Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์

ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์

Published by swatpong.kk, 2018-05-09 01:14:23

Description: ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

ประวตั ิความเปน มาของคอมพวิ เตอร คอมพวิ เตอรทเ่ี ราใชก นั อยทู กุ วนั นีเ้ ปน ผลมาจากการประดษิ ฐคิดคน เคร่ืองมือในการคาํ นวณซึง่ มวี วิ ัฒนาการนานมาแลว เรม่ิ จากเครอื่ งมือ ในการคํานวณเคร่ืองแรกคอื \"ลูกคดิ \" (Abacus) ที่สรางขึ้นในประเทศ จีน เม่ือประมาณ 2,000-3,000 ปม าแลว จนกระทัง่ ในป พ.ศ. 2376 นกั คณติ ศาสตช าวองั กฤษ ชอื่ ชารล แบบ เบจ (Charles Babbage) ไดประดิษฐเ คร่ือง วเิ คราะห (Analytical Engine) สามารถคาํ นวณคา ของตรโี กณมิติ ฟง กช ัน่ ตา งๆ ทางคณิตศาสตร การทาํ งานของเคร่ืองนแ้ี บง เปน 3 สวน คอื สวนเก็บขอ มลูสว นคํานวณ และสว นควบคมุ ใชระบบพลังเครือ่ งยนตไอน้ําหมุนฟน เฟอ ง มขี อ มูลอยูในบัตรเจาะรูคาํ นวณไดโ ดยอัตโนมตั ิ และเก็บขอมลู ในหนว ยความจาํ กอนจะพมิ พออกมาทางกระดาษหลกั การของแบบเบจนเ้ี องที่ไดน ํามาพัฒนาสรา งเครอื่ งคอมพวิ เตอรสมยั ใหม เราจงึ ยกยอ งใหแ บบเบจเปน บิดาแหงเครอ่ื งคอมพวิ เตอรห ลงั จากนน้ั เปน ตนมา ไดมีผูประดษิ ฐเ คร่ืองคอมพิวเตอรขนึ้ มามากมายหลายขนาดทาํ ใหเปน การเริม่ ยคุ ของคอมพิวเตอรอ ยางแทจรงิ โดยสามารถจัดแบงคอมพิวเตอรอ อกไดเปน 5 ยุคยุคที่หนึ่ง (First Generation Computer) พ.ศ. 2489-2501 เปน การประดษิ ฐเ ครอ่ื งคอมพิวเตอรทีม่ ิใชเ ครือ่ งคํานวณ โดยเมาชล แี ละเอก็ เคอรต (Mauchlyand Eckert) ไดน ําแนวความคดิ นนั้ มาประดิษฐเ ปน เครือ่ งคอมพวิ เตอรท ีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพมากเครอ่ื งหนง่ึเรียกวา ENIAC (Electronic Numericial Integrator and Calculator) ซึ่งตอ มาไดทําการปรบั ปรุงการทํางานของเครื่องคอมพวิ เตอรใหมปี ระสิทธภิ าพดยี ิง่ ขนึ้ และไดประดษิ ฐเ คร่ือง UNIVAC (UniversalAutomatic Computer) ข้ึนเพอ่ื ใชในการสํารวจสํามะโนประชากรประจาํ ป จงึ นบั ไดว า UNIVAC เปนเครือ่ งคอมพิวเตอรเครื่องแรกของโลกทีถ่ ูกใชง านในเชิงธุรกจิ ซง่ึนับเปนการเรม่ิ ของเครื่องคอมพิวเตอรใ นยคุ แรกอยางแทจ รงิ เคร่ืองคอมพวิ เตอรในยคุ นใี้ ชห ลอดสุญญากาศในการควบคมุ การทาํ งานของเคร่อื ง ซ่งึ ทาํ งานไดอยางรวดเร็ว แตมขี นาดใหญม ากและราคาแพง ยคุ แรกของคอมพิวเตอรสน้ิ สดุ เมือ่ มผี ูป ระดิษฐท รานซสิ เตอรมาใชแ ทนหลอดสญู ญากาศ

ลกั ษณะเฉพาะของเครือ่ งคอมพวิ เตอรยุคท่ี 1 1. ใชอปุ กรณ หลอดสญุ ญากาศ (Vacuum Tube) เปนสว นประกอบหลกั ทาํ ใหต วั เคร่ืองมีขนาดใหญ ใชพลงั งานไฟฟามาก และเกดิ ความรอนสูง 2. ทาํ งานดว ยภาษาเครอื่ ง (Machine Language) เทา นนั้ 3. เรม่ิ มีการพัฒนาภาษาสญั ลกั ษณ (Assembly / Symbolic Language) ขนึ้ ใชงานยคุ ทีส่ อง (Second Generation Computer) พ.ศ. 2502-2506 มีการนาํ ทรานซสิ เตอร มาใชในเครื่องคอมพิวเตอรจงึ ทําใหเ คร่อื งมขี นาดเล็กลง และสามารถเพม่ิ ประสิทธภิ าพในการทาํ งานใหมคี วามรวดเร็วและแมนยาํ มากยิง่ ขน้ึ นอกจากน้ี ในยคุ น้ียงั ไดม กี ารคดิภาษาเพือ่ ใชก บั เครื่องคอมพิวเตอรเชน ภาษาฟอรแ ทน (FORTRAN) จงึ ทําใหง า ยตอ การเขยี นโปรแกรมสาํ หรบั ใชก บั เครือ่ งคอมพวิ เตอรย คุ ที่ 2 ทรานซสิ เตอรลกั ษณะเฉพาะของเครือ่ งคอมพิวเตอรย คุ ท่ี 21. ใชอปุ กรณ ทรานซิสเตอร (Transistor) ซ่งึ สรา งจากสารกงึ่ ตวั นาํ (Semi-Conductor) เปนอุปกรณหลัก แทนหลอดสญุ ญากาศ เนอื่ งจากทรานซิสเตอรเพยี งตวั เดยี ว มีประสิทธภิ าพในการทํางานเทยี บเทาหลอดสญุ ญากาศไดน ับรอ ยหลอด ทําใหเครอ่ื งคอมพวิ เตอรใ นยคุ น้มี ขี นาดเลก็ ใชพลังงานไฟฟา นอ ย ความรอนต่ํา ทาํ งานเรว็ และไดรบั ความนา เชื่อถอื มากย่งิ ข้นึ2. เก็บขอมลู ได โดยใชสว นความจําวงแหวนแมเหล็ก (Magnetic Core)3. มีความเร็วในการประมวลผลในหนง่ึ คําสงั่ ประมาณหนง่ึ ในพนั ของวนิ าที (Millisecond : mS)4. สง่ั งานไดส ะดวกมากขน้ึ เนอ่ื งจากทํางานดว ยภาษาสญั ลักษณ (Assembly Language)5. เริม่ พัฒนาภาษาระดับสูง (High Level Language) ข้นึ ใชง านในยุคนี้

ยุคทสี่ าม (Third Generation Computer) พ.ศ. 2507-2512 คอมพิวเตอรในยุคนีเ้ รมิ่ ตน ภายหลงั จากการใชท รานซิสเตอรไดเพยี ง 5 ป เนื่องจากไดมกี ารประดิษฐคดิ คน เกี่ยวกบั วงจรรวม (Integrated-Circuit) หรอื เรยี กกนั ยอๆ วา \"ไอซ\"ี (IC) ซึ่งไอซีนท้ี าํ ใหสว นประกอบและวงจรตางๆ สามารถวางลงไดบ นแผน ชปิ (chip) เลก็ ๆ เพียงแผน เดียว จงึ มีการนําเอาแผนชิปมาใชแ ทนทรานซสิ เตอรทาํ ใหป ระหยดั เน้ือทไี่ ดม าก คอมพวิ เตอรยคุ ท่ี 3 นอกจากน้ยี งั เริ่มมีการใชง านระบบจดั การฐานขอ มูล (Data Base Management Systems :DBMS) และมกี ารพัฒนาเครื่องคอมพวิ เตอรใหส ามารถทํางานรวมกนั ไดหลายๆ งานในเวลาเดียวกันและมรี ะบบทผี่ ใู ชสามารถโตต อบกบั เคร่ืองไดหลายๆ คน พรอมๆ กัน (Time Sharing) (Integrated Circuit : IC)ลกั ษณะเฉพาะของเครอื่ งคอมพิวเตอรย คุ ที่ 3 1. ใชอุปกรณ วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) หรือ ไอซี และวงจรรวมสเกลขนาดใหญ (Large Scale Integration : LSI) เปนอปุ กรณห ลัก 2. ความเรว็ ในการประมวลผลในหนึง่ คาํ สงั่ ประมาณหน่ึงในลานของวนิ าที (Microsecond : mS) (สงู กวาเครอ่ื งคอมพิวเตอรในยคุ ท่ี 1 ประมาณ 1,000 เทา) 3. ทาํ งานไดด ว ยภาษาระดบั สูงทว่ั ไป

ยุคทสี่ ่ี (Fourth Generation Computer) พ.ศ. 2513-2532 เปนยุคท่ีนําสารกึ่งตวั นํามาสรางเปน วงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integrated :VLSI) ซึง่ สามารถยอ สวนไอซีธรรมดาหลายๆ วงจรเขา มาในวงจรเดยี วกนั และมกี ารประดิษฐ ไมโครโพรเซสเซอร (Microprocessor) ขนึ้ ทาํ ใหเคร่ืองมขี นาดเลก็ ราคาถูกลง และมคี วามสามารถในการทํางานสงู และรวดเร็วมาก จงึ ทาํ ใหมคี อมพวิ เตอรสวนบคุ คล (Personal Computer) ถือกาํ เนิดขึน้ มาในยุคนี้คอมพวิ เตอรย คุ ที่ 4 ไมโครโพรเซสเซอร (Microprocessor)ลกั ษณะเฉพาะของเครือ่ งคอมพิวเตอรยุคที่ 41. ใชอ ปุ กรณ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ (Large Scale Integration : LSI) และ วงจรรวมสเกลขนาดใหญม าก (Very Large Scale Integration : VLSI) เปนอปุ กรณห ลัก2. มีความเร็วในการประมวลผลแตล ะคําสง่ั ประมาณหน่งึ ในพนั ลา นวนิ าที (Nanosecond : nS)และพฒั นาตอ มาจนมคี วามเร็วในการประมวลผลแตล ะคําส่งั ประมาณหนงึ่ ในลา นลานของวินาที (Picosecond : pS)ยคุ ทห่ี า (Fifth Generation Computer) พ.ศ. 2533 จนถงึ ปจจุบันในยคุ นี้ ไดม งุ เนนการพัฒนา ความสามารถในการทํางานของระบบคอมพวิ เตอร และ ความสะดวกสบายในการใชงานเครอื่ งคอมพวิ เตอร อยางชัดเจน มีการพฒั นาสรา งเครอ่ื งคอมพิวเตอรแบบพกพาขนาดเลก็ ขนาดเลก็ (Portable Computer) ข้ึนใชง านในยคุ น้ีโครงการพฒั นาอุปกรณ VLSI ใหใชง านงา ย และมคี วามสามารถสงู ข้นึ รวมท้งั โครงการวิจยัและพฒั นาเกย่ี วกับ ปญ ญาประดิษฐ (Artificial Intelligence : AI) เปน หวั ใจของการพัฒนาระบบคอมพวิ เตอรใ นยคุ นี้ โดยหวงั ใหระบบคอมพวิ เตอรมคี วามรู สามารถวเิ คราะหปญ หาดวยเหตุผลองคป ระกอบของระบบปญญาประดิษฐ ประกอบดว ย 4 หวั ขอ ไดแก1. ระบบหนุ ยนต หรอื แขนกล (Robotics or Robotarm System)คอื หนุ จาํ ลองรา งกายมนษุ ยท ค่ี วบคมุ การทาํ งานดวยเครือ่ งคอมพวิ เตอร มีจดุ ประสงคเ พอื่ ใหท ํางานแทนมนุษยในงานท่ีตองการความเรว็ หรอื เสยี่ งอันตราย เชน แขนกลในโรงงานอตุ สาหกรรม หรอื หนุ ยนตก รู ะเบดิ เปนตน

2. ระบบประมวลภาษาพดู (Natural Language Processing System) คอื การพัฒนาใหร ะบบคอมพิวเตอรส ามารถสงั เคราะหเ สยี งทม่ี ีอยใู นธรรมชาติ (Synthesize)เพอื่ ส่ือความหมายกับมนษุ ย เชน เครอ่ื งคดิ เลขพูดได (Talking Calculator) หรอื นาฬกิ าปลกุ พดู ได(Talking Clock) เปนตน 3. การรจู าํ เสยี งพดู (Speech Recognition System) คอื การพัฒนาใหร ะบบคอมพวิ เตอรเ ขา ใจภาษามนษุ ย และสามารถจดจําคาํ พดู ของมนุษยไ ดอยา งตอ เน่อื ง กลาวคือเปนการพฒั นาใหเ คร่ืองคอมพวิ เตอรท ํางานไดด ว ยภาษาพดู เชน งานระบบรกั ษาความปลอดภยั งานพมิ พเ อกสารสาํ หรับผูพกิ าร เปนตน 4. ระบบผเู ชีย่ วชาญ (Expert System) คือ การพฒั นาใหร ะบบคอมพิวเตอรมีความรู รจู ักใชเหตุผลในการวเิ คราะหป ญหา โดยใชความรทู มี่ ี หรอื จากประสบการณในการแกป ญหาหนึ่ง ไปแกไขปญ หาอื่นอยา งมเี หตผุ ล ระบบน้ีจาํ เปน ตอ งอาศัยฐานขอมูล (Database) ซง่ึ มนษุ ยผูม คี วามรคู วามสามารถเปนผกู ําหนดองคค วามรไู วใ นฐานขอ มลู ดังกลา ว เพือ่ ใหร ะบบคอมพิวเตอรสามารถวิเคราะหป ญ หาตางๆ ไดจากฐานความรนู น้ั เชนเครอ่ื งคอมพิวเตอรวเิ คราะหโ รค หรอื เครื่องคอมพิวเตอรท ํานายโชคชะตา เปนตน

องคประกอบของคอมพวิ เตอร ในความเปนจรงิ แลว ตวั เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท่เี ราเห็นๆ กันอยนู ้เี ปน เพยี งองคประกอบสว นหนึง่ของระบบคอมพิวเตอรเ ทาน้นั แตถา ตองการใหเ ครือ่ งคอมพิวเตอรแตละเครอื่ งสามารถทํางานไดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพตามท่เี ราตองการนั้น จําเปนตอ งอาศัยองคประกอบพ้นื ฐาน 4 ประการมาทาํ งานประสานงานรว มกัน ซึ่งองคประกอบพน้ื ฐานของระบบคอมพวิ เตอรประกอบไปดว ยฮารด แวร (Hardware) หมายถงึ อุปกรณต างๆ ทป่ี ระกอบขึ้นเปน เคร่อื งคอมพวิ เตอร มลี กั ษณะเปน โครงรางสามารถมองเห็นดว ยตาและสมั ผสั ได (รูปธรรม) เชน จอภาพ คียบ อรด เครอ่ื งพมิ พ เมาส เปน ตน ซงึ่ สามารถแบงออกเปน สวนตา งๆ ตามลกั ษณะการทาํ งาน ได 4 หนว ย คอื หนวยรับขอ มลู (Input Unit) หนว ยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หนว ยแสดงผล (Output Unit) หนวยเกบ็ ขอมลูสาํ รอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณแ ตละหนว ยมหี นาทกี่ ารทํางานแตกตา งกนั ดงั ภาพทําหนาที่รับขอมูลและคําส่ังตางๆ ทําหนาท่ีเก็บบันทึกขอมูลเพื่อเอาไวใชในจากผูใชเขาสูหนวยประมวลผลกลาง อนาคต และใชเปนสื่อในการสงผานขอมูลโดยการเปลี่ยนขอมูลหรือคําสั่งตางๆ ระหวางเครื่องคอมพวิ เตอรแ ตละเครื่องเปนรูปแบบท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอรสามารถเขาใจซอฟตแวร (Software)หมายถึง สวนที่มนุษยส มั ผสั ไมไ ดโดยตรง (นามธรรม) เปน โปรแกรมหรือชดุ คาํ ส่ังท่ถี ูกเขียนขึ้นเพ่อื ส่ังใหเครื่องคอมพวิ เตอรท ํางาน ซอฟตแวรจ ึงเปน เหมอื นตวั เชือ่ มระหวา งผใู ชเคร่อื งคอมพวิ เตอรและเครื่องคอมพิวเตอร ถา ไมม ซี อฟตแวรเ รากไ็ มส ามารถใชเคร่ืองคอมพวิ เตอรทาํ อะไรไดเ ลย ซอฟตแ วรส าํ หรบัเครอื่ งคอมพิวเตอรส ามารถแบงออกไดเปน1. ซอฟตแ วรส าํ หรับระบบ (System Software)คอื ชดุ ของคาํ สั่งท่เี ขียนไวเ ปนคําสั่งสําเรจ็ รูป ซึง่ จะทํางานใกลช ิดกับคอมพวิ เตอรมากท่ีสุด เพื่อคอยควบคุมการทาํ งานของฮารด แวรท กุ อยา ง และอํานวยความสะดวกใหกบั ผูใ ชใ นการใชง านซอฟตแวรห รอื โปรแกรมระบบทีร่ จู ักกนั ดกี ค็ อื DOS, Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปล

คําสั่งที่เขยี นในภาษาระดับสูง เชน ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เปนตน นอกจากน้โี ปรแกรมทีใ่ ชในการตรวจสอบระบบเชน Norton’s Utilities กน็ ับเปนโปรแกรมสําหรับระบบดวย เชนกนั 2. ซอฟตแวรป ระยุกต (Application Software) คือ ซอฟตแ วรห รอื โปรแกรมทม่ี าํ ใหค อมพวิ เตอรทาํ งานตางๆ ตามทผี่ ใู ชต องการ ไมวาจะดานเอกสาร บญั ชี การจัดเกบ็ ขอมูล เปนตน ซอฟตแ วรประยกุ ตส ามารถจาํ แนกไดเปน 2 ประเภท คอื ซอฟตแ วรสําหรับงานเฉพาะดา น คือ โปรแกรมซงึ่ เขียนขน้ึ เพ่ือการทํางานเฉพาะอยางท่ีเราตอ งการ บางที่เรียกวา User’s Program เชน โปรแกรมการทาํ บัญชีจายเงนิ เดอื น โปรแกรมระบบเชา ซอ้ืโปรแกรมการทําสินคา คงคลัง เปน ตน ซ่ึงแตล ะโปรแกรมกม็ กั จะมเี ง่อื นไข หรอื แบบฟอรม แตกตา งกนัออกไปตามความตองการ หรือกฏเกณฑข องแตละหนว ยงานท่ใี ช ซึง่ สามารถดดั แปลงแกไ ขเพม่ิ เตมิ(Modifications) ในบางสวนของโปรแกรมได เพือ่ ใหต รงกบั ความตอ งการของผูใช และซอฟตแวรประยุกตท เ่ี ขยี นข้นึ นโ้ี ดยสวนใหญม กั ใชภ าษาระดบั สงู เปนตวั พฒั นา ซอฟตแ วรสําหรับงานท่วั ไป เปนโปรแกรมประยกุ ตท ม่ี ผี ูจดั ทําไว เพอ่ื ใชในการทาํ งานประเภทตาง ๆ ท่ัวไป โดยผใู ชค นอนื่ ๆ สามารถนาํ โปรแกรมนไ้ี ปประยกุ ตใ ชก ับขอ มูลของตนได แตจะไมส ามารถทาํ การดัดแปลง หรอื แกไ ขโปรแกรมได ผใู ชไมจาํ เปนตองเขยี นโปรแกรมเอง ซงึ่ เปน การประหยดั เวลา แรงงาน และคาใชจ า ยในการเขียนโปรแกรม นอกจากน้ี ยงั ไมต อ งเวลามากในการฝกและปฏบิ ัติ ซึ่งโปรแกรมสาํ เร็จรปู นี้ มกั จะมกี ารใชง านในหนว ยงานมราขาดบคุ ลากรทมี่ คี วามชํานาญเปนพิเศษในการเขยี นโปรแกรม ดังนนั้ การใชโ ปรแกรมสาํ เรจ็ รูปจึงเปน สิ่งท่อี าํ นวยความสะดวกและเปนประโยชนอยา งย่งิ ตัวอยา งโปรแกรมสาํ เรจ็ รูปทน่ี ิยมใชไ ดแก MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop,SPSS, Internet Explorer และ เกมสตาง ๆ เปนตนบุคลากร (Peopleware) หมายถึง บคุ ลากรในงานดา นคอมพิวเตอร ซงึ่ มีความรูเกยี่ วกบั คอมพิวเตอร สามารถใชงานส่งั งานเพือ่ ใหค อมพิวเตอรทาํ งานตามท่ตี อ งการ แบงออกได 4 ระดับ ดงั น้ี1. ผจู ดั การระบบ (System Manager) คอื ผูวางนโยบายการใชค อมพวิ เตอรใ หเ ปนไปตามเปา หมายของหนว ยงาน2. นักวเิ คราะหร ะบบ (System Analyst) คอื ผูท ศ่ี ึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหมแ ละทาํ การวเิ คราะหค วามเหมาะสม ความเปน ไปไดใ นการใชค อมพวิ เตอรก บั ระบบงาน เพอื่ ใหโปรแกรมเมอรเปน ผูเขยี นโปรแกรมใหก บั ระบบงาน3. โปรแกรมเมอร (Programmer) คอื ผเู ขยี นโปรแกรมส่ังงานเครือ่ งคอมพิวเตอรเ พ่ือใหท าํ งานตามความตองการของผูใช โดยเขยี นตามแผนผงั ที่นักวิเคราะหร ะบบไดเขยี นไว

4. ผใู ช (User) คอื ผใู ชงานคอมพิวเตอรท ว่ั ไป ซึง่ ตองเรยี นรวู ิธีการใชเ คร่ือง และวิธกี ารใชง านโปรแกรมเพื่อใหโ ปรแกรมทมี่ ีอยูสามารถทาํ งานไดตามที่ตอ งการ เนอื่ งจากเปน ผกู าํ หนดโปรแกรมและใชงานเครือ่ งคอมพวิ เตอร มนุษยจ งึ เปนตวั แปรสาํ คญั ในอันท่ีจะทาํ ใหผ ลลพั ธม ีความนาเชื่อถอื เน่อื งจากคาํ สัง่ และขอมูลทใี่ ชใ นการประมวลผลไดรบั จากการกําหนดของมนษุ ย (People Ware) ทงั้ สิ้นขอมูล (Data) ขอมลู เปนองคประกอบทสี่ าํ คัญอยางหน่งึ ในระบบคอมพวิ เตอร เปนส่ิงท่ตี องปอ นเขา ไปในคอมพิวเตอร พรอ มกบั โปรแกรมทน่ี กั คอมพิวเตอรเขยี นขึน้ เพอ่ื ผลติ ผลลัพธท ตี่ องการออกมา ขอมูลที่สามารถนาํ มาใชก ับคอมพวิ เตอรได มี 5 ประเภท คอื ขอมลู ตัวเลข (Numeric Data) ขอมลู ตัวอักษร(Text Data) ขอ มลู เสยี ง (Audio Data) ขอมลู ภาพ (Images Data) และขอ มลู ภาพเคลื่อนไหว (VideoData) ในการนําขอ มูลไปใชน้ัน เรามีระดบั โครงสรางของขอ มูลดังน้ีโครงสรา งขอมลู (Data Structure) บติ (Bit) คือ ขอ มูลท่มี ีขนาดเล็กท่สี ดุ เปน ขอมลู ท่เี ครอ่ื งคอมพิวเตอรส ามารถเขาใจและนาํ ไปใชงานได ซง่ึ ไดแ ก เลข 0 หรอื เลข 1 เทา นั้น ไบต (Byte) หรอื อกั ขระ (Character) ไดแ ก ตัวเลข หรือ ตัวอกั ษร หรอื สัญลักษณพเิ ศษ 1 ตวัเชน 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครอื่ งหมายตางๆ ซง่ึ 1 ไบตจ ะเทา กับ 8 บติ หรอื ตัวอกั ขระ 1 ตวั เปนตน ฟล ด (Field) ไดแก ไบต หรือ อกั ขระตัง้ แต 1 ตัวข้นึ ไปรวมกันเปน ฟล ด เชน เลขประจาํ ตัว ชอื่พนักงาน เปนตน เรคคอรด (Record) ไดแ ก ฟลดตัง้ แต 1 ฟล ด ข้ึนไป ท่มี ีความสมั พันธเกีย่ วขอ งรวมกันเปน เรคคอรด เชน ชอ่ื นามสกุล เลขประจําตวั ยอดขาย ขอมลู ของพนกั งาน 1 คน เปน 1 เรคคอรด ไฟล (Files) หรอื แฟมขอมูล ไดแก เรคคอรด หลายๆ เรคคอรดรวมกนั ซ่งึ เปน เรอื่ งเดยี วกัน เชนขอมูลของประวตั พิ นกั งานแตละคนรวมกนั ทงั้ หมดเปน ไฟลหรือแฟม ขอ มูลเกย่ี วกบั ประวัตพิ นักงานของบริษัท เปนตน ฐานขอมลู (Database) คือ การเกบ็ รวบรวมไฟลข อมูลหลายๆ ไฟลทเ่ี กีย่ วขอ งกนั มารวมเขาดว ยกนั เชน ไฟลข อมลู ของแผนกตา งๆ มารวมกันเปน ฐานขอ มลู ของบรษิ ทั เปนตน

การวัดขนาดขอ มูล ในการพจิ ารณาวาขอ มลู ใดมีขนาดมากนอยเพียงไร เรามหี นว ยในการวดัขนาดของขอ มลู ดงั ตอไปน้ี 8 Bit = 1 Byte 1,024 Byte = 1 KB (กิโลไบต) 1,024 KB = 1 MB (เมกกะไบต) 1,024 MB = 1 GB (กกิ ะไบต) 1,024 GB = 1 TB (เทระไบต)คอมพิวเตอรท าํ งานอยา งไรคอมพิวเตอรเขามามีบทบาททสี่ ําคญั ยง่ิ ตอสงั คมของมนุษยเ ราในปจ จบุ นั แทบทุกวงการลว นนาํคอมพวิ เตอรเ ขาไปเก่ียวของกบั การใชงาน จนกลา วไดว า คอมพิวเตอรเปน ปจจยั ทสี่ าํ คัญอยา งย่งิ ตอ การดําเนินชวี ิตและการทาํ งานในชวี ิตประจาํ วนั ฉะน้นั การเรยี นรเู พื่อทําความรูจ ักกับคอมพิวเตอรจ ึงถอื เปนสิ่งท่ีมีความจาํ เปนเปนอยา งยงิ่เพอื่ ทีจ่ ะทราบวาคอมพิวเตอรคืออะไร ทํางานอยางไร และมคี วามสําคญั ตอมนษุ ยอ ยา งไร เราจงึควรทําการศึกษาในหัวขอ ตอ ไปนี้ความหมายของคอมพิวเตอรคอมพิวเตอรมาจากภาษาละตินวา Computare ซ่ึงหมายถึง การนับ หรือ การคํานวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ใหความหมายของคอมพิวเตอรไววา \"เคร่ืองอเิ ลก็ ทรอนิกสแ บบอัตโนมตั ิ ทําหนาที่เหมือนสมองกล ใชสําหรับแกปญหาตางๆ ที่งายและซับซอนโดยวิธที างคณิตศาสตร\" คอมพิวเตอรจึงเปนเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกสท่ีถูกสรางขึ้นเพื่อใชทํางานแทนมนุษย ในดานการคิดคํานวณและสามารถจําขอมูล ท้ังตัวเลขและตัวอักษรไดเพื่อการเรียกใชงานในคร้ังตอไป นอกจากน้ียงั สามารถจดั การกับสัญลักษณไดดว ยความเรว็ สูง โดยปฏิบตั ิตามขน้ั ตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอรยังมีความสามารถในดานตางๆ อีกมาก อาทิเชน การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร การรับสงขอมูล การจดั เก็บขอมูลในตวั เครือ่ งและสามารถประมวลผลจากขอ มลู ตา ง ๆ ได

การทํางานของคอมพวิ เตอร คอมพิวเตอรไ มว า จะเปนประเภทใดก็ตาม จะมีลักษณะการทํางานของสว นตา ง ๆ ที่มีความสัมพันธก ันเปนกระบวนการ โดยมีองคประกอบพนื้ ฐานหลกั คือ Input Process และ Output ซง่ึ มีข้ันตอนการทาํ งานดงั ภาพข้นั ตอนที่ 1 : รับขอ มลู เขา (Input) เริ่มตนดวยการนําขอมูลเขาเคร่ืองคอมพิวเตอร ซึ่งสามารถผานทางอุปกรณชนิดตางๆ แลวแตชนิดของขอมูลท่ีจะปอนเขาไป เชน ถาเปนการพิมพขอมูลจะใชแผงแปนพิมพ (Keyboard) เพื่อพิมพขอความหรือโปรแกรมเขาเครื่อง ถาเปนการเขียนภาพจะใชเคร่ืองอานพิกัดภาพกราฟค (GraphicsTablet) โดยมีปากกาชนิดพิเศษสําหรับเขียนภาพ หรือถาเปนการเลนเกมก็จะมีกานควบคุม (Joystick)สาํ หรับเคลอ่ื นตาํ แหนงของการเลน บนจอภาพ เปน ตนขนั้ ตอนท่ี 2 : ประมวลผลขอมูล (Process) เม่ือนําขอมูลเขามาแลว เคร่ืองจะดําเนินการกับขอมูลตามคําส่ังท่ีไดรับมาเพื่อใหไดผลลัพธตามที่ตองการ การประมวลผลอาจจะมีไดหลายอยาง เชน นําขอมูลมาหาผลรวม นําขอมูลมาจัดกลุมนาํ ขอมลู มาหาคา มากที่สดุ หรอื นอยที่สุด เปน ตนขั้นตอนที่ 3 : แสดงผลลพั ธ (Output) เปนการนําผลลัพธจากการประมวลผลมาแสดงใหทราบทางอุปกรณท่ีกําหนดไว โดยท่ัวไปจะแสดงผานทางจอภาพ หรือเรียกกันโดยทั่วไปวา \"จอมอนิเตอร\" (Monitor) หรือจะพิมพขอมูลออกทางกระดาษโดยใชเคร่อื งพมิ พก ไ็ ดลักษณะเดนของคอมพิวเตอร เครื่องคอมพิวเตอรถ ูกสรางข้ึนมาเพ่อื ใหมีจดุ เดน 4 ประการ เพือ่ ทดแทนขอจาํ กดั ของมนษุ ยเรียกวา 4 S special ดงั น้ี 1. หนว ยเกบ็ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเกบ็ ขอ มลู จาํ นวนมากและเปน เวลานานนับเปน จดุ เดน ทางโครงสรางและเปนหัวใจของการทํางานแบบอตั โนมตั ขิ องเครื่องคอมพิวเตอร ทง้ั เปนตัวบงชี้ประสทิ ธภิ าพของคอมพิวเตอรแตล ะเครื่องดว ย

2. ความเร็ว (Speed) หมายถงึ ความสามารถในการประมวลผลขอ มูล (Processing Speed) โดยใชเ วลานอ ย เปนจดุ เดน ทางโครงสรา งทผ่ี ูใชทั่วไปมีสว นเกีย่ วขอ งนอ ยท่สี ดุ เปน ตวั บงชีป้ ระสิทธภิ าพของเคร่อื งคอมพิวเตอรท ส่ี าํ คญั สวนหน่งึ เชนกัน 3. ความเปนอตั โนมตั ิ (Self Acting) หมายถงึ ความสามารถในการประมวลผลขอมลู ตามลําดบัขนั้ ตอนไดอ ยา งถูกตองและตอเน่ืองอยา งอัตโนมตั ิ โดยมนุษยม ีสว นเกยี่ วขอ งเฉพาะในขนั้ ตอนการกาํ หนดโปรแกรมคําส่ังและขอ มลู กอ นการประมวลผลเทาน้ัน 4. ความนาเช่อื ถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลใหเกดิ ผลลพั ธที่ถูกตองความนาเช่ือถอื นบั เปน สงิ่ สําคญั ที่สุดในการทาํ งานของเคร่ืองคอมพิวเตอร ความสามารถนเี้ กยี่ วของกับโปรแกรมคาํ สง่ั และขอมูลทมี่ นษุ ยก าํ หนดใหกบั เคร่ืองคอมพวิ เตอรโ ดยตรง กลาวคอื หากมนษุ ยปอนขอ มลู ที่ไมถ กู ตองใหกับเครือ่ งคอมพวิ เตอรกย็ อมไดผลลพั ธท ี่ไมถูกตอ งดว ยเชนกนัประโยชนข องคอมพวิ เตอร จากการที่คอมพิวเตอรมีลักษณะเดนหลายประการ ทําใหถูกนํามาใชประโยชนตอการดําเนินชีวิตประจําวันในสังคมเปนอยางมาก ที่พบเห็นไดบอยที่สุดก็คือ การใชในการพิมพเอกสารตางๆ เชนพิมพจดหมาย รายงาน เอกสารตางๆ ซ่ึงเรียกวางานประมวลผล (Word Processing) นอกจากนี้ยังมีการประยกุ ตใชคอมพิวเตอรในดานตา งๆ อีกหลายดา น ดังตอ ไปน้ี งานธุรกิจ เชน บริษัท รานคา หางสรรพสินคา ตลอดจนโรงงานตางๆ ใชคอมพิวเตอรในการทําบัญชี งานประมวลคํา และติดตอกับหนวยงานภายนอกผานระบบโทรคมนาคม นอกจากน้ีงานอุตสาหกรรม สวนใหญก็ใชคอมพิวเตอรมาชวยในการควบคุมการผลิต และการประกอบช้ินสวนของอุปกรณตาง ๆ เชน โรงงานประกอบรถยนต ซ่ึงทําใหการผลิตมีคุณภาพดีข้ึนบริษัทยังสามารถรับ หรืองานธนาคาร ท่ีใหบริการถอนเงินผานตูฝากถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) และใชคอมพิวเตอรคิดดอกเบี้ยใหกบั ผูฝ ากเงิน และการโอนเงินระหวางบญั ชี เชอื่ มโยงกันเปน ระบบเครือขาย งานวิทยาศาสตร การแพทย และงานสาธารณสุข สามารถนําคอมพิวเตอรมาใชในนํามาใชในสวนของการคํานวณท่ีคอนขางซับซอน เชน งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการสงจรวดไปสอู วกาศ หรอื งานทะเบียน การเงิน สถติ ิ และเปน อุปกรณสําหรบั การตรวจรักษาโรคได ซง่ึ จะใหผลที่แมน ยํากวาการตรวจดว ยวธิ เี คมีแบบเดมิ และใหก ารรกั ษาไดร วดเร็วขึน้ งานคมนาคมและส่ือสาร ในสวนท่ีเก่ียวกับการเดินทาง จะใชคอมพิวเตอรในการจองวันเวลา ที่นั่ง ซง่ึ มีการเชอ่ื มโยงไปยงั ทุกสถานีหรอื ทุกสายการบินได ทาํ ใหสะดวกตอผูเดนิ ทางทไ่ี มตอ งเสยี เวลารออีกทงั้ ยังใชใ นการควบคุมระบบการจราจร เชน ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรือในการส่ือสารก็ใชควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพ่ือใหอยูในวงโคจร ซึ่งจะชวยสงผลตอการสงสัญญาณใหระบบการส่อื สารมีความชัดเจน

งานวิศวกรรมและสถาปตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใชคอมพิวเตอรในการออกแบบหรือ จําลองสภาวการณ ตาง ๆ เชน การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผนดินไหว โดยคอมพิวเตอรจะคํานวณและแสดงภาพสถานการณใกลเคียงความจริง รวมท้ังการใชควบคุมและติดตามความกา วหนา ของโครงการตา งๆ เชน คนงาน เครือ่ งมอื ผลการทํางาน งานราชการ เปนหนวยงานท่ีมีการใชคอมพิวเตอรมากที่สุด โดยมีการใชหลายรูปแบบ ท้ังนี้ขึ้นอยูกับบทบาทและหนาท่ีของหนวยงานน้ันๆ เชน กระทรวงศึกษาธิการ มีการใชระบบประชุมทางไกลผานคอมพิวเตอร, กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดจัดระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อเชอื่ มโยงไปยงั สถาบันตาง ๆ, กรมสรรพากร ใชจ ัดในการจัดเกบ็ ภาษี บนั ทึกการเสยี ภาษี เปน ตน การศึกษา ไดแก การใชคอมพิวเตอรทางดานการเรียนการสอน ซ่ึงมีการนําคอมพิวเตอรมาชวยการสอนในลักษณะบทเรยี น CAI หรืองานดา นทะเบียน ซ่ึงทําใหส ะดวกตอการคน หาขอมลู นักเรียน การเก็บขอ มูลยมื และการสงคนื หนังสอื หอ งสมดุประเภทของคอมพิวเตอร จากประวัติความเปนมาของคอมพิวเตอร จะเห็นไดวาเทคโนโลยีทางดานคอมพิวเตอรมีการพัฒนาเปล่ียนแปลงไปอยางรวดเร็วมาก ทําใหปจจุบันมีเคร่ืองคอมพิวเตอรใหเลือกใชมากมายหลายรูปแบบตามความตองการของผูใช การแบงประเภทของคอมพิวเตอรนั้น สามารถจําแนกออกไดเปน 3กลมุ หลัก ดังน้ีประเภทของคอมพิวเตอรต ามหลกั การประมวลผล จาํ แนกไดเปน 3 ประเภท คอืคอมพิวเตอรแบบแอนะลอ็ ก (Analog Computer) หมายถึง เคร่ืองมือประมวลผลขอมูลท่ีอาศัยหลักการวัด (Measuring Principle) ทํางานโดยใชขอมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบตอเน่ือง (Continuous Data) แสดงออกมาในลักษณะสัญญาณที่เรียกวาAnalog Signal เครื่องคอมพิวเตอรประเภทน้ีมักแสดงผลดวยสเกลหนาปทม และเข็มชี้ เชน การวัดคาความยาว โดยเปรียบเทียบกับสเกลบนไมบรรทัด การวัดคาความรอนจากการขยายตัวของปรอทเปรยี บเทยี บกบั สเกลขางหลอดแกว นอกจากนี้ยังมีตัวอยางของ Analog Computer ที่ใชการประมวลผลแบบเปนข้ันตอน เชนเคร่ืองวัดปริมาณการใชน้ําดวยมาตรวัดนํ้า ที่เปล่ียนการไหลของน้ําใหเปนตัวเลขแสดงปริมาณ อุปกรณวัดความเร็วของรถยนตใ นลักษณะเข็มช้ี หรือเครอ่ื งตรวจคล่ืยสมองทีแ่ สดงผลเปนรปู กราฟ เปน ตนคอมพวิ เตอรแ บบดิจทิ ลั (Digital Computer) ซึ่งก็คือคอมพิวเตอรท่ีใชในการทํางานทั่วๆ ไปนั่นเอง เปนเครื่องมือประมวลผลขอมูลที่อาศัยหลักการนับ ทํางานกับขอมูลที่มีลักษณะการเปล่ียนแปลงแบบไมตอเน่ือง (Discrete Data) ในลักษณะของสัญญาณไฟฟา หรือ Digital Signal อาศัยการนับสัญญาณขอมูลท่ีเปนจังหวะดวยตัวนับ (Counter)ภายใตระบบฐานเวลา (Clock Time) มาตรฐาน ทําใหผลลัพธเปนท่ีนาเช่ือถือ ท้ังสามารถนับขอมูลใหคาความละเอยี ดสงู เชนแสดงผลลพั ธเ ปนทศนิยมไดห ลายตาํ แหนง เปนตน

เนื่องจาก Digital Computer ตองอาศัยขอมูลที่เปนสัญญาณไฟฟา (มนุษยสัมผัสไมได) ทําใหไมสามารถรับขอมูลจากแหลงขอมูลตนทางไดโดยตรง จึงจําเปนตองเปล่ียนขอมูลตนทางท่ีรับเขา (AnalogSignal) เปนสัญญาณไฟฟา (Digital Signal) เสียกอน เมื่อประมวลผลเรียบรอยแลวจึงเปลี่ยนสัญญาณไฟฟากลับไปเปน Analog Signal เพ่ือส่ือความหมายกับมนุษยตอไป โดยสวนประกอบสําคัญที่เรียกวา ตัวเปล่ียนสัญญาณขอมูล (Converter) คอยทําหนาท่ีในการเปลี่ยนรูปแบบของสัญญาณขอมูลระหวาง Digital Signal กบั Analog Signalคอมพวิ เตอรแบบลูกผสม (Hybrid Computer) เคร่ืองประมวลผลขอมูลท่ีอาศัยเทคนิคการทํางานแบบผสมผสาน ระหวาง Analog Computerและ Digital Computer โดยท่ัวไปมักใชในงานเฉพาะกิจ โดยเฉพาะงานดานวิทยาศาสตร เชน เครื่องคอมพิวเตอรในยานอวกาศ ท่ีใช Analog Computer ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช DigitalComputer ในการคํานวณระยะทาง เปน ตน การทํางานแบบผสมผสานของคอมพิวเตอรชนิดนี้ ยังคงจําเปนตองอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ(Converter) เชนเดมิประเภทของคอมพวิ เตอรต ามวตั ถปุ ระสงคของการใชงาน จาํ แนกไดเ ปน 2 ประเภท คือเครอื่ งคอมพิวเตอรเ พอ่ื งานเฉพาะกจิ (Special Purpose Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่ถูกออกแบบตัวเคร่ืองและโปรแกรมควบคุม ใหทํางานอยางใดอยางหนึ่งเปนการเฉพาะ (Inflexible) โดยท่ัวไปมักใชในงานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรมท่ีเนนการประมวลผลแบบรวดเร็ว เชนเคร่ืองคอมพิวเตอรควบคุมสัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอรควบคุมลิฟทหรือคอมพวิ เตอรควบคุมระบบอตั โนมตั ใิ นรถยนต เปน ตนเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเพอื่ งานอเนกประสงค (General Purpose Computer) หมายถึง เคร่ืองประมวลผลขอมูลท่ีมีความยืดหยุนในการทํางาน (Flexible) โดยไดรับการออกแบบใหสามารถประยุกตใชในงานประเภทตางๆ ไดโดยสะดวก โดยระบบจะทํางานตามคําสั่งในโปรแกรมที่เขียนข้ึนมา และเมื่อผูใชตองการใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานอะไร ก็เพียงแตออกคําสั่งเรียกโปรแกรมที่เหมาะสมเขามาใชงาน โดยเราสามารถเก็บโปรแกรมไวหลายโปรแกรมในเครื่องเดียวกันไดเชน ในขณะหนึ่งเราอาจใชเคร่ืองน้ีในงานประมวลผลเกี่ยวกับระบบบัญชี และในขณะหน่ึงก็สามารถใชในการออกเช็คเงนิ เดอื นได เปน ตน

ประเภทของคอมพวิ เตอรต ามความสามารถของระบบ จําแนกออกไดเปน 4 ชนิด โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บขอมูล และ ความเร็วในการประมวลผล เปน หลัก ดังน้ีซุปเปอรค อมพวิ เตอร (Super Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลท่ีมีความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุด โดยท่ัวไปสรางขึ้นเปนการเฉพาะเพื่องานดานวิทยาศาสตรท่ีตองการการประมวลผลซับซอน และตองการความเร็วสูงเชน งานวิจัยขปี นาวธุ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสอื่ สารดาวเทียม หรืองานพยากรณอากาศเปนตนเมนเฟรมคอมพวิ เตอร (Mainframe Computer) หมายถึง เคร่ืองประมวลผลขอมูลที่มีสวนความจําและความเร็วนอยลง สามารถใชขอมูลและคําส่ังของเครื่องรุนอ่ืนในตระกูล (Family) เดียวกันได โดยไมตองดัดแปลงแกไขใดๆ นอกจากนั้นยังสามารถทํางานในระบบเครือขาย (Network) ไดเปนอยางดี โดยสามารถเชื่อมตอไปยังอุปกรณที่เรียกวาเคร่ืองปลายทาง (Terminal) จํานวนมากได สามารถทํางานไดพรอมกันหลายงาน (Multi Tasking) และใชงานไดพรอมกันหลายคน (Multi User) ปกติเครื่องชนิดน้ีนิยมใชในธุรกิจขนาดใหญ มีราคาต้ังแตสิบลานบาทไปจนถึงหลายรอยลานบาท ตัวอยางของเคร่ืองเมนเฟรมที่ใชกันแพรหลายก็คือ คอมพิวเตอรของธนาคารทเ่ี ช่ือมตอไปยังตู ATM และสาขาของธนาคารทั่วประเทศนั่นเองมนิ คิ อมพวิ เตอร (Mini Computer) ธุรกิจและหนวยงานที่มีขนาดเล็กไมจําเปนตองใชคอมพิวเตอรขนาดเมนเฟรมซึ่งมีราคาแพงผูผลิตคอมพิวเตอรจึงพัฒนาคอมพิวเตอรใหมีขนาดเล็กและมีราคาถูกลง เรียกวา เครื่องมินิคอมพิวเตอรโดยมีลักษณะพิเศษในการทํางานรวมกับอุปกรณประกอบรอบขางท่ีมีความเร็วสูงได มีการใชแผนจานแมเหล็กความจุสูงชนิดแข็ง (Hard disk) ในการเก็บรักษาขอมูล สามารถอานเขียนขอมูลไดอยางรวดเร็วหนวยงานและบริษัทที่ใชคอมพิวเตอรขนาดน้ี ไดแก กรม กอง มหาวิทยาลัย หางสรรพสินคา โรงแรมโรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมตางๆไมโครคอมพวิ เตอร (Micro Computer) หมายถึง เคร่ืองประมวลผลขอมูลขนาดเล็ก มีสวนของหนวยความจําและความเร็วในการประมวลผลนอยที่สุด สามารถใชงานไดดวยคนเดียว จึงมักถูกเรียกวา คอมพิวเตอรสวนบุคคล (PersonalComputer: PC) ปจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอรมีประสิทธิภาพสูงกวาในสมัยกอนมาก อาจเทากับหรือมากกวาเครื่องเมนเฟรมในยุคกอน นอกจากน้ันยังราคาถูกลงมาก ดังน้ันจึงเปนที่นิยมใชมาก ทั้งตามหนวยงานและบริษัทหางราน ตลอดจนตามโรงเรียน สถานศึกษา และบานเรือน บริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอรออกจาํ หนา ยจนประสบความสําเร็จเปนบริษทั แรก คือ บริษทั แอปเปล คอมพวิ เตอร

เคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร จาํ แนกออกไดเ ปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. แบบติดต้ังใชงานอยูกับท่ีบนโตะทํางาน (Desktop Computer) 2. แบบเคลื่อนยายได (Portable Computer) สามารถพกพาติดตัว อาศัยพลังงานไฟฟาจากแบตเตอร่ีจากภายนอก สวนใหญมักเรียกตามลักษณะของการใชงานวา Laptop Computer หรือNotebook Computer


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook