประกอบดวย 3 กลุมยอย คือ 1) กลุมผูคาปลีกและคาสงอุปกรณกีฬา 2) กลุมผูผลิตอุปกรณกีฬา และ 3) กลุมผูนำเขาและสงออกทางการกีฬา 41

บรรณานุกรม Caspersen CJ, Powell KE, Christenson GM. (1985). Physical activity exercise, and physical fitness: Definitions and distinctions for health-related research. Public Health Rep. 100(2): 126-31. Faisal B. (2020). Physical Activity at Home During the COVID-19 Pandemic in the Two Most-affected Cities in Saudi Arabia. The open Public Health Journal. (13): 470-6. Haskell WL, Lee IM, Pate RR, et al. (2007). Physical activity and public health: update recommendation for adults from the American college of sports medicine and American heart association. Med Sci: Sports Exerc. 39(8): 1423-34. Haskell WL. (1978). Cardiovascular during complications during exercise training of cardiac patients. Circulation. 57(5): 920-4. Iris L, Carl N. (2020). The impact of COVID-19 on physical activity behavior and well-being of Canadians. Int J Environ Res Public Health. (17): 1-12. John N, Sarah Z, and Yong H. (2020). The sports world in the era of COVID-19. Sport in Society. Online. 23(11): 1703-6. Piyawat K, Dyah W, Pairoj S, et al. (2020). The effects of the COVID-19 pandemic on the physical activity of Thai population: Evidence from Thailand’s Surveillance on physical activity 2020. Journal of Sport and Health Science. 1-8. Regina G, Gretchen S, Leanne R, and Fiona B. (2020). Global trends in insufficient physical activity among adolescents: a pooled analysis of 298 population-based survey with 1.6 million participants. Lanncet Child Adolesc Health. (4): 23-35. Valllerio G, Anna P, Antonio, et al. (2020). Physical activity levels and related energy expenditure during COVID-19 Quarantine among the Sicilian activity population: A cross-sectional online survey study. Sustainability. (12): 1-19. World Health. (2010). Global recommendations on physical activity for health. Geneva: Organization. 42

Wolters Kluwer. (2018). ACSM’s Guidelines for exercise testing and prescription. 10th ed. Yamada M, Kimura Y, Ishiyama D, et al. (2020). Effect of the COVID-19 epidemic on physical activity in community-dwelling older adults in Japan: A cross-sectional online survey. J Nutr Health Aging. 1-3. สำนกั งานปลดั กระทรวงการทอ งเทย่ี วและกฬี า กระทรวงการทอ งเทย่ี วและกฬี า. โครงการจดั ทำแผนพฒั นา เศรษฐกจิ การกฬี าของประเทศไทย. (2562-2565). ฉบบั ท่ี 1. กรงุ เทพฯ. 43

กองงานคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแหงชาติ สำนกั งานปลดั กระทรวงการทอ งเที่ยวและกีฬา เลขที่ 4 ถนนราชดำเนินนอก แขวงวัดโสมมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กทม. 10100 โทรศัพท 02-142-7813 โทรสาร 02-143-7720 สำนกั งานปลัดกระทรวงการทองเที่ยวและกฬี าอีเมลล corkorchor@gmail.com เว็บไซต https://secretary.mots.go.th/sports_policy