Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดการโรงเรียนรับมือโควิด 19

คู่มือการจัดการโรงเรียนรับมือโควิด 19

Published by chamchanyangsisayat yangse, 2021-06-29 06:44:22

Description: คู่มือการจัดการโรงเรียนรับมือโควิด 19

Search

Read the Text Version

ค่มู อื การจัดการโรงเรียน รบั มือโควดิ -19

คูม่ ือการจดั การโรงเรยี น ดาวน์โหลดคู่มอื ได้ทีน่ ่ี รับมอื โควดิ -19 พิมพค์ รงั้ แรก  พฤษภาคม  2563  เรยี บเรยี ง  นางจงกลน ี วทิ ยารุ่งเรืองศร ี ผจู้ ดั การโครงการเดก็ ไทยแก้มใส  นางสาวภมรศร ี แดงชัย  นกั บริหารการเรียนร้ชู �ำ นาญการ  (สสส.) บรรณาธกิ าร  ดร.นพ.ไพโรจน์ เสานว่ ม ผู้ชว่ ยผจู้ ัดการและรักษาการผ้อู ำ�นวยการ สำ�นักสรา้ งเสรมิ วิถชี วี ติ สขุ ภาวะ (สสส.) นางเบญจมาภรณ์ ลิมปิษเฐยี ร ผชู้ ว่ ยผู้จดั การและรักษาการผอู้ �ำ นวยการ ศนู ย์เรยี นรูส้ ขุ ภาวะ (สสส.) ออกแบบ  บรษิ ัท  บ๊กุ แดน๊ ซ ์ สตูดิโอ  จำ�กดั   พมิ พ​์ท ่ี บรษิ ทั สหมติ รพรน้ิ ติ้งแอนด์พบั ลิสช่งิ จํากัด โดยความร่วมมือของ •  มลู นธิ สิ รา้ งเสรมิ วิถบี ริโภคอาหารเพอื่ สุขภาพ  (มอส.)          •  สำ�นักงานกองทุนสนบั สนุนการสร้างเสริมสุขภาพ  (สสส.) •  กรมอนามัยและกรมสุขภาพจิต ​ กระทรวงสาธารณสขุ   •  สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน  (สพฐ.) •  คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย สนบั สนนุ ขอ้ มลู วชิ าการจากองค์การยูนิเซฟและองค์การอนามัยโลก

สารบัญ 6 8 หมวดท ี่ 1  ความรู้เร่ืองโรคโควิด-19  9 • ทำ�ความรู้จกั โควิด-19  10 • สญั ญาณและอาการของโควิด-19    10 • โควิด-19  ตดิ ไดจ้ าก  3  ร ู 11 • ใครมคี วามเส่ียงมากทีส่ ุด  12 • การปอ้ งกันและหยุดยงั้ การแพร่กระจายของโควิด-19  14 • เม่อื ตอ้ งกักตัว  14  วนั   16 • ท�ำ ความเขา้ ใจเสน้ ทางการรกั ษาโควิด-19  19 หมวดท ี่ 2  ข้อปฏิบตั ิด้านสุขอนามยั   สิง่ แวดล้อม  และสงั คม  22 • ระยะเตรยี มการก่อนเปดิ เรียน  22 • ขอ้ ควรปฏิบัติสำ�หรบั โรงเรียนในสถานการณโ์ ควดิ -19 28 • ค�ำ แนะน�ำ ส�ำ หรับผบู้ รหิ าร  เจา้ ของโรงเรยี น  30 • ค�ำ แนะน�ำ สำ�หรบั ผบู้ ริหารโรงเรียน  คร ู และบคุ ลากร 32 • คำ�แนะน�ำ ส�ำ หรับนักเรยี น 34 • ค�ำ แนะน�ำ ส�ำ หรบั ผปู้ กครอง  ผู้ดแู ลเดก็   40 • ระบบคัดกรองในโรงเรียน  42 หมวดท ี่ 3  การให้สุขศึกษาในโรงเรยี น 43 • เทคนิคการลา้ งมือให้หา่ งไกลโควิด-19  48 • แนวทางการใหส้ ุขศกึ ษาในแตล่ ะระดับชั้น  53 • การจัดการสอนสขุ ศกึ ษาดา้ นสุขภาพจติ ในสถานการณ์โควดิ -19 56 • แนวทางใหส้ ขุ ศกึ ษาส�ำ หรับแมค่ รัวและผสู้ มั ผัสอาหาร  58 หมวดท ่ี 4  อนามยั สิง่ แวดล้อม 59 • จดั ให้มีการดแู ลความสะอาดห้องสว้ มและอ่างล้างมอื 59  • การดูแลอาคารสถานท่ี  สนามเดก็ เล่น  • ความสะอาดของรถรบั -ส่งนกั เรยี น

หมวดท ่ี 1 ความรู้ เรอ่ื งโรคโควดิ -19



8 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19 ทำ� ความรู้จกั โควดิ -19 ไวรัสโคโรนา  2019  หรือโควิด-19  (COVID-19  :  CO  =  corona,  VI  =  virus,  D  =  Disease)  เป็นเชื้อ ไวรัสที่สามารถก่อให้เกิดโรคทางเดินหายใจ  หลังติดเช้ืออาจไม่มีอาการ  หรืออาจมีอาการตั้งแต่ไม่รุนแรง  คือคล้าย กบั ไข้หวดั ธรรมดา  หรอื อาจก่อให้เกิดอาการรุนแรงเป็นปอดอกั เสบและเสียชวี ติ ได้



























22 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19 ข้อควรปฏบิ ัติส�ำหรบั โรงเรยี น ในสถานการณ์โควิด-19 ท่มี า  :  กรมอนามยั   กระทรวงสาธารณสขุ   คำ� แนะน�ำส�ำหรบั ผู้บริหาร  เจ้าของโรงเรียน 1 แจ้งผู้ปกครองที่บุตรหลานมีอาการ เจ็บป่วย  เช่น  มีไข้  ไอ  จาม  มีน้ำ�มูก  หายใจ เหนอื่ ยหอบ  หรอื กลบั จากพน้ื ทเี่ สย่ี งและอยใู่ น ช่วงกักกัน  ใหห้ ยุดเรียน  ขอความรว่ มมอื กรณที มี่ คี นในครอบครวั ป่วยด้วยโรคโควิด-19  หรือกลับจากพ้ืนที่เส่ียง และอยใู่ นชว่ งกกั กนั   ใหป้ ฏบิ ตั ติ วั ตามค�ำ แนะน�ำ ของเจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสขุ อย่างเคร่งครัด 

23 2 จัดให้มีการคัดกรองนักเรียนบริเวณทางเข้า โรงเรียน  ด้วยการดูจากอาการในเบื้องต้นหรือใช้เคร่ือง ตรวจวดั อณุ หภมู ริ า่ งกาย  พรอ้ มท�ำ สญั ลกั ษณน์ กั เรยี นท่ี ผา่ นการคดั กรอง  เชน่   ตดิ สตกิ เกอร ์ ตราปมั๊   หรอื อน่ื  ๆ  ตามความเหมาะสม  จัดเตรียมอุปกรณ์ล้างมือ  เช่น  เจลแอลกอฮอล์ บริเวณทางเขา้ ประตโู รงเรียน  และสบู่ตามอ่างล้างมือ  หากพบว่ามีนักเรียนป่วย  (มีไข้  ไอ  จาม  หายใจ เหน่ือยหอบ)  ให้ครูแยกนักเรียนออกมา  โดยอยู่ในห้อง ท่ีมีอากาศถ่ายเทสะดวกระหว่างรอผู้ปกครองมารับกลับ หรือส่งต่อเพื่อเข้ารับการตรวจรักษาและแจ้งผู้ปกครอง เพื่อพาไปพบแพทย ์ 3 ทำ�ความสะอาดส่ิงของ  เครื่องใช้  อาคาร สถานทท่ี ง้ั ภายในและภายนอกอาคารทนั ท ี กรณที มี่ ี นกั เรยี น  คร ู ผดู้ แู ลนกั เรยี น  ผปู้ กครอง  เจา้ หนา้ ท่ี  ผู้ปฏิบัติงานกลับมาจากพื้นที่เส่ียง  ในระยะเวลา ไม่เกิน  14  วัน  และเข้ามาในโรงเรียน  อาจพิจารณา ปิดโรงเรียนตามความเหมาะสม 4 พิจารณาจัดกิจกรรมในโรงเรียนตามความ เหมาะสม  เชน่   ปฐมนเิ ทศ  รบั นอ้ ง  กฬี าส ี ปจั ฉมิ นเิ ทศ  กิจกรรมเข้าค่าย  กิจกรรมวันเด็ก  ทัศนศึกษา  เป็นต้น  หากมกี ารรวมตวั กนั ของคนเกนิ กวา่   300  คนขนึ้ ไป  ควร งดการจดั กิจกรรมไปกอ่ น การจัดช้ันเรียน  ที่น่ังในโรงอาหาร  ถ้าเป็นไปได้ ให้มีระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย  1  เมตร  หรือ เหลื่อมเวลาในการพักรบั ประทานอาหารกลางวัน

24 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19 5 จดั ใหม้ กี ารดูแลอาคารสถานทแ่ี ละยานพาหนะ  ดังน้ี • ทำ�ความสะอาดห้องและบริเวณท่ีมีการใช้บริการร่วมกันทุกวัน  ด้วยน้ำ�ผสมผงซักฟอกหรือน้ำ�ยา ท�ำ ความสะอาดทว่ั ไป  ไดแ้ ก ่ หอ้ งเรยี น  โรงอาหาร  หอ้ งประชมุ   โรงยมิ   สนามเดก็ เลน่   หอ้ งสมดุ   หอ้ งคอมพวิ เตอร ์ ห้องดนตรี  ห้องเก็บอุปกรณ์กีฬา  สระว่ายน้ำ�  ลิฟต์  ราวบันได  ลูกบิดประตู  โต๊ะ  เก้าอ้ี  พนักพิง  อุปกรณ์ดนตรี  กฬี า  คอมพิวเตอร ์ • กรณีที่มีรถรับ-ส่งนักเรียน  ก่อนและหลังให้บริการแต่ละรอบ  ให้เปิดหน้าต่างและประตู  เพ่ือถ่ายเท ระบายอากาศภายในรถ  และท�ำ ความสะอาดในจดุ ทม่ี กี ารสมั ผสั บอ่ ย  ไดแ้ ก ่ ราวจบั   ทเี่ ปดิ ประต ู เบาะนงั่   ทว่ี างแขน  ดว้ ยน้ำ�ผสมผงซักฟอกหรอื นำ�้ ยาทำ�ความสะอาดท่มี ีส่วนผสมของโซเดยี มไฮโปคลอไรท์  (น�ำ้ ยาฟอกขาว)  และปฏบิ ัติ ตามค�ำ แนะน�ำ บนฉลาก  (เชน่   ผสมโซเดยี มไฮโปคลอไรท ์ ความเขม้ ขน้   6%  ในปรมิ าณ  20  มลิ ลลิ ติ ร  ตอ่ น�้ำ   1  ลติ ร)  • เปิดประตู  หน้าต่าง  เพ่ือระบายอากาศห้องที่มีการใช้งานร่วมกัน  เช่น  ห้องเรียน  โรงอาหาร  ห้อง ประชุม  โรงยิม  ห้องสมุด  ห้องคอมพิวเตอร์  ห้องดนตรี  ห้องเก็บอุปกรณ์กีฬา  หากมีเครื่องปรับอากาศให้ทำ� ความสะอาดอยา่ งสมำ�่ เสมอ

25 6 จัดให้มีการดแู ลร้านอาหาร  การจำ�หนา่ ยอาหาร  โรงอาหาร  ดงั น้ี • หากผสู้ มั ผสั อาหารมอี าการเจบ็ ปว่ ย  เชน่   มไี ข ้ ไอ  จาม  มนี �ำ้ มกู   หายใจเหนอื่ ยหอบ  ใหห้ ยดุ งานและพบแพทยท์ นั ที • ขณะปฏิบัติงานผู้สัมผัสอาหารต้องสวมหมวกคลุมผม  ผ้ากันเป้ือน  หน้ากากผ้า  ถุงมือ  และมีการปฏิบัติตนตาม สุขลกั ษณะส่วนบุคคลที่ถูกต้อง • ล้างมืออย่างสม่ำ�เสมอด้วยสบู่และน้ำ�  ทั้งก่อน - หลังการประกอบอาหาร  หยิบหรือจับสิ่งสกปรก  หลังการใช้ส้วม  และไมไ่ อ  จามใสอ่ าหาร • ปกปดิ อาหาร  ใชถ้ งุ มอื และทคี่ บี หยบิ จบั อาหาร  หา้ มใชม้ อื หยบิ จบั อาหารทพ่ี รอ้ มรบั ประทานโดยตรง  และจดั ใหแ้ ยก รับประทาน • ท�ำ ความสะอาดโรงอาหาร  รา้ นจ�ำ หนา่ ยอาหาร  และจดุ เสยี่ งตา่ ง ๆ  เชน่   หอ้ งครวั   อปุ กรณป์ รงุ ประกอบอาหาร  โตะ๊   เกา้ อ ้ี ด้วยน�ำ้ ยาทำ�ความสะอาด  รวมถึงลา้ งภาชนะอุปกรณ์หรอื สงิ่ ของเคร่ืองใชใ้ หส้ ะอาดเป็นประจ�ำ ทุกวนั • เตรียมอาหารที่ปรุงสุกใหม่ให้นักเรียนรับประทานภายในเวลา  2  ช่ัวโมง  หากเกินเวลาดังกล่าวให้นำ�อาหารไปอุ่น จนเดือดและน�ำ มาเสิรฟ์ ใหม่ • สนับสนุนให้นักเรียนได้รับโภชนาการท่ีดีและเหมาะสมในแต่ละช่วงวัยเพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน  ดูแลบริหารจัดการให้ นักเรียนรับประทานอาหารครบ  5  หมู่  สะอาด  ปลอดภัย  ถูกหลักโภชนาการ  โดยได้รับประทานผักผลไม้ปลอดสารพิษตาม ฤดูกาล  ตามมาตรฐานอาหารกลางวนั โรงเรียนไทย  (Thai  School  Lunch)  อย่างนอ้ ย  70 - 100  กรัม

26 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19 มาตรฐานอาหารกลางวนั โรงเรยี นไทย สําหรับเดก็ ไทยแตล่ ะวยั ใน 1 สัปดาห์ (ปริมาณและความถข่ี องอาหารกล่มุ ตา่ ง ๆ ท่จี ดั เสิร์ฟเปน็ อาหารกลางวนั และอาหารเสริมระหว่างมอ้ื ) 3-5 ปี 6-12 ปี 13-18 ปี กลุ่มอาหาร ปรมิ าณต่อครง้ั ครงั้ ตอ่ ปริมาณต่อคร้งั ครั้งตอ่ ปริมาณต่อครง้ั ครง้ั ตอ่ สัปดาห์ 2.5 ทัพพี (65) สัปดาห์ 3 ทพั พี (80) สัปดาห์ ขา้ วสวย (ขา้ วสาร เปน็ กรมั ) 1.5 ทพั พี (40) 5 5 5 ผัก 0.5 ส่วน 3-5 1 ทัพพี 4-5 1-1.5 ทัพพี 5 ผลไม้ 0.5 ส่วน 3-5 1 ส่วน 3-5 1 ส่วน 5 ปลา 2 ช้อนกินขา้ ว 1 2 ช้อนกนิ ขา้ ว 1 3 ชอ้ นกนิ ขา้ ว 1 เน้อื สัตวต์ ่าง ๆ 2 ชอ้ นกินข้าว 1 2 ชอ้ นกนิ ขา้ ว 2 3 ชอ้ นกินข้าว 2 ไข่ 1 ฟอง 2 1 ฟอง 2 1 ฟอง 3 0.25 ชอ้ นกินข้าว 0-1 1 ช้อนกินขา้ ว 0-1 ตับสัตว์ตา่ ง ๆ 0.25 ชอ้ นกินข้าว 0-1 2 ชอ้ นกนิ ขา้ ว 0-1 3 ช้อนกนิ ขา้ ว 0-2 2 ชอ้ นกนิ ข้าว 0-1 เต้าหตู้ า่ ง ๆ 2 ชอ้ นกินขา้ ว 0-1 ปลาเล็กปลาน้อยทก่ี นิ ทั้งกา้ งได้ เลือดสัตวต์ า่ ง ๆ 2 ช้อนกนิ ขา้ ว 1-2 2 ช้อนชา 5 นํ้ามันพืช 1 ชอ้ นชา 5 1.5 ชอ้ นชา 5 1 ทพั พี 2 2 1 ทพั พี 2 6 ชอ้ นกนิ ข้าว 3 ข้าว-แปง้ จากอาหารว่าง-ขนม 1 ทพั พี 1 6 ช้อนกนิ ขา้ ว 1 1 ทัพพี 2 1 1 ทัพพี 1 ไมเ่ กนิ 3 ชอ้ นชา 5 ถว่ั เมลด็ แห้ง (เขยี ว-แดง-ดาํ ) สุก 6 ชอ้ นกินข้าว 5 ไม่เกนิ 3 ช้อนชา 5 เผือก-มนั ตา่ ง ๆ 1 ทพั พี นํ้าตาล ไมเ่ กิน 3 ช้อนชา (ทมี่ า  :  สถาบนั โภชนาการ  มหาวทิ ยาลัยมหิดล) 7 จัดให้มีการดูแลหอ้ งสว้ ม • ทำ�ความสะอาดบริเวณท่ีมีการสัมผัสบ่อย ๆ  อยา่ งนอ้ ยวนั ละ  2  ครงั้   ดว้ ยน�ำ้ ยาท�ำ ความสะอาดหรอื น้ำ�ยาที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์  (น้ำ�ยา ฟอกขาว)  ได้แก่  พื้นห้องส้วม  โถส้วม  ที่กดชักโครก  หรือโถปัสสาวะ  สายฉีดชำ�ระ  กลอนหรือลูกบิดประตู  ฝารองน่ัง  ฝาปิดชักโครก  ก๊อกนำ้�  อ่างล้างมือ  และ ปฏิบัตติ ามค�ำ แนะน�ำ บนฉลาก • ซักผ้าสำ�หรับเช็ดทำ�ความสะอาด  และไม้ถูพ้ืน  ด้วยน้ำ�ผสมผงซักฟอกหรือน้ำ�ยาฆ่าเช้ือ  ซักด้วยน้ำ� สะอาดอกี คร้ัง  และนำ�ไปผง่ึ ตากแดดให้แหง้

27 8 ควบคมุ ดแู ลคร ู เจา้ หน้าท ่ี และผูป้ ฏิบัตงิ านในโรงเรยี น  ดังน้ี • กรณีผู้ปฏิบัติงานมีอาการเจ็บป่วย  เช่น  บ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ�  หรือเจลแอลกอฮอล์  หลีกเล่ียงการ มีไข้  ไอ  จาม  มีนำ้�มูก  หายใจเหน่ือยหอบ  ให้หยุด ใช้มือสมั ผัสใบหนา้   ตา  ปาก  จมูก  โดยไม่จ�ำ เปน็ ปฏบิ ตั งิ านแจง้ หวั หนา้ งาน  และพบแพทยท์ นั ท ี หรอื • ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทด่ี แู ลความสะอาดและผปู้ ฏบิ ตั งิ านเกบ็ หากเคยไปในประเทศเส่ียงตามประกาศกระทรวง ขยะให้สวมถุงมือยาง  หน้ากากผ้า  ผ้ายางกันเปื้อน  รองเท้า สาธารณสุข  หรืออยู่ในช่วงกักกัน  ให้ปฏิบัติตัวตาม พื้นยางหุ้มแข้ง  ใช้ปากคีบด้ามยาวเก็บขยะ  และใส่ถุงขยะ  ค�ำ แนะน�ำ ของเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุขอยา่ งเคร่งครัด ปิดปากถุงให้มิดชิด  นำ�ไปรวบรวมไว้ท่ีพักขยะ  แล้วล้างมือ • ผู้ปฏิบัติงานท่ีมีความเสี่ยงต่อการได้รับ ให้สะอาดทุกคร้ังภายหลังปฏิบัติงาน  เม่ือปฏิบัติงานเสร็จ เช้ือโรค  ต้องป้องกันตนเอง  ทำ�ความสะอาดมือ ในแตล่ ะวนั   หากเปน็ ไปไดค้ วรอาบน�้ำ และเปลย่ี นเสอ้ื ผา้ ทนั ที

28 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19 คำ� แนะนำ� ส�ำหรบั ผู้บรหิ ารโรงเรยี น  คร ู และบุคลากร 1.  สวมหน้ากากอนามัยทุกครัง้ 4.  สอนและส่งเสริมให้นักเรียนมีของใช้ส่วนตัว  เช่น  แก้วนำ้�  แปรงสีฟัน  อุปกรณ์รับประทานอาหาร  ผ้าเช็ดหน้า  2.  หากครู  ผ้ดู แู ลนักเรยี นมอี าการเจ็บปว่ ย  เชน่   มีไข้  เป็นตน้ ไอ  จาม  มีนำ้�มูก  หรือหายใจเหน่ือยหอบให้พบแพทย์และ หยุดปฏิบัติงานจนกว่าอาการจะหายดี  หากกลับจากพ้ืนท่ี 5.  ใหค้ วามร ู้ คำ�แนะน�ำ   หรอื จดั หาสอ่ื ประชาสัมพนั ธ์ เสี่ยงและอยู่ในช่วงกักกันให้หยุดปฏิบัติงานจนกว่าอาการ การป้องกันและลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายเช้ือไวรัส จะครบ  14  วัน  กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเช้ือ โคโรนา  2019  ใหแ้ กน่ กั เรยี น  เชน่   สอนวธิ กี ารลา้ งมอื ทถ่ี กู ตอ้ ง โควิด-19  หรือกลับจากพ้ืนที่เส่ียงและอยู่ในช่วงกักกัน  ให้ การใสห่ น้ากาก  คำ�แนะนำ�ในการปฏิบตั ิตัว  เป็นตน้ ปฏบิ ตั ติ ามค�ำ แนะน�ำ ของเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ อยา่ งเครง่ ครดั 6.  ควบคุมดูแล  การจัดช้ันเรียน  ที่นั่งในโรงอาหาร  3.  ส่งเสริมให้นักเรียน  เจ้าหน้าท่ี  และผู้ปฏิบัติงาน ถ้าเป็นไปได้ให้มีระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย  1  เมตร  ทกุ คนลา้ งมอื อยา่ งถกู วธิ ดี ว้ ยน�้ำ และสบ ู่ หรอื เจลแอลกอฮอล ์ หรอื เหลื่อมเวลาในการพกั รบั ประทานอาหารกลางวัน ทุกครั้งก่อนรับประทานอาหาร  หลังใช้ส้วม  และหลังเล่น กับเพ่ือน  หลีกเล่ียงการใช้มือสัมผัสใบหน้า  ตา  ปาก  จมูก  โดยไมจ่ �ำ เปน็

29 รายการตรวจสอบ ส�ำหรบั ผู้บรหิ ารโรงเรียน  คร ู และบคุ ลากร 1 ส่งเสริมและสาธิตการล้างมือเป็นประจำ�  แสดงพฤติกรรมด้านสุขอนามัยเชิงบวกเป็น ตัวอย่างแก่นักเรียน  ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน  และจัดเตรียมห้องนำ้�สะอาดและ อปุ กรณ์ลา้ งมือที่เพียงพอ   เตรยี มอา่ งลา้ งมอื   สบ ู่ และน�ำ้ สะอาดทเี่ พยี งพอ  เหมาะสมกบั นกั เรยี นในแตล่ ะชว่ งวยั    สง่ เสริมการล้างมือบ่อย ๆ อย่างถกู วิธ ี (ใชเ้ วลาอยา่ งนอ้ ยคร้งั ละ  20  วินาท)ี  วางเจลแอลกอฮอล์ทำ�ความสะอาดมือไว้ในห้องเรียน  ห้องโถง  และบริเวณใกล้ ทางออก  มีห้องน�ำ้ /ห้องส้วมท่ีสะอาดและเพียงพอ  โดยแยกสำ�หรบั เด็กหญิงและเด็กชาย 2 ทำ�ความสะอาดและฆ่าเช้ืออาคารในโรงเรียน  ห้องเรียน  อย่างน้อยวันละคร้ัง  โดยเฉพาะ พนื้ ผวิ ทห่ี ลายคนสมั ผสั   (ราว  โตะ๊ อาหาร  อปุ กรณก์ ฬี า  มอื จบั ประตแู ละหนา้ ตา่ ง  ของเลน่   ส่อื การเรยี นการสอน  เป็นต้น) ใช้น้ำ�ยาฆ่าเชื้อ  หรือน้ำ�ยาซักผ้าขาว  2  ฝา  ต่อน้ำ�  1  ลิตร  (โซเดียมไฮโปคลอไรท์  20  มลิ ลิลติ ร  ตอ่ น้ำ�  1  ลิตร)  สำ�หรับการฆ่าเชือ้ พน้ื ผวิ ใชเ้ อทิลแอลกอฮอล ์ (Ethyl  Alcohol)  70%  สำ�หรบั การเชด็ ฆา่ เชื้อโรคของช้ินเล็ก ๆ  3 ระบายอากาศใหถ้ ่ายเท  ปลอดโปรง่   ในกรณที ่ีสภาพอากาศเอ้อื อำ�นวย  (เปิดหนา้ ตา่ ง  หรือใชเ้ คร่อื งปรับอากาศเม่อื จ�ำ เปน็   เปน็ ตน้ ) 4 ติดป้ายรณรงค์สุขอนามัยท่ีด ี เช่น  วิธีล้างมือที่ถูกต้อง  หากมีอาการไอ/จามควรสวม หน้ากากอนามัย  เป็นตน้   5 กำ�จัดขยะอยา่ งถกู สุขลักษณะทุกวัน 

30 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19 ค�ำแนะน�ำส�ำหรบั นักเรียน  1.  สวมหนา้ กากอนามัยทกุ คร้ัง 6.  มีอุปกรณ์เคร่ืองใช้ส่วนตัวเฉพาะบุคคล  เช่น  ผา้ เชด็ หนา้   ผ้าเช็ดตวั   แปรงสฟี ัน  ฯลฯ 2.  ถา้ มไี ข ้ ไอ  จาม  เปน็ หวดั   หายใจเหนอื่ ยหอบ  แจ้งผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์และหยุดเรียนจนกว่า 7.  หลีกเลี่ยงการเข้าไปในสถานท่ีแออัดหรือ อาการจะหายดี สถานท่ีท่ีมีการรวมกันของคนจำ�นวนมาก  หากจำ�เป็น ควรสวมหน้ากากอนามยั 3.  ไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ที่มีอาการหวัด  มีไข้  ไอ  จาม  มีน�้ำ มกู 8.  ดูแลสุขภาพให้แข็งแรง  ด้วยการกินอาหาร ครบ  5  หมู่  และผัก  ผลไม้  5  สี  เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน  4.  ล้างมือด้วยสบู่และน้ำ�บ่อย ๆ ก่อนรับประทาน ออกก�ำ ลงั กายอยา่ งนอ้ ย  60  นาทีทุกวนั   และนอนหลบั อาหาร  หลังใช้ส้วม  และหลีกเล่ียงการใช้มือสัมผัส ใหเ้ พียงพอ  9 - 11  ชวั่ โมง/วนั ใบหน้า  ตาปาก  จมูก  โดยไม่จำ�เป็น  อาบน้ำ�ทันทีหลัง กลบั จากโรงเรียน  หลงั เล่นกับเพอื่ น  และหลงั กลบั จาก 9.  ใหร้ กั ษาระยะหา่ ง  การนงั่ เรยี น  นงั่ รบั ประทาน นอกบา้ น อาหาร  เลน่ กบั เพื่อน  อยา่ งนอ้ ย  1  เมตร  5.  ให้นักเรียนเลือกกินอาหารปรุงสุกใหม่  โดย ใช้อปุ กรณส์ ว่ นตัว  เชน่   แก้วนำ�้   ชอ้ น  สอ้ ม

31 รายการตรวจสอบ ส�ำหรบั นักเรยี น 1 ในสถานการณเ์ ชน่ นเ้ี ปน็ เรอื่ งปกตทิ เ่ี ดก็  ๆ จะรสู้ กึ เศรา้   วติ กกงั วล  สบั สน  กลวั หรอื โกรธ  ให้ เดก็  ๆ รูว้ า่ พวกเขาไมไ่ ดอ้ ย่คู นเดียว  สามารถพดู คยุ กับคนทไ่ี วว้ างใจ  เชน่   พ่อแม่  ผ้ปู กครอง  หรือครู  เพื่อให้เด็กสามารถช่วยให้ตัวเองและโรงเรียนของพวกเขามีความปลอดภัยและมี สุขภาพดี ให้เด็ก ๆ ถามคำ�ถาม  หาความร ู้ และรับขอ้ มูลจากแหลง่ ท่ีเช่ือถอื ได ้ 2 ปกปอ้ งตนเองและผ้อู น่ื สวมหนา้ กากอนามัยทุกครง้ั ลา้ งมือบอ่ ย ๆ ด้วยสบ ู่ อยา่ งนอ้ ย  20  วินาท ี หรือใช้เวลาเท่ากบั รอ้ งเพลงช้าง  2  รอบ  อยา่ สมั ผสั ใบหนา้ อย่าใช้ช้อน  ถว้ ย  จาน  แก้วน้�ำ   ขวดน�ำ้   เครอ่ื งดื่ม  รว่ มกบั ผอู้ ืน่ แยกส�ำ รบั อาหารเฉพาะส่วนตน  หลกี เลย่ี งการใช้สำ�รับและภาชนะรว่ มกบั คนอ่ืน 3 นักเรียนเป็นผู้นำ�ในการดูแลปกป้องตนเอง  โรงเรียน  ครอบครัว  และชุมชน  เพื่อการ มีสุขภาพดไี ด้ แบ่งปันส่ิงท่ีเรียนรู้เก่ียวกับการป้องกันโรคกับครอบครัวและเพ่ือน ๆ  โดยเฉพาะกับ เดก็ ท่เี ลก็ กวา่ เป็นแบบอย่างท่ีดีด้านอนามัย  เช่น  จามหรือไอลงในข้อศอก  และล้างมือท่ีถูกต้อง แกส่ มาชิกในครอบครวั ท่ีอายนุ อ้ ยกว่า 4 อยา่ ประณามคนรอบขา้ งหรอื หยอกล้อคนท่ปี ว่ ย  5 บอกผู้ปกครองและสมาชิกในครอบครัว  หรือผู้ดูแล  ถ้านักเรียนรู้สึกไม่สบายและ ตอ้ งการขอพักอยู่บ้าน

32 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19 คำ� แนะนำ� ส�ำหรับผ้ปู กครอง  ผู้ดูแลเด็ก 1.  หากบตุ รหลานมอี าการเจบ็ ปว่ ย  เชน่   มไี ข ้ ไอ  จาม  3.  หมน่ั ท�ำ ความสะอาดเครอื่ งเลน่   ของเลน่   ดว้ ยน�้ำ ยา มีนำ้�มูก  หรือเหนื่อยหอบให้พาไปพบแพทย์และหยุดเรียน ทำ�ความสะอาดทวั่ ไป  จนกว่าอาการจะหายดี  หรือกลับจากพ้ืนที่เส่ียงและอยู่ใน ช่วงกักกัน  ให้หยุดเรียน  14  วัน  และปฏิบัติตามคำ�แนะนำ� 4.  ไม่พาบุตรหลานไปในสถานท่ีแออัดหรือสถานท่ี ของแพทย์  กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด-19  ที่มีการรวมกันของคนจำ�นวนมาก  หากจำ�เป็นควรให้สวม หรือกลับจากพ้ืนที่เส่ียงและอยู่ในช่วงกักกัน  ให้ปฏิบัติตาม หน้ากากอนามยั   ค�ำ แนะน�ำ ของเจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ อยา่ งเครง่ ครดั   5.  จัดเตรียมอาหารที่ปรุงสุกใหม่  ส่งเสริมให้บุตร หลานกินอาหารครบ  5  หมู่  และผักผลไม้  5  สี  ท่ีสะอาด 2.  ให้สมาชิกในครอบครัวล้างมือด้วยสบู่และนำ้�  ปลอดภยั จากสารพษิ   อยา่ งนอ้ ยวนั ละ  2.5 - 4  ขดี   (ตามวยั )  ก่อนรับประทานอาหาร  หลังใช้ส้วม  และหลีกเล่ียงการใช้ เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน  ออกกำ�ลังกายอย่างน้อย  60  นาที มือสัมผัสใบหน้า  ตา  ปาก  จมูก  โดยไม่จำ�เป็น  และสร้าง ทกุ วัน  และนอนหลับให้เพียงพอ  9 - 11  ชัว่ โมงตอ่ วนั สุขนิสัยให้บุตรหลานอาบนำ้�หลังกลับจากโรงเรียน  หลังเล่น กบั เพ่ือน  และหลังกลบั จากนอกบ้าน 

33 รายการตรวจสอบ ส�ำหรบั ผปู้ กครอง  ผดู้ แู ลเดก็ 1 ตรวจสอบสขุ ภาพของบตุ รหลาน  ให้หยุดเรยี นและพกั ผอ่ นหากมอี าการปว่ ย 2 สอนและเปน็ แบบอย่างของการมสี ุขอนามัยทีด่ ีแกบ่ ุตรหลาน  ลา้ งมอื ดว้ ยสบแู่ ละน�ำ้ สะอาดบอ่ ย ๆ  หากไมม่ นี �ำ้ และสบใู่ หใ้ ชแ้ อลกอฮอลเ์ จลทม่ี สี ว่ นผสม ของแอลกอฮอลอ์ ย่างน้อย  70%  ทำ�ความสะอาดมือ   จดั เตรียมน้�ำ ดมื่ สะอาด  และหอ้ งน�้ำ หรอื ห้องสว้ มสะอาดทบ่ี า้ น  กำ�จดั ขยะของเสยี อยา่ งปลอดภยั  ไอและจามลงในกระดาษทิชชูหรือข้อศอกพับแขน  หลีกเล่ียงการสัมผัสใบหน้า  ดวงตา  ปาก  จมูก 3 กระตนุ้ บตุ รหลาน  ซกั ถามเพอ่ื ใหแ้ สดงความรสู้ กึ ออกมาใหผ้ ปู้ กครองหรอื ครไู ดร้ บั ทราบ  ซง่ึ เดก็ อาจมปี ฏกิ ริ ยิ าตอบสนองตอ่ ความเครยี ดตา่ งกนั   จงึ ควรอดทนและปฏบิ ตั ติ อ่ เดก็ อยา่ งเขา้ ใจ 4 คอยสังเกตความรู้สึกและทัศนคติของบุตรหลานเก่ียวกับโควิด-19  เพื่อทำ�ความเข้าใจ  และลดความอับอายโดยใช้ข้อเท็จจริง  โดยให้เด็กนึกถึงสุขภาพอนามัยเป็นสิ่งสำ�คัญ ตอ่ ชีวติ 5 ประสานงานกับโรงเรียนเพื่อรับข้อมูล  และสอบถามว่าคุณสามารถให้การสนับสนุน ร่วมมือกบั โรงเรียนไดอ้ ย่างไรบ้าง 

34 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19 ระบบคดั กรองในโรงเรียน อาการของโควดิ -19 ในเดก็  (ไอ  มไี ข ้ หายใจถี)่   อาการของโควดิ -19  จะมอี าการไอหรอื มไี ขค้ ลา้ ยกบั ไขห้ วดั ใหญห่ รอื โรคไขห้ วดั ทวั่ ไป  ซง่ึ เปน็ เรอื่ งธรรมดามาก  หากมีเด็กป่วยควรแจ้งผู้ปกครองพาเด็กกลับบ้าน  หากผู้ปกครองยังไม่สามารถรับเด็กกลับได้ในทันที  ควรจัดให้ เด็กพักในห้องพยาบาลท่ีมีอากาศถ่ายเทได้ดี  อยู่ห่างจากเด็กคนอื่น ๆ ป้องกันการแพร่เช้ือไปยังผู้อ่ืน  ให้เด็ก สวมหนา้ กากอนามยั   ลา้ งมอื บอ่ ย ๆ  และครผู ดู้ แู ลตอ้ งสวมหนา้ กากอนามยั และมวี ธิ ปี อ้ งกนั ตนเอง  เฝา้ สงั เกตอาการ  แจ้งให ้รพ.สต.  หรือโรงพยาบาลในพน้ื ที่ทราบ  เมอ่ื นกั เรยี นขาดเรยี น  ขอใหค้ รมู อบหมายใหน้ กั เรยี นสามารถเรยี นรตู้ อ่ เนอื่ งขณะอยทู่ บ่ี า้ น  อธบิ ายผปู้ กครอง และนักเรียนให้เข้าใจว่าเกิดอะไรขึ้นอย่างง่าย  สร้างความม่ันใจให้นักเรียนและผู้ปกครองว่าจะมีความปลอดภัย  รวมทง้ั ขอค�ำ แนะนำ�ทางการแพทย ์ โดยการประสานไปยังสถานบรกิ ารสุขภาพ  ตัวอยา่ งระบบคัดกรองในโรงเรยี น

35 กำ� หนดขัน้ ตอนหากนักเรียน  สนบั สนนุ การคดั กรองผทู้ ี่มคี วามเส่ียง หรอื เจ้าหน้าท่ีไมส่ บาย และผู้ท่ีต้องการดแู ลพิเศษ  วางแผนล่วงหน้ากับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขใน ทำ�งานร่วมกับระบบบริการสังคมและสาธารณสุข  พ้ืนที่  เจ้าหน้าที่สุขภาพในโรงเรียน  โดยมีรายชื่อและ เพ่ือให้ม่ันใจถึงความต่อเนื่องของบริการ  เช่น  โปรแกรม หมายเลขติดต่อกรณีฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบัน  สร้างความ คัดกรองสุขภาพ  พิจารณาความต้องการเฉพาะของเด็กท่ีมี มั่นใจในข้ันตอนการแยกนักเรียนท่ีป่วยและเจ้าหน้าท่ี ความพิการและครอบครัวนักเรียนชายขอบท่ีอาจมีความ ออกจากผู้ท่ีมีสุขภาพดี  และกระบวนการแจ้งผู้ปกครอง  รุนแรงมากขึ้นจากการได้รับผลกระทบจากการเจ็บป่วย  การใหค้ �ำ แนะน�ำ ในการดแู ลสขุ ภาพนกั เรยี นหรอื เจา้ หนา้ ที่  ตรวจสอบเด็กนักเรียนที่อาจเพ่ิมความเส่ียง  เช่น  ความ อาจต้องส่งต่อโดยตรงไปท่ีสถานบริการสุขภาพหรือ รับผิดชอบในการดูแลคนป่วยที่บ้าน  หรือหาประโยชน์ สง่ กลบั บา้ นขน้ึ อยกู่ บั สถานการณ ์ โดยมกี ารแจง้ ขน้ั ตอน เมื่อออกจากโรงเรยี น กบั ผปู้ กครองและนกั เรยี นลว่ งหน้า

36 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19 ส่งเสรมิ การแบ่งปันขอ้ มลู ประสานงานและปฏิบัติตามแนวทางจากหน่วยงาน ด้านสาธารณสุขและการศึกษา  แบ่งปันข้อมูลกับครูผู้ดูแล  และนักเรียน  ให้ข้อมูลล่าสุดเก่ียวกับสถานการณ์โรค  รวมทั้งความพยายามในการป้องกันและควบคุมท่ีโรงเรียน  แจง้ ให้ครูผู้ดแู ลแตล่ ะชั้นเรียน ควรแจ้งเตือนผู้บริหารโรงเรียนและหน่วยงานด้าน สาธารณสุขทราบ  เมื่อมีนักเรียนหรือคนในบ้านของครู และนักเรียนได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโควิด-19  โดยให้ คณะกรรมการผู้ปกครองหรือครูช่วยกันส่งเสริมข้อมูลเพ่ือ ให้ความรู้แก่เด็กและคนในครอบครัวถึงข้อปฏิบัติของคน ในครอบครัวกรณีที่มีผู้ป่วยโควิด  ซ่ึงอาจใช้สื่อต่าง ๆ ที่เด็ก คนุ้ เคยและเข้าใจได้ง่าย  ปรบั นโยบายโรงเรยี นตามความเหมาะสม พัฒนานโยบายการเข้าร่วมประชุมที่ยืดหยุ่นและการ ลาป่วย  เพ่ือกระตุ้นให้นักเรียนและบุคลากรโรงเรียนอยู่บ้าน เม่ือป่วยหรือดูแลสมาชิกในครอบครัวท่ีป่วย  ยกเลิกการให้ รางวัลและสิ่งจูงใจในการเข้าทำ�งาน  ระบุหน้าท่ีงานที่สำ�คัญ และวางแผนส�ำ หรบั ทางเลอื กของครฝู กึ หดั   วางแผนส�ำ หรบั การเปลี่ยนแปลงปฏิทินการศึกษาที่เป็นไปได้  โดยเฉพาะ ในส่วนท่เี กยี่ วขอ้ งกับการหยดุ พักและการสอบ ตรวจสอบการมาโรงเรยี น ใช้ระบบติดตามตรวจสอบการขาดเรียน  เพื่อติดตาม นักเรียน  ครู  และบุคลากรที่ขาดการมาโรงเรียน  เปรียบ- เทยี บกบั รปู แบบการขาดปกตทิ โ่ี รงเรยี น  แจง้ เตอื นเจา้ หนา้ ท่ี สาธารณสุขในพื้นที่หากพบว่ามีนักเรียนและบุคลากรของ โรงเรียนที่ขาดการมาโรงเรียนจากความเจ็บป่วยจากระบบ ทางเดินหายใจเพ่ิมขึน้ อย่างผดิ ปกต ิ

37 การวางแผนเพ่ือการเรยี นรู้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ในกรณีที่มีนักเรียนขาดเรียน  หรือลาป่วย  หรือปิด สนับสนุนเพ่ือนเพ่ือป้องกันการกีดกันหรือการกลั่นแกล้ง  โรงเรยี นชวั่ คราว  ควรมกี ารวางแผนสนบั สนนุ การเรยี นอยา่ ง ครูควรรับรู้ถึงความเป็นอยู่ของนักเรียนและส่ิงท่ีอาจเกิดข้ึน  ตอ่ เนอ่ื ง  ทงั้ นก้ี ารสง่ เสรมิ การศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพ  อาจรวมถงึ   ทำ�งานร่วมกับผู้ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขของโรงเรียน •  การใช้กลยทุ ธ์ออนไลน ์ หรอื   e-learning และนักสังคมสงเคราะห์เพ่ือสนับสนุนนักเรียนท่ีได้รับความ •  การกำ�หนดการอ่านและแบบฝึกหัดสำ�หรับการ เดือดร้อน  หรืออย่ใู นภาวะความเครยี ด ศกึ ษาทบ่ี ้าน เดก็ อาจตอบสนองตอ่ ความเครยี ดในรปู แบบทแี่ ตกตา่ ง •  การออกอากาศทางวทิ ย ุ พอดแคสต ์ หรอื โทรทศั น์ กัน  อาการโดยทั่วไปประกอบด้วย  นอนไม่หลับ  ปัสสาวะรด ที่มีเน้อื หาทางวิชาการ ท่ีนอน  ปวดท้องหรือปวดหัว  วิตกกังวล  เก็บตัว  ฉุนเฉียว  •  มอบหมายให้ครทู �ำ การตดิ ตามระยะไกลรายวันหรือ หรือกลัวการถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำ�พัง  ครูและผู้ปกครอง รายสัปดาห์กบั นักเรียน ควรตอบสนองปฏิกิริยาของเด็กด้วยวิธีการที่อ่อนโยน  ให้ •  ทบทวน/พัฒนากลยทุ ธ์การศึกษาแบบเรง่ รัด กำ�ลังใจ  อธิบายให้เด็ก ๆ ฟังถึงสถานการณ์ท่ีผิดปกติในช่วง การระบาดของโควิด-19  หรือสถานการณ์โรคระบาดต่าง ๆ  การสนับสนนุ ด้านสุขภาพจิต  และ ที่อาจจะเกิดข้ึนกับเด็กในวงกว้าง  รับฟังความกังวล  อึดอัด  การชว่ ยใหเ้ ดก็ รับมอื กบั ความเครียด ใช้เวลาในการปลอบโยนเด็ก ๆ และให้ความรัก  สร้างความ มัน่ ใจใหเ้ ขารสู้ ึกปลอดภัยและใหค้ ำ�ชมเชยที่เด็ก ๆ ทำ�ได ้ กระตุ้นให้เด็กต้ังคำ�ถาม  มีการอภิปรายคำ�ถาม- ถ้าเป็นไปได้สร้างโอกาสให้เด็กได้เล่นและผ่อนคลาย คำ�ตอบ  และข้อกังวล  และกระตุ้นนักเรียนได้พูดคุยกับ ในกิจวัตรประจำ�วัน  โดยเฉพาะก่อนเข้านอนหรือช่วยสร้าง ครู  หากนักเรียนมีคำ�ถามหรือความกังวล  ครูควรให้ข้อมูล ส่ิงใหม่ในสภาพแวดล้อมใหม่  ให้ข้อเท็จจริงท่ีเหมาะสมกับ อย่างง่ายท่ีเหมาะสมกับวัย  แนะนำ�นักเรียนเก่ียวกับวิธีการ อาย ุ และครูควรใหค้ วามร้ขู อ้ นี้แก่ผ้ปู กครองด้วย

38 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19 การใหเ้ ดก็ ไปโรงเรยี นเมื่อมสี ุขภาพดี หากนักเรียนไม่แสดงอาการใด ๆ  เช่น  มีไข้หรือมี อาการไอ  ใหไ้ ปโรงเรยี นได ้ เวน้ แตจ่ ะมกี ารออกค�ำ แนะน�ำ ดา้ น สาธารณสุขหรือคำ�เตือนอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องอย่างเป็นทางการ ทไี่ ด้รับผลกระทบตอ่ โรงเรยี น การใหน้ กั เรยี นไปโรงเรยี นยอ่ มดกี วา่ ขาดเรยี น  โดยฝกึ ให้นักเรียนมีสุขอนามัยส่วนบุคคล  เช่น  การล้างมือให้ถูกวิธี บอ่ ย ๆ  การไอหรอื จามดว้ ยการงอขอ้ ศอกหรอื ใชก้ ระดาษทชิ ช ู และก�ำ จดั กระดาษทชิ ชทู ป่ี นเปอ้ื นน�ำ้ มกู   น�ำ้ ลาย  ทง้ิ ในถงั ขยะ ทปี่ ดิ มดิ ชดิ   รวมทงั้ ไมใ่ ชม้ อื สมั ผสั ใบหนา้   ตา  ปาก  และจมกู   หากไมไ่ ดล้ า้ งมืออย่างถกู ตอ้ ง









43 แนวทางการให้สุขศึกษาในแต่ละระดับชนั้   ระดับอนบุ าล   • มุ่งเน้นไปท่ีพฤติกรรมสุขภาพท่ีดี  เช่น  เมื่อไอ  จาม • ใช้หุ่นเชิดหรือตุ๊กตาเพ่ือแสดงอาการ  (ไอ  จาม  มี ควรงอขอ้ ศอกรองรบั ใบหนา้   การใชก้ ระดาษทชิ ชปู ดิ ปาก  และ ไข)้   และควรท�ำ อยา่ งไรถา้ พวกเขารสู้ กึ ไมส่ บาย  (เชน่   ปวดหวั   การล้างมอื อย่างถกู ต้องบอ่ ย ๆ  ปวดท้อง  รู้สึกร้อนหรือเหน่ือยมาก)  วิธีการปลอบโยนคนที่ • รอ้ งเพลงในขณะทล่ี า้ งมอื เพอ่ื ฝกึ ลา้ งมอื ในระยะเวลา ปว่ ยดว้ ยการเอาใจใสแ่ ละพฤตกิ รรมการดแู ลอยา่ งปลอดภยั ทแี่ นะนำ�  20  วนิ าท ี เชน่   ร้องเพลงชา้ ง  2  รอบขณะล้างมอื   • ให้เด็ก ๆ นั่งห่างจากกัน  1  เมตร  โดยฝึกเหยียดแขน • เดก็  ๆ สามารถ “ฝกึ ” ลา้ งมอื ดว้ ยเจลทำ�ความสะอาด ออกหรือ “กระพือปีก”  ควรมีพ้ืนท่ีเพียงพอท่ีจะไม่แตะต้อง มือ ตัวเพ่ือน • พัฒนาวิธีการติดตามการล้างมือ  หรือให้รางวัล สำ�หรับการลา้ งมอื บ่อยครงั้  

44 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19 ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ • เปิดรับฟังความกังวลของเด็กและตอบค�ำถามด้วย ฉีดพ่นบนกระดาษสีขาว  เพ่ือสังเกตหยดน้ำ�สีว่าสามารถ เน้ือหาท่ีเหมาะสมกับวัย  ไม่ป้อนข้อมูลท่ีมากจนเกินไป  เดนิ ทางไดไ้ กลเพยี งใด  แลว้ น�ำ มาเปรยี บเทยี บกบั หยดละออง กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ไดแ้ สดงออกและสอ่ื สารความรสู้ กึ ออกมา  อาจ นำ้�ลาย  น�ำ้ มกู   เมื่อไอ  จาม  พดู ตะโกน  เป็นต้น อธิบายว่าเป็นเรื่องปกติท่ีเด็ก ๆ จะมีปฏิบัติกิริยาดังกล่าว  • สาธิตให้รู้ถึงสาเหตุท่ีจำ�เป็นต้องล้างมือด้วยนำ้�สบู่ เพราะเราก�ำลังอยูใ่ นสถานการณท์ ่ีผดิ ปกติ ใหส้ ะอาดเปน็ เวลา  20  วนิ าที  โดยใสก่ ากเพชรเลก็ นอ้ ยในมอื • เน้นว่าเด็ก ๆ สามารถทำ�สิ่งต่าง ๆ มากมายเพ่ือรักษา ของนกั เรยี นและใหล้ า้ งดว้ ยน�้ำ   สงั เกตวา่ มกี ากเพชรเหลอื อย ู่ ตนเองและผู้อื่นให้ปลอดภยั จากนน้ั ใหล้ า้ งดว้ ยสบปู่ ระมาณ  20  วนิ าท ี และลา้ งออกจนหมด • แนะนำ�แนวคิดการรักษาระยะห่างทางกายระหว่าง • ให้นักเรียนวิเคราะห์ข้อความเพ่ือระบุถึงพฤติกรรม บุคคล  เช่น  ยืนห่างจากเพอื่ น  หลกี เลี่ยงฝูงชน  ท่ีมีความเสี่ยงสูงและเสนอแนะการปรับเปล่ียนพฤติกรรม  • ยำ้�ถึงพฤติกรรมสุขอนามัยที่ดี  เช่น  การไอหรือจาม เช่น  ครูมาโรงเรียน  เขาจามและใช้มือปิดปาก  เขาจับมือกับ ด้วยการงอข้อศอก  และการล้างมือ  เว้นการสัมผัสมือและ เพื่อนร่วมงาน  เขาเช็ดมือของเขาด้วยผ้าเช็ดหน้า  จากนั้น ใบหนา้ ไปที่ชั้นเรียนเพ่ือสอน  ครูทำ�อะไรที่เส่ียง  ให้นักเรียนวิจารณ์  • ส่งเสริมให้เด็กเข้าใจแนวคิดพ้ืนฐานของการป้องกัน และเสนอความเห็นว่า  เขาควรจะปฏิบัติอย่างไรจึงจะเป็น และควบคุมโรค  โดยอาจใช้แบบฝึกหัดแสดงให้เห็นการ พฤตกิ รรมทีถ่ ูกตอ้ ง กระจายของเช้ือโรค  เช่น  การใส่นำ้�สีลงในขวดสเปรย์และ

45 ระดับประถมศึกษา​ตอนปลาย  และมธั ยมศึกษาตอนตน้   • รับฟังความคิดเห็น  ความกังวลของนักเรียนและ จัดทำ�โปสเตอร์  ใบประกาศเพื่อส่ือสารความรู้ในโรงเรียน ตอบค�ำถามของนักเรียน และในชุมชน  รวมถึงให้พวกเขาเป็นสื่อบุคคลในการส่ือสาร • เน้นย้ำ�ว่านักเรียนสามารถทำ�ส่ิงต่าง ๆ มากมายเพ่ือ สขุ ภาวะแก่คนในชมุ ชน รักษาตนเองและผอู้ ่ืนใหป้ ลอดภยั • บูรณาการเนื้อหาสุขศึกษา  สุขาภิบาลอาหาร  และ -  แนะนำ�แนวคิดเร่ืองการรักษาระยะห่างทางกาย โภชนศึกษา  ไว้ในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้  แบบ  ระหว่างบุคคล  (Physical  Distancing) Active  Learning  หรอื รว่ มกับวชิ าอ่นื  ๆ  -  เนน้ พฤตกิ รรมการสรา้ งสขุ อนามยั ทด่ี  ี เชน่   การไอ -  วิทยาศาสตร์สามารถครอบคลุมเนื้อหาของเชื้อ และจามดว้ ยการพับขอ้ ศอก  และการลา้ งมอื ไวรัสต่าง ๆ  การแพร่กระจายของโรคและการป้องกัน  การ -  ยำ้�กับนักเรียนเสมอว่า  พวกเขาสามารถเป็น สุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม  สารอาหารที่มีประโยชน์เสริม แบบอย่างพฤตกิ รรมสขุ ภาพทด่ี ีตอ่ ครอบครวั ได้ ภมู คิ มุ้ กนั โรค • กระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นปอ้ งกนั และจดั การกบั ปญั หาเรอ่ื ง -  สังคมศึกษาสามารถเน้นประวัติศาสตร์ของการ การตตี ราหรือทำ�ใหเ้ กิดความอบั อาย ระบาดครงั้ ใหญแ่ ละววิ ฒั นาการของนโยบายสาธารณสขุ และ -  พูดคุยเก่ียวกับปฏิกิริยาต่าง ๆ ที่พวกเขาพบเจอ ความปลอดภัย และอธิบายถึงสถานการณ์ที่ผิดปกติจากการแพร่ระบาดของ -  การงานอาชีพและเทคโนโลยี  ในสาระการดำ�รง โรคติดต่อ  กระตุ้นให้เขาได้แสดงออกและสื่อสารความรู้สึก ชวี ติ และครอบครวั   ออกมา  -  บทเรยี นเกย่ี วกบั การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื   (Media  Literacy) • ส่งเสริมการสร้างกลุ่มหรือชมรมนักเรียนเพื่อ ชว่ ยใหน้ กั เรยี นเปน็ นกั คดิ และมวี จิ ารณญาณ  มที กั ษะในการ เผยแพร่ข้อมูลด้านสาธารณสุข  เช่น  สนับสนุนให้นักเรียน ส่อื สาร  และพลเมอื งทมี่ คี ุณค่าต่อสงั คม  (Active  Citizen)

46 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  • รับฟังความคิดเห็น  ความกังวลของนักเรียนและ • บูรณาการเนื้อหาสุขศึกษาร่วมกับวิชาอื่น ๆ  ตอบคำ�ถามของนักเรียน -  วิทยาศาสตร์สามารถครอบคลุมเนื้อหาของเชื้อ • เน้นย้ำ�ว่านักเรียนสามารถทำ�สิ่งต่าง ๆ มากมาย ไวรัสต่าง ๆ  การแพร่กระจายของโรคและการป้องกัน  การ เพื่อรักษาตนเองและผู้อื่นให้ปลอดภัย สุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม  สารอาหารที่มีประโยชน์เสริม -  แนะนำ�แนวคิดเรื่องการรักษาระยะห่างทางกาย ภูมิคุ้มกันโรค ระหว่างบุคคล  (Physical  distancing) -  สังคมศึกษาสามารถเน้นประวัติศาสตร์และผล -  เน้นพฤติกรรมการสร้างสุขอนามัยที่ดี  เช่น  การ กระทบจากการระบาดครั้งใหญ่ของโลก  ศึกษานโยบาย ไอและจามด้วยการพับข้อศอก  และการล้างมือ สาธารณะที่ช่วยเรื่องความสมานฉันท์ของคนในสังคม • สนับสนุนให้นักเรียนป้องกันและจัดการกับปัญหา ท่ามกลางวิกฤต ิ เรื่องการตีตราหรือทำ�ให้เกิดความอับอาย  โดยพูดคุย • ส่งเสริมให้นักเรียนจัดกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริม เกี่ยวกับปฏิกิริยาต่าง ๆ ที่พวกเขาพบเจอ  และอธิบายถึง สังคมผ่านสื่อสังคมออนไลน์และสื่ออื่น ๆ รวมถึงให้ทักษะ สถานการณ์ที่ผิดปกติจากการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ  การรู้เท่าทันสื่อ  และการเป็นพลเมืองที่มีคุณค่าต่อสังคม กระตุ้นให้เขาได้แสดงออกและสื่อสารความรู้สึกออกมา 

47 การสอนท�ำหนา้ กากผา้   อปุ กรณ์ 1.  ผา้ ส�ำ หรบั ท�ำ หนา้ กากอนามยั   แนะน�ำ เปน็ ผา้ ฝา้ ยมสั ลนิ   เพราะผา้ ฝา้ ยมสั ลนิ   2  ชนั้   สามารถกนั อนภุ าค ขนาดเลก็   ปอ้ งกนั การซมึ ผา่ นของละอองน�้ำ   และซกั ใชง้ านไดห้ ลายครงั้   แตห่ ากหาไมไ่ ดจ้ รงิ  ๆ กส็ ามารถใชผ้ า้ ฝา้ ย  100%  ทดแทนได ้ 2.  ยางยืดส�ำ หรับทำ�สายคล้องห ู 3.  อุปกรณ์ตัดเย็บ  เช่น  กรรไกร  ดา้ ย  เข็มเยบ็ ผา้   เขม็ หมุด  วิธีทำ� 1.  ตดั ผา้ มสั ลนิ   ขนาดกวา้ ง  16  ซม.  ยาว  19  ซม.  จ�ำ นวน  ภาพ 1 2  ช้ิน  และตัดยางยืดสำ�หรับทำ�สายคล้องหู  ยาว  18 - 20  ซม.  (ให้เหมาะสมกับความกว้างของใบหนา้ แต่ละคน)  จำ�นวน  2  เสน้ ภาพ 2 ภาพ 3 2.  นำ�ยางยืดมาเย็บติดท่ีมุมผ้าด้านนอกของผ้าชิ้นแรก  ภาพ 4 (ตามภาพ  1) ภาพ 5 3.  นำ�ผ้าท้ัง  2  ช้ินมาวางซ้อนกัน  หันผ้าด้านนอกหรือ ด้านถูกเข้าหากัน  จะสังเกตได้ว่ายางยืดจะอยู่ด้านในระหว่างผ้า  2  ชิ้น  (ตามภาพ  2) 4.  เย็บมือหรือเดินจักรโดยรอบห่างจากริมผ้าประมาณ ครึ่งซม.  โดยเว้นช่องว่างประมาณ  10  ซม.  สำ�หรับไว้กลับผ้า  (ตามภาพ  3)  และเมื่อกลับตะเข็บผ้าแล้วให้สอยปิดริมผ้าท่ี เว้นไว้ให้เรยี บรอ้ ย 5.  จบั ทวสิ ตรงกลางผา้   โดยพบั ครงึ่ ตามแนวยาว  วดั จาก ก่งึ กลางลงมา  3  ซม.  ใช้เข็มหมดุ กลัด  2  ด้าน  (ตามภาพ  4)  6.  จับทวิสกลางผ้าให้กางออก  แล้วเย็บตรึงด้านข้างทั้ง  2  ด้านให้เรียบร้อย  (ตามภาพ  5)  จะได้หน้ากากอนามัยชนิดผ้า ที่พร้อมใช้งาน ถา้ ไมม่ จี กั รเยบ็ ผา้ สามารถเยบ็ มอื ไดด้ ว้ ยการเยบ็ ดน้ ถอยหลงั เพอื่ ความทนทานในการใชง้ าน  หน้ากากอนามัยแบบผ้าเม่ือใช้แล้ว  ให้เปลี่ยนทุกวัน  โดยซักทำ�ความสะอาด  ตากแดดให้แห้ง  ก่อนนำ�กลับมาใช้ใหม่  แนะน�ำ ใหท้ ำ�ไวใ้ ช้คนละ  3  ชิน้   เพื่อสลับกนั ใช้ ทมี่ า  :  กองสขุ ศกึ ษา  กระทรวงสาธารณสขุ  

48 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19 การจัดการสอนสุขศึกษาด้านสุขภาพจิต ในสถานการณ์โควิด-19 เรยี บเรยี งโดย  พญ.ศทุ รา  เออ้ื อภิสิทธิ์วงศ ์ จิตแพทย์เด็กและวยั ร่นุ   สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยร่นุ ราชนครนิ ทร ์ จากผลการสำ�รวจ  COVID  online  survey  ของยูนิเซฟประเทศไทย  ระหว่าง  28  มี.ค. -  6  เม.ย.63  โดยการสำ�รวจความคิดเห็นของเด็กและเยาวชนที่มีต่อสถานการณ์โควิด-19  จำ�นวน  6,700  คน  ใน  77  จังหวัด  พบวา่   • เด็กและเยาวชน  7  ใน  10  คน  มองว่า • ปญั หาทเ่ี ดก็ เยาวชนกงั วลสงู สดุ   อนั ดบั   1  วกิ ฤตโิ ควดิ -19  สง่ ผลกระทบตอ่ สภาพจติ ใจ  ท�ำ ให้ สถานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว  (ร้อยละ  80)  เกดิ ความเครยี ด  วติ กกังวล  และเบือ่ หนา่ ย รองลงมาคอื   เรอ่ื งการเรยี น  การสอบ  (รอ้ ยละ  54) และสุขภาพของสมาชกิ ในครอบครัว • ในด้านความต้องการของเด็กเยาวชนเพ่ือ • เด็ก  1  ใน  4  คน  ระบุว่าอยากเรียนรู้ เสริมความรู้และทักษะระหว่างท่ีโรงเรียนปิดและ เพ่ิมเติมเก่ียวกับการจัดการกับความเครียดและ ตอ้ งอยแู่ ตใ่ นบา้ น  พบวา่ สง่ิ ทเี่ ดก็ และเยาวชนอยาก โรคซึมเศรา้ เรยี นเพม่ิ เตมิ มากทส่ี ดุ คอื   ภาษาองั กฤษ  รองลงมา คอื   ความรเู้ สรมิ ในวิชาทกี่ ำ�ลังเรียนอยู่ในปจั จบุ ัน

49 ขอ้ แนะนำ� ส�ำหรับโรงเรยี น  สร้างความเข้มแข็งของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีดำ�เนินการในโรงเรียนแต่ละแห่งเพิ่มข้ึน  โดย  5  ข้ันตอน  หลัก มีดังน ี้ 1.  การรูจ้ ักนักเรยี นเปน็ รายบุคคล  ดำ�เนนิ การไดโ้ ดย  1)  ครูให้เวลาในการสร้างความสัมพันธ์  ทำ�ความรู้จักนักเรียน  ทั้งระดับบุคคลและครอบครัว  สร้างความไว้วางใจ กับนกั เรยี น  เพอ่ื พิจารณาความพรอ้ มของนกั เรยี นตอ่ การเรยี นร ู้ 2)  ครคู วรเปดิ โอกาสให้ตวั ท่านเองและนกั เรยี นในห้องเรียน  หรอื ช้ันเรยี นได้เรยี นรู้ทักษะทางสงั คมกบั เพอ่ื นใหม่  ครู ใหม ่ ช้ันเรยี นใหม ่ โดยเวน้ ระยะหา่ งทางกายภาพเพื่อปอ้ งกนั การแพร่กระจายของโรคติดตอ่   3)  ครูสังเกตสภาวอารมณ์  การปรับตัวของเด็ก  ทั้งท่ีเกิดจากสถานการณ์โรคระบาด  และการเรียนรู้ตามหลักสูตร  โดยติดตามความร่วมมือ  ความรับผิดชอบของเด็ก  ผ่านการสังเกต  การพูดคุย  การตรวจสอบผลงาน  เพ่ือให้ได้ข้อมูล เชงิ ประจกั ษ์ 2.  การคัดกรองนกั เรยี น  1)  เม่ือครูสังเกตความผิดปกติทางอารมณ ์ พฤติกรรมหรือสังคมของนักเรียนโดยใช้เคร่ืองมือง่าย ๆ ในการคัดกรอง ปญั หา  โดยเฉพาะปัญหาทางอารมณ์ท่จี �ำ เปน็ ต้องสอบถามจากนกั เรียนหรือให้นักเรียนประเมนิ ตวั เอง  2)  นอกจากปญั หาดา้ นอารมณ ์ พฤตกิ รรม  หรอื สงั คมแลว้   ครคู วรประเมนิ ความสามารถดา้ นการสอ่ื สารตามระดบั พฒั นาการ  หรอื ระดบั ความสามารถของนกั เรยี นแตล่ ะคน  เพอื่ พจิ ารณาชว่ ยเหลอื ในดา้ นความบกพรอ่ งดา้ นการสอื่ สาร  หรอื การเข้าใจภาษาของนกั เรยี น

50 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19 3.  การป้องกันและแก้ไขปัญหา  ประกอบด้วย  2  เทคนิค 4.  ส่งเสริมพัฒนานักเรียน  ด้วย  4  เทคนิคหลัก  คือ  หลกั   คอื   การใหค้ �ำ ปรกึ ษา  และการจดั กจิ กรรมเพอื่ ปอ้ งกนั กจิ กรรมโฮมรมู   การเยย่ี มบา้ น  การหารอื ผปู้ กครองชนั้ เรยี น  และแก้ไขปญั หา และการจัดกิจกรรมทกั ษะชวี ิต  1)  เม่ือครูสังเกตเห็นความผิดปกติของนักเรียน  1)  การจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนานักเรียน  ควร ประกอบการคัดกรองเพ่ือค้นหานักเรียนกลุ่มเส่ียงหรือ บูรณาการองค์ความรู้ด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตเข้า มีปัญหาเพิ่มเติมแล้ว  ให้ครูใช้ทักษะการให้คำ�ปรึกษาเพ่ือ ด้วยกัน  โดยครูส่ือสารเร่ืองความเครียดว่าเป็นปฏิกิริยา ช่วยเหลือด้านจิตใจแก่นักเรียน  โดยให้เวลาอยู่นักเรียน ปกติท่ีเกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติ  ท่ีมีการแพร่ระบาดของไวรัส คนนั้นอย่างสงบ  รับฟังปัญหา  และสนับสนุนให้นักเรียน โควิด-19  ในเวลานี้  และนำ�กระบวนการจัดการความเครียด  มองหาแหลง่ ช่วยเหลือด้านจติ ใจท่เี ขา้ ถงึ ง่าย  การฝึกสติให้กลมกลืนและเหมาะสมกับนักเรียนแต่ละวัย  2)  จัดกิจกรรมกับกลุ่มนักเรียน  เพื่อช่วยให้เกิดการ ร่วมกับการฝึกทักษะชีวิตที่เสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ  ยอมรับอารมณ์ท่ีเกิดข้ึนในภาวะวิกฤติ  มีบทสนทนาที่เปิด (resilience)  ให้กับนักเรียน  ได้แก่  ทักษะด้านอารมณ์  กว้างสำ�หรับปัญหาความไม่สบายใจของทุกคนในห้องเรียน  สังคม  และความคิด  เพิ่มวิธีการสร้างสรรค์ในการช่วยเหลือร่วมมือกัน  และให้ 2)  ประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและครอบ- ก�ำ ลงั ใจส�ำ หรบั ผ้ทู ำ�ด ี มีความเอ้อื เฟ้อื และเมตตาตอ่ ผู้อ่ืน ครัวอย่างใกล้ชิด  เพื่อส่งต่อข้อมูลสำ�คัญให้กับผู้ปกครอง 3)  ครูให้ข้อกำ�หนดกับนักเรียนว่า  ขณะที่ต้องเรียนรู้ ในการดูแลตอ่ เน่ือง  ผา่ นออนไลนเ์ พมิ่ ขน้ึ อาจขยายเวลาการอยหู่ นา้ จอเพมิ่ ขน้ึ   แต่ เม่ือสถานการณ์กลับสู่ภาวะปกต ิ ระยะเวลาหน้าจอจะลดลง 5.  การส่งต่อ  ในกรณีที่ครูพบปัญหาของนักเรียนท่ียาก เท่าปกต ิ ต่อการช่วยเหลือ  ควรส่งต่อใหู้เช่ียวชาญได้แก้ไขเยียวยา 4)  ครูและพ่อแม่ให้ความสำ�คัญกับ “กระบวนการ”  อย่างเหมาะสม  ของการเรียนรู้หรือการแก้ปัญหามากกว่าผลลัพธ์เพียง 1)  การส่งต่อภายในไปยังครูแนะแนว  ครูพยาบาล  อย่างเดียว  เพื่อสร้างความกระตือรือร้นในการเรียนรู้  และ หรอื นักจิตวทิ ยาโรงเรยี น  ให้ความส�ำ คัญกับความพยายามตอ่ ความยากล�ำ บากมากขึ้น 2)  การสง่ ตอ่ ภายนอกไปพบผเู้ ชย่ี วชาญจากหนว่ ยงาน สาธารณสุข  3)  ให้ข้อมูลแหล่งช่วยเหลือด้านจิตใจท่ีเข้าถึงง่าย  ไดแ้ ก ่ สายดว่ นกรมสขุ ภาพจติ   1323,  facebook  สายดว่ น สุขภาพจิต  1323,  www.Lovecarestation.com  และ แหลง่ อน่ื  ๆ 


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook