พระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระ นามเดิมว่า “ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพลอดุลย เดช” ทรงเป็นพระราชโอรสในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลย เดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (ต่อมาได้รับการเฉลิม พระนามาภิไธยเป็น สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดช วิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาล (ต่อมาได้รับ การเฉลิมพระนามาภิไธย เป็นสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลย เดช ทรงเสด็จพระราชสมภพ เม่ือวันท่ี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ณ โรงพยาบาลเมานท์ออเบอร์น รัฐเมสสาชูเขตต์ ( MASSACHUSETTS) ประเทศสหรฐั อเมรกิ า
เกร็ดความรู้ เพอ่ื ความสะดวกในการศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ กรุงรัตนโกสินทร์ จึงได้แบ่งพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ออกเป็น3 ช่วง คือ สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ซ่ึงเป็น ช่วงสมัยที่เริ่มก่อร่างสร้างตัวและฟ้ืนฟู บ้านเมือง สมัยปรับปรุงประเทศในช่วง รัชกาลท่ี 4–6 เพ่ือให้บ้านเมืองทันสมัย แ ล ะ ร อ ด พ้ น จ า ก ก า ร คุ ก ค า ม โ ด ย ช า ติ ตะวันตก และสมัยประชาธิปไตย ในช่วง รัชกาลท่ี 7 จนถึงปัจจุบัน เพ่ือให้ประชาชน มีสิทธิเสรีภาพและประเทศมีการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ ประมุข
พระราชกรณยี กิจด้านการแพทย์และสาธารณสขุ ในการเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเย่ียม ราษฎรตามท้องท่ีตา่ งๆ ทุกครั้ง จะทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้มีคณะแพทย์ที่ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาจากโรงพยาบาลต่างๆ และล้วนเป็นอาสาสมัครท้ังส้ิน โดยเสด็จพระราช ดาเนินไปในขบวนอย่างใกล้ชิด พร้อมด้วยเวชภัณฑ์ และเคร่อื งมือแพทย์ครบครนั พรอ้ มที่ จะให้การรักษาพยาบาลราษฎร ผู้ป่วยไขไ้ ดท้ ันที
พระราชกรณียกจิ ดา้ นการเกษตรและชลประทาน พระองค์ทรงเห็นว่าราษฎรส่วนใหญ่เป็น เกษตรกร และค่อนข้างอยู่ในฐานะยากจน พระองค์ จึงทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจ เพ่ือสนับสนุน ส่งเสริม และช่วยเหลือกิจกรรมเก่ียวกับการเกษตร ของชาติเป็นสาคัญ ราษฎรไทยจึงพร้อมใจกันถวาย พระเกียรติว่า “ กษัตรยิ ์เกษตร ” นอกจากพระองค์ จะทรงส่งเสริมการเกษตรโดยตรงแล้ว พระองค์ยัง ทรงฟืน้ ฟู และปรบั ปรุงพระราชพธิ ีมงคล จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ซง่ึ เปน็ พระราชพิธที ี่เคยมีมาแตโ่ บราณกาลครงั้ กรงุ สโุ ขทยั เปน็ ราชธานี ใหค้ งอยคู่ ู่ชาติไทย ตลอดไป
พระราชกรณียกิจด้านการศกึ ษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนัก ดีว่า การพัฒนาการศึกษาของเยาวชนน้ัน เป็น พื้นฐานอันสาคัญของประเทศชาติ จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์จัดตั้งมูลนิธิ อานันทมหิดล ให้เป็นทุนสาหรับการศึกษาในแขนง วิชาต่างๆ เพ่ือให้นักศึกษาได้มีทุนออกไปศึกษา หา ความรู้ต่อในวิชาการช้ันสูงในประเทศต่างๆ โดยไม่มี เง่อื นไขข้อผกู พันแตป่ ระการใด เพ่ือที่จะได้ นาความรนู้ ้นั ๆ กลบั มาใชพ้ ัฒนา ประเทศชาตใิ หเ้ จริญกา้ วหนา้ ต่อไป
พระราชกรณียกจิ ด้านการพฒั นาชนบท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ ดลุ ยเดชทรงพฒั นาชนบทในรูปโครงการอันเนื่อง มา จากพระราชดาริ มีจุดประสงค์ คือ การพัฒนาบท เพื่อให้ราษฎรในชนบทได้มีความเป็นอยู่ตลอดจน สามารถประกอบอาชีพ เล้ียงครอบครัวให้ดีข้ึน แนว พระราชดาริที่สาคัญในเร่ืองการพัฒนาชนบท คือมี พระราชประสงค์ช่วยให้ชาวชนบทสามารถช่วยเหลือ พึ่งตนเองได้ โดยการสร้างพ้ืนฐานหลักที่จาเป็นต่อ การผลิตให้แก่ราษฎรเหล่าน้ัน ทรงส่งเสริมให้ชาว ชนบทมีความรู้ในการประกอบอาชีพตามแต่ละ ท้องถิ่น นอกจากน้ียังทรงหาทางนาเอาวิทยาการ สมัยใหมม่ าประยกุ ต์กบั ภมู ิปัญญาชาวบ้าน
แบบอยา่ งความดสี ู่การปฏิบตั ิตน พระองคท์ รงงานหนักโดยไม่หวังผล นายพธิ าน บญุ เกตุ เลขท่ี 3 ใดตอบแทน และพระองค์มีเมตตาในการ เสียสละความสุขส่วนตัวเพื่อประโยชน์สุข สว่ นรวมอยา่ งแท้จรงิ การนาไปใชส้ ู่การปฏบิ ัติตน ความมีเมตตา : ช่วยเหลือสัตว์ที่ไม่มี เจ้าของ เช่น ให้อาหารมัน และช่วยเหลือ คนท่ีด้อยโอกาส เช่น ให้ข้าวปลาอาหาร หรอื เงิน
แบบอย่างความดสี ู่การปฏบิ ตั ติ น พระองค์ท่านได้มีพระราชดาริริเร่ิม โครงการขึ้นมามากมาย ซึ่งจะเห็นว่า โครงการต่างๆล้วนประสบผลสาเร็จโดย ความเพียร มุ่งม่ัน อดทน ของพระองค์ ทา่ นท้งั ส้นิ การนาไปใชส้ กู่ ารปฏิบตั ติ น ความเพียรพยายาม : ในการเรียนต้องมี ความเพียรพยายาม มุ่งม่ัน อดทน เพื่อ นายทวชี ยั นันตะภาลยั เลขท่ี8 อนาคตท่ดี ีในภายหนา้
แบบอย่างความดีสกู่ ารปฏบิ ตั ิตน จากเหตุการณ์ท่ีผ่านมาท้ังในเมืองไทย และต่างประเทศ บางคร้ังเป็นเรื่องยากย่ิง สาหรับพระองค์ที่จะทรงอดทนได้ แต่พระองค์ ยังทรงอดทนรักษาพระราชหฤทัย พระวาจา พระวรกาย และพระอาการ ให้สงบเรียบร้อย งดงามได้ในทกุ สถานการณ์ การนาไปใช้ส่กู ารปฏิบตั ิตน ความอดทน : เม่ือรสู้ กึ โกรธเพอ่ื นหรือโกรธใครก็ นายเศกสรรค์ อารยี ์ เลขท1่ี 3 ตาม ตอ้ งยบั ย้งั ชั่งใจท่จี ะไม่โกรธ
แบบอย่างความดีสู่การปฏบิ ตั ติ น พระองค์ทรงมีสัมมาคารวะอ่อนน้อม มี พระราชอัธยาศัยอ่อนโยนต่อบุคคลที่เสมอ พระองคแ์ ละต่ากว่า การทท่ี รงวางพระองคเ์ ชน่ น้ี จึงก่อให้เกิดความสุขความเจริญแก่บ้านเมือง และความปติ ศิ รทั ธาแกช่ าวไทยอยา่ งไม่มอี ะไรจะ เปรียบ การนาไปใชส้ ู่การปฏิบตั ิตน ความอ่อนโยน : ไม่ว่าจะกับคนหรือสัตว์ควรมี นายภานวุ ฒั น์ คงเจรญิ ทรง ความออ่ นโยนตอ่ กันไม่ทารา้ ยกนั ใหบ้ าดเจบ็ เลขท1ี่ 5
แบบอย่างความดสี ู่การปฏบิ ตั ติ น พระองค์เปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายแสดง ความคิดเห็น โดยยอมรับฟังความคิดเห็นจาก บุคคลทุกฝ่าย จึงทาให้งานพระราชดาริของ พระองค์ทา่ นนัน้ ล้วนแต่สาเร็จลลุ ว่ งไปดว้ ยดี การนาไปใชส้ ู่การปฏิบัติตน นายคณศิ ร คงอารมย์ ความเป็นประชาธิปไตย : เม่ือทางานกลุ่มแล้ว เลขท3ี่ 3 เกิดความขัดแย้งควรใช้ความเป็นประชาธิปไตย ในการตัดสนิ โดยการฟังเสียงสว่ นมาก
นายพธิ าน บุญเกตุ เลขท่ี 3 นายทวชี ยั นันตะภาลยั เลขที่ 8 นายเศกสรรค์ อารีย์ เลขท่ี 13 นายภานวุ ัฒน์ คงเจรญิ ทรง เลขที่ 15 นายคณศิ ร คงอารมย์ เลขท่ี 33 ช้นั มธั ยมศกึ ษษปที ่ี 5/5 เสนอ คณุ ครพู กิ ลุ มีใจเจอื โรงเรยี น ภาชี “สนุ ทรวิทยานกุ ลู ”
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: