Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กล้องสามมิติ

กล้องสามมิติ

Published by อัญญาพร โอรัญรักษ์, 2022-08-12 07:59:06

Description: กล้องสามมิติ

Search

Read the Text Version

ก รายงานฉบับนี้เปน็ ส่วนหนึ่งของวิชาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางภูมิศาสตร์ (ED1138) โดยมีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาความรู้ จากเรื่องกล้องสามมิติ ทั้งนี้ในรายงานฉบับนี้มีเนื้อหาประกอบด้วย เรื่องของวิธีใช้ ประเภท ลักษณะภาพ วิธีการมองภาพถ่าย เครื่องที่ ช่วยในการมองภาพ อุปสรรคในการมองภาพสามมิติ ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้และเป็นประโยชน์ต่อ ผู้อ่านทุกท่าน นางสาวอัญญาพร โอรัญรักษ์ ( 26 กรกฎาคม 2565)

ข เรื่อง หน้า กล้องสามมิติ 1 วิธีใช้กล้องสามมิติ 2 การรับรู้ความรู้สึกด้วยการมองสามมิติ 3 ลักษณะภาพที่สามารถมองสามมิติ 5 วิธีการมองภาพถ่ายทางอากาศให้เห็นภาพสามมิติ 6 เครื่องมือที่ช่วยในการมองภาพสามมิติ 9 อุปสรรคต่อการมองเห็นภาพสามมิติ 11 ข้อควรระวังในการทางานใช้ภาพถ่ายทางอากาศ 13 และเครื่อง stereoscope ลักษณะต่างๆที่ใช้วิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศ 15 วิธีจัดภาพเพื่อมองภาพทรวดทรง 27 บรรณานุกรม 31

1 กล้องสามมิติ กล้องสามมิติ หรือสเตริโอสโคป กล้องสามมิติ หรือ สเตริโอสโคป (Stereoscope) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ดูรูปถ่าย ทางอากาศ เพื่อพิจารณาความสูงต่าของลักษณะภูมิ ประเทศ ในพื้นที่นั้นๆ ประกอบด้วยเลนส์ 2 อัน ซึ่งสามารถ ปรับให้เท่ากับระยะห่างของสายตาผู้มองได้ในการมอง จะต้องวางภาพให้อยู่ในแนวเดียวกันและต้องเปน็ ภาพที่การ ถ่ายต่อเนื่องกัน ซึ่งแต่ละภาพจะมี รายขอบที่ทับกันหรือ ซ้อน ภาพที่ 1 กล้องสามมิติใช้ ภาพที่ 2 กล้องสามมิติใช้ดูภาพขนาด ดูภาพขนาดเล็ก ที่มา ใหญ่ ที่มา http://sjc.ac.th/sjc2014/image http://sjc.ac.th/sjc2014/images/Lreaning- s/Lreaning-online/M4/2.pdf online/M4/2.pdf

2 วางภาพถ่ายคู่ที่มีหมายเลขเรียงลาดับกันลง บนพื้นราบ โดยให้รายละเอียดส่วนที่ของภาพที่ซ้อนทับกัน ให้อยู่ในแนวเดียวกัน แผ่นภาพอยู่ห่างกันประมาณ 6 เซนติเมตรวางล้อมสามมิติลงบนภาพถ่าย เลื่อนแผ่นภาพ ที่ซ้อนทับด้านบนไปทางขวาหรือทางซ้ายเพื่อให้ รายละเอียดที่ต้องการอยู่ในระยะสายตา จนกระทั่งมองเห็น ภาพเปน็ สามมิติตามที่ต้องการ กล้องสามมิติที่นิยมใช้กันมี 2 ชนิดคือ 1.กล้องสาม มิติแบบพกพา (pocket stereoscope) สามารถนาติดตัว ไปใช้ได้ง่าย แต่ดูภาพได้บริเวณ แคบๆ 2.กล้องสามมิติ แบบกระจกเงา (mirror stereoscope) โดยใช้กระจกเงา สะท้อนภาพทาให้เห็นได้เป็นบริเวณกว้างกว่ากล้องสามมิติ แบบพกพา

3 ภาพที่ 3 กล้องสามมิติ แบบพกพา ที่มา http://sjc.ac.th/sjc2014/image s/Lreaning-online/M4/2.pdf ภาพที่ 4 กล้องสามมิติ แบบกระจกเงา ที่มา http://sjc.ac.th/sjc2014/image s/Lreaning-online/M4/2.pdf การรับรู้ความรู้สึกด้วยการมองสามมิติ 1. การรับรู้ทรวดทรงของวัตถุโดยการใช้ 2 ตามอง รวมไปยังจุดใดจุดหนึ่ง 2. โดยแกนหลักของตาทั้งสองจะเบนเข้าหากันและ ตัดกันที่จุดนั้นด้วยมุมที่เรียกว่ามุมเหลี่ยม 3. วัตถุอยู่ใกล้มุมเหลี่ยมจะใหญ่ขึ้นเมื่ออยู่ไกลก็จะ เล็กลง

4 1.ระยะใกล้ที่สุดที่มองภาพ สามมิติได้เท่ากับ 10 นิ้ว (โฟกัสได้ ถึง 6 นิ้ว) 2.ระยะฐานตา = 63-69 มิลลิเมตรหรือ 2.6 นิ้ว 3.ระยะเหลื่อมที่มองเห็นได้ ไกลสุด 2,000 ฟุต 1. เป็นภาพถ่ายคู่ที่บันทึกภาพบริเวณ เดียวกันแต่เปลี่ยนมุมมอง 2. มาตราส่วนของภาพถ่ายมีขนาด มาตราส่วนเดียวกัน 3. แนวแกนกล้องขณะบันทึกภาพ ผู้สอนต้องประมาณอยู่บนพื้นราบเดียวกัน

5 ลักษณะภาพที่สามารถมองภาพสามมิติ 1. เปน็ ภาพถ่ายคู่ที่บันทึกภาพบริเวณเดียวกันแต่ต่าง มุมมอง 2. มาตราส่วนของภาพเท่ากันหรือใกล้เคียงกันมาก 3. แนวแกนกล้องขณะบันทึกภาพอยู่ในระนาบ เดียวกัน ภาพที่ 5 ลักษณะภาพที่สามารถมองภาพสามมิติ ที่มา http://www.geog.pn.psu.ac.th/CAIAerial/HtmlBook/3basic3D_ppt.html?fb clid=IwAR0EstSx84j6mFpMJfyCBd2kSHoXevewDmhmOFSS3-mIDZS- iAZj06CJQ0E

6 วิธีการมองภาพถ่ายทางอากาศให้เห็นภาพ สามมิติ การมองภาพถ่ายเพื่อให้เกิดภาพ 3 มิตินอกจาก ภาพถ่ายทางอากาศจะมีลักษณะตามที่กล่าวมาแล้วยัง ขึ้นอยู่กับระบบการมองนัยน์ตาอีกด้วยคือ 1. ระยะชัด (accomodation) คือการปรับระยะชัดหรือ ปรับโฟกัสของเลนส์นัยน์ตาเพื่อให้ระยะชัดของนัยน์ตา เหมาะกับการทางานมีระยะระหว่าง 150 มิลลิเมตร ถึงระยะ อนันต์แต่ในตาคนปกติจะชัดในระยะ 250 มิลลิเมตร 2. การรวมกันของสายตา (convergence) เป็นจุด รวมของแนวสายตาทั้งสองข้างจุดรวมของสายตาทั้งสอง ข้างนี้กระทาได้ในระยะ 150 มิลลิเมตรถึงระยะอนันต์โดย ปกติแล้วระยะชัดและการรวมของสายตาจะมีความสัมพันธ์ กัน 3. ระยะฐานตา (eye base) เป็นระยะห่างระหว่าง กึ่งกลางของนัยน์ตาข้างซ้ายและข้างขวาซึ่งอาจจะไม่ เท่ากันทุกคนระยะฐานตามีความสัมพันธ์กับการใช้ เครื่องมือและการจัดภาพถ่ายทั้งสองให้เห็นภาพทรวดทรง โดยปกติคนธรรมดามีระยะฐานตายาวประมาณ 65 มิลลิเมตร

7 ภาพที่ 6 การมองภาพทรวดทรง ที่มา https://shorturl.asia/8mcxk 1. การมองภาพด้วยสายตาไขว้กันเป็นการมองภาพถ่ายด้วย การใช้ตาขวามองภาพถ่ายด้านซ้ายและตาซ้ายมองดูภาพถ่าย ด้านขวาหรือเป็นการบังคับสายตาให้ไขว้กันนั่นเองในการปฏิบัติจะ เกิดความลาบากและความตึงเครียดของประสาท 2. การมองภาพด้วยสายตารวมกันเป็นวิธีการมองตามปกติด้วย การใช้ระยะรวมของสายตาและระยะชัดมีระยะเท่ากันคือ 250 มิลลิเมตรการที่จะมองให้เกิดภาพสามมิติจะต้องวางภาพถ่ายซ้อนกัน และให้ตาแต่ละข้างรับภาพรายละเอียดของภาพแต่ละภาพเท่านั้นโดย ใช้ฟิลเตอร์สีหรือฟิลเตอร์โพลาไรส์เข้าช่วย 3. การมองด้วยสายตาขนานกันเป็นวิธีการมองด้วยการบังคับ สายตาทั้งสองข้างให้ไปรวมกันที่ระยะอนันต์แต่ระยะชัดอยู่ที่ประมาณ 250 มิลลิเมตรวิธีนี้สามารถมองเห็นภาพ 3 มิติได้โดยไม่จาเป็นต้อง ใช้เครื่องมือทาง Optic ช่วยแต่จะมีความรู้สึกเหนื่อยและเมื่อยนัยน์ตา การบังคับสายตาเพื่อการมองภาพถ่ายให้เกิดภาพ 3 มิติทั้ง 3 แบบที่กล่าวมาในทางปฏิบัติจะต้องฝึกกล้ามเนื้อของตาให้เกิดความ เคยชินจึงสามารถเห็นได้รวดเร็วและไม่เมื่อยตาอย่างไรก็ตามในการ ปฏิบัติงานในห้องเพื่อดูภาพถ่ายทางอากาศให้เกิดภาพ 3 มิตินั้นมี เครื่องมือช่วยให้เกิดความสะดวกในการมองเครื่องมือนั้นเรียกว่า สเต อริโอสโคป

8 ภาพที่ 7 วิธีมองแบบ ขนาน ที่มา https://shorturl.asia/8mcxk ภาพที่ 8 วิธีมองแบบ ไขว้ ที่มา https://shorturl.asia/8mcxk ภาพที่ 9 dการมองด้วย สายตาราวมกัน ที่มา https://shorturl.asia/aSZ9H

9 เครื่องมือที่ช่วยในการมองภาพสามมิติ เครื่องมือที่ช่วยในการมองภาพถ่ายทางอากาศเพื่อให้เกิด ภาพ 3 มิติหรือที่เรียกว่าสเตอริโอสโคป มี 2 ชนิด 1. mirror stereoscope เป็นเครื่องมือที่ใช้สะดวกกว่า pocket stereoscope โดยเหตุที่เป็นเครื่องมือที่มีน้าหนักจึง นิยมใช้ในห้องปฏิบัติการตามปกติจะประกอบด้วยกระจก 2 คู่ สาหรับภาพทั้งสองสะท้อนเข้าไปสู่ตาและมีเลนส์ติดไว้บนกระจก เลนส์นี้จะมีระยะโฟกัสเท่ากับระยะจากเลนส์ผ่านกระจกไปยังรูป ถ่าย ระยะโฟกัสตามปกติจะยาวประมาณ 300 มิลลิเมตร ให้ลด กาลังขยายเหลือเพียง 0.8 เท่าแต่ได้สร้าง binocular เสริมไว้บน เลนส์ซึ่งช่วยขยายภาพขึ้น 4 ถึง 8 เท่าขึ้นอยู่กับกาลังขยาย แต่ ชนิดกล้อง mirror stereoscope มีหลายแบบมีทั้งแบบมองได้คน เดียวและมองได้ 2 คนพร้อมกันและมี parallax bar เพื่อใช้ คานวณหาค่าความสูงต่างของจุดใดๆในภาพถ่ายคู่ได้ด้วย

10 0 ภาพที่ 10 mirror ที่มา https://shorturl.asia/msqjL 2. pocket stereoscope ใช้ช่วยในการมองภาพถ่าย ทางอากาศเพื่อให้เห็นภาพ 3 มิติเช่นเดียวกันประกอบด้วย positive lens 2 ตัวซึ่งมีระยะโฟกัสสั้นกว่า 250 มิลลิเมตร โดยทั่วไปเล่นจะเป็นแบบ plane convex คือด้านบนราบเรียบ ด้านล่างของนูนมีระยะโฟกัส 100 mm ทาให้มีกาลังขยาย 2.5 เท่า pocket stereoscope มีขนาดเล็กสะดวกที่จะนาติดตัว ไปใช้ในภาคสนามสามารถมองเห็นภาพได้ในบริเวณกว้าง

11 0 ภาพที่ 11 pocket ที่มา https://shorturl.asia/msqjL อุปสรรคต่อการมองเห็นภาพสามมิติ สาเหตุต่างๆที่ทาให้บางคนไม่สามารถมองเห็นภาพ 3 มิติ ได้คือ 1. ในการที่จะให้เห็นภาพสามมิติได้ง่ายและชัดเจน ตาทั้ง สองข้างควรมีกาลังเท่ากันผู้สวมแว่นเปน็ ประจาควรสวมแว่นขณะ อ่านแปลภาพได้

12 0 2. แสงสว่างไม่พอเหมาะการจัด วางภาพไม่ถูกต้องตามตาแหน่งที่ เหมาะสม สุขภาพกายและสุขภาพจิต ของผู้ท างานไม่ดีคุณภาพของ ภาพถ่ายไม่ตีสิ่งต่างๆเหล่านี้จะ ก่อให้เกิดปัญหาแก่ผู้ใช้ภาพถ่าย 3. ภาพที่เห็นอาจเป็นภาพลวง ห ร ื อ ภ า พ ก ล ั บ ( PSEUDOSCOPIC VIEW) ได้เช่น ภูเขาปรากฏตัวลึกลงไป เป็นต้น ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากวางภาพไม่ ถูกต้อง เช่น วางภาพซ้าย เป็นขวาหรือกลับหัว รวมทั้งวาง ตาแหน่งเงาไม่ถูกต้อง

13 1. ในการแปลภาพไม่ควรแปลโดยดร 0 งลงบนพื้นภาพถ่ายเลยเพราะจะท าให้ ภาพถ่ายเลอะเทอะเป็นรอยขีดข่วน ทาให้การ ข้อควรระวังในการทางาน มองภาพให้เป็นภาพสามมิดิได้ยากขึ้นและ ใช้ภาพถ่ายทางอากาศและ บดบังรายละเอียดของภาพและอายุการใช้ เครื่อง STEREOSCOPE ภาพสั้นลง รวมทั้งเป็นการลาบากในการ แก้ไข จึงควรใช้TRACING PAPER หรือ OVERLAY ตามปกติถ้า OVERLAY ขุ่นมัวไม่ใสจะทาให้ การแปลภาพล าบากกว่าการแปลลงบน OVERLAY ที่ใสซึ่งสามารถเห็นรายละเอียด ได้ชัดเจน เมื่อต้องการทาความสะอาดภาพให้ ใช้สาลีชุบ CARBON TETRACHBORIDE เช็ด ส่วนรายละเอียดที่เขียนลงบน OVERLAY ถ้า ต้องการลบให้ใช้สาลีชุบแอลกอฮอล์เช็ด 2. เพื่อยึดภาพให้อยู่กับที่ขณะทาการแปล ภาพ ควรใช้ที่ทับกระดาษวางทับตรงมุมภาพ หรือใช้ MASKING TAPE ยึดมุมภาพไว้ ใน การใช้เทปติด OVERLAY ควรติดเทปเฉพาะ ช่วงบน

14 0 เพื่อผู้ปฏิบัติงานจะสามารถ ด้วยความระมัดระวัง และดึง พ ล ิ ก OVERLAV ข ึ ้ น เ พ ื ่ อ ออกโดยเริ่มจากมุมในไปสู่ ตรวจดูรายละเอียดของภาพ มุมนอกของภาพ มิฉะนั้นอาจ เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัย ทาให้ภาพฉีกขาดได้ เกิดขึ้น เมื่อทาการแปลเสร็จ ขณะดึงเทปออก 3. ระวังอย่าให้ภาพโดนความ 4. ระวังอย่าให้ภาพได้รับ ร้อนจัด เช่น อยู่กลางแดด. ความชื้นเกินควร ดังนั้น ขณะ หรือได้รับความร้อนจาก ออกภาคสนามควรจัดภาพ หลอดไฟขณะอ่านแปล ทั้งหมดรวมในถุงพลาสติก ภาพถ่ายมากเกินไป จะทาให้ ภาพหดหรือม้วนได้ ซึ่งจะเป็น 5. เก็บภาพทั้งหมดในลักษณะ อุปสรรคต่อการเห็นภาพสาม แบนราบ หากใส่กล่องได้ยิ่งตี มิติ 6. ควรระมัดระวังในขณะเคลื่อนย้าย กล้อง STEREOSCOPE และรักษาความ สะอาดของกล้องอยู่เสมอ เช็ดเลนส์และ กระจกโดยการใช้กระดาษเช็ดเลนส์หรือ สาลี ระวังอย่าให้เลนส์และกระจกมีรอย ขีดข่วนหรือรอยมือ

15 ลักษณะต่าง ๆ ที่ใช้ในการ 0 วิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศ รายละเอียดต่าง ๆ ที่เรา มองเห็นในภาพถ่ายทาง อวกาศ แบ่งออกได้เป็น 2 ป ร ะ เ ภ ท ใ ห ญ ่ ๆ ค ื อ 1. รายละเอียดที่เกิดขึ้นเองตาม ธ ร ร ม ช า ต ิ ( NATURAL FEATURES) เซ่ ภูเขาแม่น ้า ปา่ ไม้ ทุ่งหญ้า เปน็ ต้น 2. รายละเอียดที่มนุษย์สร้างขึ้น (MAN- MADE FEAFURES) เช่น อาคารบ้านเรือนทาง รถไฟ ถนน เปน็ ต้น รายละเอียดต่าง ๆ ดังที่กล่าวแล้วเมื่อ ปรากฏในภาพถ่ายจะมีมาตราส่วนเล็กลง ประกอบกับการถ่ายภาพถ่ายดิ่งจากทางอากาศ จึงทาให้ร้ายละเอียดต่าง ๆ

16 เหล่านี้อาจจะเพิ่มหรือลด ความสาคัญจากที่มองใน ระดับสายตาได้ ดังนั้นใน การวิเคราะห์ภาพถ่ายทาง อากาศ หรือการอ่านและแปล ภาพถ่ายนั้น เราจึงต้องอาศัยลักษณะ พิเศษหลาย ๆ ประการของ ภาพถ่ายทางอากาศเข้า ช่วยในการพิจารณา รายละเอียดต่าง ๆ เหล่านั้น ซึ่งประกอบด้วย

17 1. สีสัมพันธ์ (RELATIVE TONE หรือ GREY TONE) วัตถุหรือรายละเอียดต่างๆ บนพื้นผิวภูมิ ประเทศจะมีคุณลักษณะต่างกัน ซึ่งมีผลทาให้ ความสามารถในการสะท้อนแสงของวัตถุต่าง ๆ แตกต่างกัน นอกจากนั้นยังมีปัจจัยอื่น ๆ อีกหลาย ประการที่มีอิทธิพลโดยตรงต่อการสะท้อนแสงของ วัตถุที่จะทาให้เกิดสีต่าง ๆ ขึ้น

18 สาหรับสีของรายละเอียดต่าง ๆ ในภาพถ่ายทางอากาศขาวดา ซึ่งนิยมใช้กันแพร่หลายนั้นจะ มีสีตั้งแต่ดา เทา ไปถึงขาว แต่ สิ่งต่าง ๆหรือวัตถุชนิดเดียวกัน ก็อาจจะให้สีต่างกันได้ ตัวอย่างเช่น แหล่งน้าอาจจะให้สีตั้งแต่ขาวถึงดาขึ้นอยู่กับมุมสะท้อนของ ลาแสงจากดวงอาทิตย์ และการสะท้อนแสงของน้าเองด้วย หรือแหล่งน้า บริเวณหนึ่งจะปรากฏในภาพถ่ายเป็นสีดาในช่วงฤดูฝน แต่อาจจะปรากฏ ในภาพถ่ายเป็นสีขาวในช่วงหน้าแล้ง ก็ได้

19 โดยทั่วไปวัตถุที่สะท้อนแสงมากจะปรากฎเป็นสีขาว ในภาพถ่าย ในขณะที่วัตถุที่ดูดกลืนแฮงจะมีสีดาใน ภาพถ่าย พื้นผิวที่ราบเรียบ เช่น สนามหญ้าที่โล่ง แจ้ง ถนนจะมีสีขาวในภาพถ่าย ส่วนพื้นผิวที่ขรุขระ เช่น ป่าไม้ ไร่นา ซึ่งพืชอยู่ในช่วงระยะใกล้จะเก็บ เกี่ยวจะปรากฏเปน็ สีดา จะเห็นได้ว่าสีของตัววัตถุ เองจะไม่คงที่อันเนื่องมาจากอิทธิพลของดวง อาทิตย์ โดยทั่วไปวัตถุที่สะท้อนแสงมากจะปรากฏ เป็นสีขาวในภาพถ่าย ในขณะที่วัตถุที่ ดูดกลืนแสงจะมีสีดาในภาพถ่าย พื้นผิวที่ ราบเรียบ เช่น สนามหญ้าที่โล่งแจ้ง ถนน จะมีสีขาวในภาพถ่าย

20 ส่วนพื้นผิวที่ขรุขระ เช่น ปา่ ไม้ ไร่นา ซึ่งพืชอยู่ในช่วงระยะใกล้ จะเก็บเกี่ยวจะปรากฏเป็นสีดา จะเห็นได้ว่าสีของตัววัตถุเองจะไม่ คงที่อันเนื่องมาจากอิทธิพลของดวงอาทิตย์สาหรับภาพถ่ายสีนั้นสี ของรายละเอียดที่ปรากฎในภาพถ่ายมีประโยชน์อย่างมากที่จะช่วย ในการวิเคราะห์ภาพถ่าย 2. ความหยาบละเอียด (TEXTURE) ซึ่งจะแสดงออกในลักษณะ ของความละเอียดเรียบ หยาบ ขรุขระในภาพ ซึ่งเกิดจากการถ่ายสิ่ง ต่าง ๆ จานวนมากพร้อม ๆ กัน ความหยาบละเอียดนี้จะสัมพันธ์กับ มาตราส่วนของภาพถ่าย ดังนั้นความหยาบละเอียดของป่าไม้ใน ภาพถ่ายมาตราส่วน 1 : 50,000 จะด่างจากภาพถ่ายมาตราส่วน 1 : 10,000 โดยทั่วไปเราสามารถจาแนกความเรียบ หยาบ ขรุขระของผิว น้า ที่ราบเรียบ ไร่นาที่ทาการไถพรวนแล้ว และเขตปา่ ไม้ได้

21 3. แบบอย่าง (PATTERN) เมื่อเรามองภาพสามมิติตลอด ทั้งภาพ ก็จะเห็นรูปแบบต่าง ๆ ที่ สาคัญ ตัวอย่างเช่น รูปแบบของ ไร่นา การตั้งถิ่นฐาน ถนน ระบบ ระบายน้า ซึ่งจะมีรูปแบบที่แตก ด่างมีลักษณะเฉพาะตัว รูปแบบ ต่าง ๆ เหล่านี้ จะช่วยเราในการวิเคราะห์ว่า รายละเอียดเหล่านั้นคืออะไร แม้ว่า รายละเอียดเหล่านี้จะมองเห็น คล้ายกัน เช่น บริเวณที่ปลูกข้าวและ ปลูกผัก แต่ลักษณะรูปแบบเฉพาะ ของสองบริเวณนี้จะทาให้เราจาแนก รายละเอียดเหล่านั้นได้อย่างถูกต้อง

22 4. รูปร่าง (SHAPE) การ เข้าใจถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฎใน ภาพถ่ายว่าเมื่อมองมาจาก ข้างบนจะเห็นเป็นรูปร่างอย่างไร จะช่วยในการวิเคราะห์ภาพเป็น อย่างยิ่ง รูปร่างของสิ่งต่างๆ บาง ประเภทอาจจะวิเคราะห์ได้ง่าย กว่าบางประเภท สิ่งที่มีรูปร่าง กลม เช่น ถังน้ามัน วงกลม จราจร จะวิเคราะห์ในภาพถ่าย ได้ง่ายกว่าสิ่งที่มีรูปร่างหลาย เหลี่ยม เป็นต้น การรู้ว่าสิ่งที่ มนุษย์สร้างขึ้นจะมีลักษณะเป็น ระเบียบสม่าเสมอ

23 หรือเปน็ แนวตรงมากกว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ ซึ่งจะไม่เป็นระเบียบ เช่น คลอง ชลประทานจะมีแนวตรงกว่าลาน้าธรรมชาติเปน็ ต้น การรู้จักเกี่ยวกับรูปร่างเหล่านี้จะช่วยในการ วิเคราะห์ภาพเป็นอย่างมาก

24 5. ขนาด (SIZE) ขนาดของสิ่งที่ ปรากฎในภาพถ่าย ถ้าใช้มาตราส่วน เข้าช่วยหาขนาดจริงของสิ่งนั้นก็จะ ช่วยให้วิเคราะห์ภาพได้ง่ายขึ้น และ ถ้าผู้วิเคราะห์มีความสังเกตเกี่ยวกับ ขนาดของสิ่งต่าง ๆ ก็จะยิ่งช่วยได้ มากขึ้น เช่น ถ้าในบริเวณการตั้งถิ่นฐาน อาคารหลังเล็กอาจจะตีความได้ว่า เปน็ ที่อยู่อาศัย ถ้าเป็นหลังใหญ่จะ เป็นโรงเรียน โรงพยาบาล ศาลากลาง หรือสถานที่ราชการอื่น ๆ เป็นตัน หรือทางหลวงควรจะมีขนาดกว้าง ใหญ่มีความคดเคี้ยวน้อยกว่าทาง ชนบท เปน็ ต้น

25 6. เงา (SHADOW) ถ้าสิ่งที่ปรากฏในภาพถ่าย มีความสูง เงาจะมีประโยชน์ช่วยในการวิเคราะห์ ภาพมาก เงาจะสั้นหรือยาวขึ้นอยู่กับสภาพภูมิ ประเทศและตาแหน่งของดวงอาทิตย์ด้วย วัดถุ บางอย่างเช่น แนวต้นไม้ เสาไฟฟ้า เสา โทรศัพท์ กาแพง รั้ว เงาของสิ่งเหล่านี้จะช่วย ในการวิเคราะห์ภาพได้ง่ายขึ้นอย่างไร ก็ตามเงาที่ทอดยาวมากก็จะ ก่อให้เกิดปญั หาแก่ผู้วิเคราะห์ เพราะจะบดบังพื้นภูมิประเทศและ สิ่งต่าง ๆ ในบริเวณที่เงาทอดตัว

26 7. ที่อยู่และสิ่งที่อยู่ใกล้เคียง จะช่วยในการวิเคราะห์ว่า ( SITE AND ASSOCIATED สิ่งที่เห็นในภาพคืออะไร FEATURES) ในหลายกรณี เช่น ป่าโกงกางจะเป็นสิ่ง ที่อยู่ของวัตถุสัมพันธ์ กับ ที่ช่วยชี้บอกว่าบริเวณ สิ่งที่อยู่ใกล้เคียง นั้นเป็นชายทะเล ซึ่ง มีน ้ า ทะ เล ขึ้ น ถึง เป็น หรือตามทางหลวง ครั้งคราว หรือปั๊มน้ามัน โรงเรียนอาจจะแตกต่าง อาจจะสังเกตได้จากที่ตั้ง จากสถาบันอื่น ๆ ที่มี ว่าอยู่ตรงบริเวณถนนตัด สนามเด็กเล่นและสนาม ผ่านกัน กีฬาอยู่ด้วย เป็นต้น

27 วิธีจัดภาพเพื่อมองภาพทรวดทรง 1. หาภาพถ่ายที่ต่อเนื่องกันหรือมีส่วนเหลื่อมกัน 2. จัดภาพให้อยู่ในแนวบินเดียวกัน 3. แยกภาพถ่ายโดยให้ห่างกันเท่ากับระยะฐานกล้องมองภาพ ตรึงภาพให้อยู่กับที่ 4. มองภาพ ภาพที่ 12 การจัดวางภาพเพื่อมอง ทรวดทรงสามมิติ ที่มา https://shorturl.asia/msqjL

28 ภาพถ่ายทางอากาศที่จะนามาประกอบให้เป็นภาพถ่ายคู่ ทรวดทรงหรือสามมิตินั้นต้องมีคุณลักษณะที่สาคัญ คือ เป็นภาพถ่ายคู่ที่มีส่วนคลุมบริเวณเดียวกัน มาตราส่วนของ ภาพถ่ายทั้งสองต้องมีขนาดเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน แนวแกนกล้องถ่ายภาพขณะทาการถ่ายภาพทั้งสองต้อง ประมาณอยู่บนพื้นราบเดียวกัน และมีอัตราส่วนระหว่างระยะ ของตาแหน่งที่ทาการถ่ายภาพทั้งสองกับระยะสูงบินที่ เหมาะสม

29 การมองภาพถ่ายคู่เพื่อให้เกิดภาพสามมิตินั้น อาจจะทาโดยวิธีการบังคับสายตาแต่จะประสบ ปญั หายุ่งยากอยู่มาก ดังนั้นการปฏิบัติงานใน ห้องปฏิบัติการจึงมักนิยมใช้เครื่องมือที่เรียกว่า กล้องสเตริโอสโคป (STEROSCOPE) เพื่อช่วย ให้เกิดความสะดวกในการมอง กล้องที่ใช้มี 2 ชนิดถือ POCKET STEROSCOPE เป็นเครื่องมือ ราคาถูก ขนาดเล็ก สะดวกแก่การนาไปใช้ในสนาม แต่มีข้อเสียที่สาคัญคือ จากัดใน เรื่องกาลังขยายและในการนามาใช้ มองภาพถ่ายทางอากาศขนาด มาตรฐานต้องมีการงอภาพถ่าย บางส่วนเข้าช่วย ส่วน MIRROR STEREOSCOPE มีขนาดใหญ่กว่า จึงหนักและมีความมั่นคง

30 มากกว่า สามารถนามาใช้ศึกษาภาพถ่ายได้ง่ายเพราะเห็น รายละเอียดบนภาพถ่ายได้กว้างกว่าอย่างไร ก็ตาม ผู้ใช้ กล้องอาจจะมีความสามารถในการมองภาพสามมิติได้ดี ไม่เท่ากันทุกคนได้กล่าวคือผู้ที่มีสายตาตีทั้งสองข้างจะ เห็นได้ดีกว่าผู้ที่มีตาเอียงหรือสายตาสั้น สาหรับผู้ที่มี สายตาไม่ปกติต้องใส่แว่นเข้าช่วยในขณะที่กาลังใช้ เครื่องมือด้วยในการอ่านหรือแปลภาพถ่ายทางอากาศ จะ อาศัยการพิจารณาจากลักษณะต่างๆ ที่ปรากฏบน ภาพถ่ายเข้าช่วย ซึ่งประกอบด้วย สีสัมพันธ์ ความหยาบ ละเอียด แบบอย่าง รูปร่างขนาด เงา ที่ตั้งและสิ่งที่อยู่ ใกลัเคียง นอกจากนั้นผู้ที่จะอ่านแปลภาพได้ดียัง จ าเป็นต้องมีความสามารถในการมองภาพและ ประสบการณ์ รวมทั้งความรู้เฉพาะด้านอีกด้วย

31 กล้องสามมิติใช้ดูภาพขนาดเล็ก (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://sjc.ac.th/sjc2 0 1 4 / images/Lreaning- online/M4/2.pdf. สืบค้นเมื่อ 26 กรกฎาคม 2565. กล้องสามมิติใช้ดูภาพขนาดใหญ่ (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://sjc.ac.th/sjc2 0 1 4 / images/Lreaning- online/M4/2.pdf. สืบค้นเมื่อ 26 กรกฎาคม 2565. กล้องสามมิติแบบกระจกเงา (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://sjc.ac.th/sjc2 0 1 4 / images/Lreaning- online/M4/2.pdf. สืบค้นเมื่อ 26 กรกฎาคม 2565. กล้องสามมิติแบบพกพา (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://sjc.ac.th/sjc2 0 1 4 / images/Lreaning- online/M4/2.pdf. สืบค้นเมื่อ 26 กรกฎาคม 2565. เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ( อ อ น ไ ล น ์ ) . แ ห ล ่ ง ท ี ่ ม า : http://sjc.ac.th/sjc2 0 1 4 / images/Lreaning- online/M4/2.pdf. สืบค้นเมื่อ 26 กรกฎาคม 2565.

32 วันทนีย์ ศรีรัฐ. การมองภาพด้วยสายตารวมกัน (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://shorturl.asia/aSZ9H . สืบค้น เ ม ื ่ อ 30 กรกฎาคม 2565. . . การมองภาพสามมิติ (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.geog.pn.psu.ac.th/CAIAerial/HtmlB ook/3basic3D_ppt.html. ส ื บ ค ้ น เ ม ื ่ อ 30 ก ร ก ฎ า ค ม 2565. วุฒิพงษ์ แสงมณี. การจัดวางภาพเพื่อมองทรวดทรงด้วย กล้อง mirror stereoscope ( อ อ น ไ ล น ์ ) . แ ห ล ่ ง ท ี ่ ม า : https://shorturl.asia/msqjL. สืบค้นเมื่อ 30 ก ร ก ฎ า ค ม 2565. . . การมองภาพทรวดทรง (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://shorturl.asia/8mcxk. สืบค้นเมื่อ 30 ก ร ก ฎ า ค ม 2565. . . การมองภาพทรวดทรงวัตถุ 3 มิติ (ออนไลน์). แหล่งที่มา http://www.geog.pn.psu.ac.th/CAIAerial/HtmlB ook/3basic3D_ppt.html. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2565.

33 วุฒิพงษ์ แสงมณี. ลักษณะภาพที่สามารถมองภาพ 3 มิติ (ออนไลน์). แหล่งที่มา http://www.geog.pn.psu.ac.th/CAIAerial/HtmlB ook/3basic3D_ppt.html. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2565. . . วิธีมองภาพแบบขนาน (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://shorturl.asia/msqjL. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2565. . . วิธีมองแบบไขว้ (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://shorturl.asia/msqjL. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2565. . .mirror (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://shorturl.asia/msqjL. สืบค้นเมื่อ 2 สิงหาคม 2565. . . pocket (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://shorturl.asia/msqjL. สืบค้นเมื่อ 2 สิงหาคม 2565.




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook