The Outward Mindset By : Super Lucky Team
M วไิ ล กุญชร (หัวหนา้ ทมี ) e วรรณภา คาปนุ่ วิโรจน์ คะมิ m b ปริญา ใจดีเจรญิ เอกรฐั อดุ มมหนั ตสิ ขุ e r “เพราะมองออก คุณถงึ เห็นข้างใน”
THE OURWARD MINDSET ตอนท่ี 1 01 ส่งิ ใหม่ ตอนท่ี 2 02 สารวจกรอบความคิดแบบมองออก ตอนท่ี 3 03 คานงึ ถงึ คนอ่ืนใหม้ ากขึ้น 04 ตอนท่ี 4 ทวกี ารเปล่ยี นแปลงกรอบความคดิ ให้มากขึ้น
ตอนที่ 1 ส่งิ ใหม่
1. แนวทางที่แตกต่าง ต้องเรมิ่ จากการรตู้ ัวเอง รูป้ ัญหา มองปัญหาใหเ้ ปน็ จากนน้ั ต้องมอง ต่างให้เปน็ กล้าท่จี ะเปลีย่ นแปลง โดยใช้เหตแุ ละผลในการตดั สนิ ใจ กลา้ ทีจ่ ะมี กรอบความคิดที่แตกตา่ งจากเดิม มีมุมมองความคดิ ท่ีเรียกวา่ กรอบความคดิ แบบ มองออก ซงึ่ การเปล่ียนแปลงกรอบความคิด เปน็ สง่ิ ทมี่ อี ทิ ธิพลตอ่ ทกุ สิ่งทเี่ ราทา 2. ส่ิงที่มอี ทิ ธิพลต่อพฤตกิ รรม พฤติกรรมของคนเรามกั เกิดข้นึ จากวธิ ีท่ีใช้มองสถานการณ์ และความ เป็นไปได้ตา่ งๆของตัวเอง เพราะผคู้ นมองและคดิ เกี่ยวกบั โลกใบนแี้ ตกต่างกัน เราต้องเปล่ียนกรอบความคดิ เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลลพั ธ์ ถา้ กรอบความคิดเปลย่ี น พฤตกิ รรมกจ็ ะเปลย่ี นตาม เรากจ็ ะเหน็ การ “ทุ่มสุดตวั ” แทนคาว่า “ทาไปบ่นไป” ซึ่งประสทิ ธิภาพจะแตกตา่ งกนั
3. กรอบความคิด 2 แบบ แบบมองเขา้ จะเกดิ พฤตกิ รรมปกป้อง อยากทาให้ตัวเองกา้ วหนา้ คดิ แตจ่ ะ ทาใหต้ วั เองได้ผลประโยชนแ์ ต่ฝ่ายเดียว ซึง่ จะไดผ้ ลลพั ธท์ ี่เหมอื นเดมิ ไมพ่ ัฒนา แบบมองออก เป็นพฤติกรรมท่ที าให้ผลลพั ธภ์ าพรวมก้าวหน้า ผลักดนั ผลลพั ธ์ ของกลุ่มใหบ้ รรลุผล ทาใหเ้ กิดการรว่ มแรงร่วมใจ มคี วามคดิ รเิ ริ่ม 4. การมองอยา่ งซื่อตรง การเปล่ยี นไปมกี รอบความคิดแบบมองออก ยังเปล่ียนแปลงวธิ ีท่คี นเรามอง พิจารณา และมีปฏสิ ัมพนั ธก์ บั คนอื่นอีกดว้ ย การพจิ ารณาตวั เองด้วยกรอบความคดิ แบบมองออกเป็นสิ่งจาเปน็ แตเ่ ราก็ สามารถพิจารณาตัวเองแบบมองเข้าได้ ในแงค่ วามเชอื่ มโยงทมี่ ตี ่อคนอ่นื ท่เี รยี กว่าการ คานงึ ถึงภายนอก “Outwardness” ได้เช่นกนั
ตอนที่ 2 สารวจกรอบความคิด แบบมองออก
5. เลกิ ขวางทางตัวเอง อปุ สรรคทสี่ าคญั ในการมคี วามคดิ แบบมองออกคือ “ตัวเอง” เพราะสิง่ ท่ี ก่อใหเ้ กิดปญั หาในดา่ นตา่ งๆของชวี ติ มากท่สี ุดก็คอื เราขัดขวางตนเองไมใ่ หม้ องเหน็ สิ่ง ท่คี นอื่นๆเชื้อเชิญใหเ้ รามองเหน็ นั่นเอง แต่สามารถเลือกกรอบความคดิ ได้ ใหเ้ ลกิ ขวางทางตวั เองได้ ต้องไม่เขา้ ขา้ งตัวเอง มองใหร้ อบดา้ น เปดิ โลกใหก้ วา้ ง พร้อม ยอมรบั ส่งิ อ่นื ๆ หรือ ความคดิ เหน็ ของผอู้ ่นื ใหม้ ากขนึ้ 6. ความเย้ายวนของกรอบความคิดแบบมองเขา้ ความคดิ แบบมองเขา้ ทาให้คนเรานนั้ โฟกัสแต่ความต้องการของตวั เองโดยที่ มองขา้ มความต้องการของคนอนื่ จดจ่อในส่ิงทอี่ าจจะเป็นการกระทาที่ผิด อาจทาให้ สูญเสียเวลาโดยเปล่าประโยชน์ ความพยายามมากมายกจ็ ะสญู เปล่าไปกับสิง่ ท่ผี ดิ ขาด ความร่วมมือ ซ่งึ จะส่งผลให้เกดิ ความคิดริเรมิ่ ตา่ ไมก่ ระตือรอื ร้น
7. การแก้ปัญหาดว้ ยกรอบความคิดแบบมองออก การใชก้ รอบความคดิ แบบมองออกอาจจะทาให้เกดิ การทางาน ที่มีความแตกตา่ งไปจากการใชก้ รอบความคดิ แบบมองเขา้ แตร่ บั รอง ไดว้ ่ามนั จะไดผ้ ลลพั ธท์ิ ี่นา่ พงึ พอใจ มองเห็นความต้องการ จุดมงุ่ หมาย และปัญหาของผอู้ ่นื และ พร้อมปรบั เปลย่ี นการทางานให้เข้ากบั ผู้อน่ื ได้ รวมถงึ รู้จักประเมนิ และ รบั ผิดชอบ ผลกระทบท่ีเกิดข้นึ ของตวั เองทม่ี ีผลผอู้ ื่น
ตอนท่ี 3 คานึงถงึ คนอนื่ ใหม้ ากข้นึ
8. แบบแผนของกรอบความคิดแบบมองออก แนวทางในการนาวิธกี ารคิดแบบ Outward mindset ไปใชม้ ี 3 ขน้ั ตอน จาง่ายๆวา่ “SAM” ไดแ้ ก่ 1.) See others การมองเห็นคนอื่น 2.) Adjust efforts การปรบั เปล่ียนการทางาน 3.) Measure impact การประเมินผลกระทบทีจ่ ะเกิดข้ึน 9. การนาแบบแผนของกรอบความคดิ แบบมองออกมาปรับใช้ 1.) See others การมองเห็นคนอนื่ การมองเห็นปัญหาและความต้องการของ ผู้อนื่ จะสามารถทาใหแ้ กป้ ัญหาได้ 2.) Adjust efforts การปรับเปล่ยี นการทางาน ซึ่งจะสามารถชว่ ยเหลอื ทมี ชว่ ยเหลือซง่ึ กนั และกัน และจะสามารถหาทางออก หาทางแกป้ ญั หาได้ 3.) Measure impact การประเมนิ ผลกระทบทจ่ี ะเกิดข้ึน ซึ่งถ้ามกี ารทาอย่าง ต่อเนอ่ื ง จะเกิดผลดีต่อทมี และองค์กรในระยะยาวได้
10. อยา่ รอคนอ่นื สง่ิ ที่เราทาได้และควรทา คือการเปน็ ผูเ้ ร่มิ ต้นการเปลีย่ นแปลง โดยไม่คาดหวงั ดว้ ยวา่ คนอืน่ จะเปล่ยี นตาม เราตอ้ งพร้อมและสมคั รใจจะเปล่ียนแปลงด้วยตัวเอง แม้ว่า คนอ่นื จะยงั ไม่เตม็ ใจเปล่ยี นกต็ าม นอกจากน้สี ่งิ ทีเ่ ราควรตระหนักไว้เสมอกค็ ือ การเปลยี่ นแปลงลว้ นใช้เวลา ไมม่ ี ทางเกิดขน้ึ ในชั่วข้ามคนื และแม้บางคนทีจ่ ะมกี รอบความคิดแบบมองออกแล้ว ก็ยงั สามารถเปลย่ี นกลบั ไปเป็นกรอบความคดิ แบบมองเข้าไดง้ า่ ยๆ ดงั นัน้ เราต้องกลา้ แสดงออก กลา้ แสดงความคิดเหน็ ไม่ต้องรอคนอ่นื เพราะ คนอ่ืนรอความคิดเหน็ จากเราอยูเ่ ช่นกัน
ตอนที่ 4 ทวีการเปลี่ยนแปลง กรอบความคดิ ใหม้ ากข้นึ
11. เริม่ ต้นทก่ี รอบความคิด การเรมิ่ ตน้ มองถึงคนอ่ืน การเข้าใจ การช่วยเหลอื คนอืน่ มผี ลมหาศาลตอ่ บุคคลใกลช้ ิดทีเ่ คา้ จะมสี ่วนร่วมในเปา้ หมายของเรา เกิดแนวรว่ ม โดยเราตอ้ งแสดง มนั ออกมากอ่ น การเผชญิ กบั ปัญหาต่าง ๆ ใหม้ องและเขา้ ใจ และช่วยเหลอื ผอู้ ่นื ก่อน โดยให้เข้าใจความต้องการและปญั หาของเค้า 12. ระดมกาลัง เพอ่ื เป้าหมายร่วม การสรา้ งวัฒนธรรมร่วมกนั เพ่ือการแกไ้ ขปญั หาและการทางานนนั้ ไม่ ควรจดจ่ออยกู่ บั การทางานของตนเอง โดยใหค้ ดิ ถึงคนที่เราทางานดว้ ย คดิ ถึง กระบวนการถดั ไปเสมอ
13. ยอมใหค้ นอ่นื เปน็ ผู้รับผิดชอบอยา่ งเต็มที่ การแบง่ แยกตาแหนง่ ฝ่าย ระดับชัน้ โดยปกติมกั เต็มไปด้วยความขดั แย้ง การ กล่าวโทษซึ่งกนั และกัน เมือ่ เกิดปัญหา ควรเปล่ียนความคดิ แบบมองออกใหม่ โดยใหม้ อง ถงึ ความรับผดิ ชอบของตนเอง ความรับผดิ ชอบตอ่ หน้าที่ การเรียนรู้ไปด้วยกัน การ วางแผน การระดมความคิด การลงไปทางานรว่ มกัน การใชค้ าถามเพอ่ื ใหเ้ ค้าไดค้ ิดถงึ คน อนื่ ให้โอกาสไดล้ องทาในส่งิ ทชี่ อบ เรยี นร้ทู ี่จะรู้จักผอู้ นื่ เพอ่ื ให้เค้าดึงศกั ยภาพมาใชใ้ น การปฏิบัตงิ าน 14. ลดความแตกต่างลง การมองแบบแบง่ แยกตาแหนง่ เราจะมองไมเ่ หน็ ปัญหา เพราะเราคิดว่ามัน เปน็ หนา้ ท่ีของเคา้ อย่แู ล้ว แตถ่ ้าเรามองออกเราจะคิดว่าคนอ่ืนมคี วามเทา่ เทียมกบั เรา ปจั จัยแหง่ ความสาเรจ็ ของผนู้ าคือการถ่อมตน และความเขา้ ใจ และการสรา้ ง สภาพแวดล้อมทเี่ อ้ืออานวยตอ่ การทลายกาแพงความแตกแยก การทาตามกฎเกณฑ์ ของกนั และกนั เราจะทาอะไรไดบ้ ้างเพือ่ ชว่ ยคนอน่ื ใหค้ วามสาคัญต่อกัน
15. เปล่ียนให้เปน็ ระบบทใี่ ชก้ รอบความคิดแบบมองออก ต้องทบทวนสิ่งต่าง ๆ รอบตวั อย่างมองวา่ เคา้ เปน็ วตั ถสุ ่ิงของ ทุกคนมคี วามสามารถ และความคิดสร้างสรรค์ ควรชว่ ยเหลือกนั การประเมนิ ผลแบบระฆงั ควา่ เขาจะมุ่งแต่ตนเอง โดย ไมส่ นใจความยากลาบากของเพ่อื นร่วมงาน แตเ่ ราสามารถบอกใหเ้ ค้าเข้าใจถงึ ความรับผิดชอบ ตอ่ หนา้ ที่ การย่นื มือเขา้ ไปชว่ ยเหลอื และการกระตุ้นให้ทีมมสี ่วนร่วม การให้ทุกคนเขา้ ใจถึงผลดี ผลเสีย หากไม่ดาเนนิ การเช่นนี้ แต่ตวั ชี้วัดหรอื เป้าหมายต่าง ๆ ควรมีการรับผดิ ชอบตอ่ ผู้มีสว่ น ไดส้ ว่ นเสยี ดว้ ยไม่เอาเปรยี บ การเข้าอก เขา้ ใจลกู คา้ สง่ ผลดีตอ่ บริษัทฯ 16. หนทางทีอ่ ยเู่ บอ้ื งหน้า การนกึ ถงึ ใจเขาใจเรากบั คนทอ่ี ยู่เบอ้ื งหนา้ คนใกล้ชิด อยา่ ทาใหเ้ ข้ารูส้ กึ วา่ เขา ถูกมองข้าม หรือวา่ หากกาลังมกี รอบความคดิ แบบมองเขา้ ให้ลองมองออกถงึ คนอ่ืนดู จะ ชว่ ยลดความขับข้องหมองใจ เราไดล้ องใช้ความสามารถ และความพยายามของเราเตม็ ที่ หรอื ยงั ความสานกึ รับผดิ ชอบต่อหน้าที่ตนเอง เราสามารถทาอะไรไดบ้ า้ งกบั เพ่ือนรว่ มงาน และครอบครวั ของเรา
บทสรปุ ทไ่ี ด้จาก กรอบความคดิ แบบ Outward mindset คอื เราตอ้ งตระหนัก หนงั สอื เล่มน้ี และใส่ใจความตอ้ งการ เป้าหมาย รวมถึงปัญหาของคนอืน่ เลกิ คดิ ถงึ แต่ ประโยชนข์ องตวั เอง ให้มองผลประโยชน์ของทมี องคก์ ร สว่ นรวมเปน็ หลกั การเปลย่ี นแปลง Mindset ให้เร่มิ ทต่ี ัวเราเองกอ่ น ไมต่ อ้ งรอคน อ่นื ถา้ ทุกคนในองค์กรต่างเข้าใจและมีกรอบความคดิ แบบ Outward mindset ทกุ คนก็จะเข้าใจและทางานของตวั เอง รู้ว่าตอ้ งรับผิดชอบอะไร มันกจ็ ะทาให้องคก์ รนั้นมคี วามเข้าใจซึง่ กันและกัน ช่วยเหลอื กนั มคี วามคิด รเิ ร่ิม มีการปรบั ปรุงพัฒนาอย่างตอ่ เน่ือง ซง่ึ จะทาใหอ้ งค์กรน้ันถกู ขบั เคลอื่ น ไปส่ทู ิศทางและเป้าหมายท่ีตงั้ ไว้ได้โดยงา่ ย
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: