Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประกาศโรงเรียนชุมชนบ้านยางสีสุราช มาตฐานการศึกษาและเป้าหมายความสำเร็จระดับประถมศึกษา

ประกาศโรงเรียนชุมชนบ้านยางสีสุราช มาตฐานการศึกษาและเป้าหมายความสำเร็จระดับประถมศึกษา

Published by chamchanyangsisayat yangse, 2021-05-27 08:58:37

Description: ประกาศโรงเรียนชุมชนบ้านยางสีสุราช มาตฐานการศึกษาและเป้าหมายความสำเร็จระดับประถมศึกษา

Search

Read the Text Version

ประกาศโรงเรียนชมุ ชนบานยางสสี ุราช เรอื่ ง มาตรฐานการศึกษาและเปา หมายความสาํ เรจ็ ระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ขอ ๓ ท่ีกําหนดใหสถานศึกษาตองมี มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาน้นั คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนพัฒนาศิลปะวทิ ยามมี ติ เห็นพองตองกันใหความเห็นชอบรางมาตรฐานการศึกษาของและเปาหมายความสําเร็จตามที่โรงเรียนชุมชนบาน ยางสีสุราช เสนอในคราวประชุมครั้งที่ ๑ เม่ือวันที่ ๑ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ โรงเรียนจึงประกาศ เร่ือง มาตรฐานการศึกษาและเปาหมายความสําเร็จตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนชุมชนบานยางสีสุราช ระดับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือเปนกลไกการพัฒนารวมกันระหวางโรงเรียนและ ผูมีสวนเกี่ยวของ และสรางความ เชอ่ื มัน่ ใหแ กสังคม ชุมชน ตามเอกสารแนบทา ยประกาศฉบบั นี้ ท้งั นต้ี ัง้ แต ปการศึกษา ๒๕๖๓ เปน ตน ไป จนกวา จะมีการเปล่ียนแปลงในเวลาท่ีเหมาะสมตอไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๙ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ (นายสมชาย แกว เกษเกย้ี ง) ผูอ ํานวยการโรงเรียนชุมชนบานยางสีสรุ าช

เอกสารแนบทา ยประกาศโรงเรยี นชุมชนบานยางสสี รุ าช เรอื่ ง มาตรฐานการศกึ ษาและเปา หมายความสาํ เรจ็ ระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ประกาศ ณ วนั ท่ี ๙ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ โรงเรียนชุมชนบานยางสีสุราชกําหนดมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยกําหนด เปาหมายความสาํ เรจ็ ของสถานศกึ ษาโดยรวมอยูใ นระดับประถมศึกษา โดยมเี ปา หมายในแตล ะมาตรฐาน ดงั นี้ มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู รียน จาํ นวน ๑๐ ประเดน็ การพิจารณา ๑.๑ ดา นผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผูเรยี น จํานวน ๖ ประเดน็ การพิจารณา ๑) มีความสามารถในการอา น การเขยี น การสื่อสาร และการคดิ คาํ นวณ ๑.๑ นักเรียนรอยละ 93.15 มีความสามารถในการอาน การเขียนภาษาไทย อยูใน ระดับดี ตามเกณฑก ารประเมนิ ของสถานศึกษา ๑.๒ นักเรียนรอยละ 100 ผานการประเมินสมรรถนะสําคัญของผูเรียน ดาน ความสามารถในการสอื่ สาร ในระดบั ดขี ้นึ ไป ๑.๓ นักเรียนรอยละ 100 มีความสามารถการสื่อสาร การนําเสนอผลงานไดตามเกณฑ ของสถานศกึ ษา ๑.๔ นักเรียนรอยละ 100 มีความสามารถในการส่ือสารภาษาอังกฤษ ไดตามเกณฑของ สถานศกึ ษา ๑.๕ นักเรียนรอยละ 100 มีความสามารถในการคิดคํานวณ อยูในระดับดี ตามเกณฑ การประเมินของสถานศึกษา ๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน ความ คดิ เห็น และแกป ญหา ประเมิน PISA ๒.๑ นักเรยี นรอยละ 100 ผานการประเมินการอาน คดิ วเิ คราะห อยใู นระดับ ดขี ึ้นไป คิดในระดับดี ๒.๒ นกั เรยี นรอยละ - ผานการประเมินทกั ษะการคิดแกป ญหาตามแนวทางการ ๒.๓ นักเรียนรอยละ 10 ผานการประเมินสมรรถนะสําคัญของผูเรียน ดานความสามารถในการ ๓) มคี วามสามารถในการสรา งนวตั กรรม ๓.๑ นกั เรียนรอยละ 90 มคี วามรูและทักษะพืน้ ฐานในการสรางนวัตกรรม ในระดับ ดีตามเกณฑ การประเมินของสถานศกึ ษา ๓.๒ นักเรียนรอยละ 90 มีผลงาน จากการทําโครงงาน / สิงประดิษฐ และสามารถอธิบาย หลกั การ แนวคดิ ขั้นตอนการทํางาน และปญ หาอุปสรรคของการทาํ งานได ๓.๓ นักเรยี นรอยสะ 80 สามารถสรา งนวตั กรรม ๓.๔ นกั เรียนรอ ยละ 80 สามารถสรางนวตั กรรม และนํานวตั กรรมไปใช และมกี ารเผยแพร ๔) มีความสามารถในการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร

๔.๑ นักเรยี นรอยละ 100 มีความสามารถในการสืบคนั ขอมูลจากอนิ เตอรเน็ต และสรปุ ความรูได ดว ยตนเอง และอา งองิ แหลง ขอ มูลท่ไี ดจ ากการสบื คน ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ๔.๒ นักเรียนรอยละ 100 ผานการประเมินสมรรถนะสําคัญของผูเรียน ดาน ความสามารถในการใชเทคโนโลยี ในระดบั ดี ๔.๓ นักเรยี นรอ ยละ 100 มที กั ษะดาน Digital Literacy ในการเรยี นรอู ยา งมปี ระสิทธภิ าพ ๕) มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา ๕.๑ นกั เรียนรอยละ 67.12 มีผลการเรยี นกลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย ระดับ ๓ ข้นึ ไป ๕.๒ นกั เรยี นรอยละ 62.33 มีผลการเรยี นกลมุ สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร ระดบั ๓ ขนึ้ ไป ๕.๓ นกั เรียนรอยละ 66.44 มีผลการเรียนกลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ระดบั ๓ ขน้ึ ไป ๕.๔ นักเรียนรอยละ 70.55 มีผลการเรียนกลมุ สาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ระดบั ๓ ขนึ้ ไป ๕.๕ นักเรยี นรอยละ 88.36 มีผลการเรยี นกลุม สาระการเรียนรูศ ิลปะ ระดบั ๓ ข้ึนไป ๕.๖ นักเรยี นรอ ยละ 88.36 มีผลการเรียนกลมุ สาระการเรียนรสู ขุ ศกึ ษาพลศึกษาระดับ ๓ ข้นึ ไป ๕.๗ นักเรียนรอยละ 81.51 มีผลการเรียนกลมุ สาระการเรยี นรกู ารงานอาชีพ ระดับ ๓ ข้ึนไป ๕.๘ นกั เรยี นรอยละ 46.58 มีผลการเรียนกลมุ สาระการเรยี นรูภาษาตา งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ระดบั ๓ ข้นึ ไป ๖) มีความรู ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคติทด่ี ีตอ งานอาชีพ ๖.๑ นักเรียนรอยละ 100 มีความรู ทักษะพ้นื ฐานและเจตคตทิ ี่ดีตองานอาชีพ ๖.๒ นกั เรียน รอ ยละ 100 มี ID Pan และ Portfolio เพือ่ การศึกษาตอและการประกอบอาชีพ ๖.๓ นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๖ รอ ยละ 100 มีความพรอ มท่ีศกึ ษาตอในระดับท่ีสูงข้ึน ๖.๔ นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๖ รอ ยละ 100 มีความพรอมในการทาํ งาน และประกอบอาชีพ ๑.๒ ดานคณุ ลักษณะท่พี ึงประสงคของผูเรียน จํานวน ๔ ประเดน็ การพิจารณา ๑) การมีคุณลักษณะและคานิยมทด่ี ีตามทีส่ ถานศึกษากําหนด ๑.๑ นกั เรยี นรอยละ 100 ผานการประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค ในระดับดขี น้ึ ไป ๑.๒ นักเรยี นรอยละ 100 มีความรับผดิ ชอบ มีวนิ ยั มภี าวะผูนําและมจี ติ อาสา ๑.๓ นักเรียนรอ ยละ 90 มคี ุณลักษณะและคา นยิ มที่ดี และเปน แบบอยา งได ๒) ความภมู ิใจในทอ งถิ่นและความเปน ไทย เปน ประมุข ๒.๑ นักเรียนรอยละ 100 รว มกจิ กรรมตามประเพณี วนั สําคัญ และทองถ่นิ วฒั นธรรมและทอ งถน่ิ ๒.๒ นกั เรยี นรอ ยละ 100 มีพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถงึ ความรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ ๒.๓ นกั เรียนรอยละ 100 ยดึ มน่ั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย ๒.๔ นกั เรียนรอ ยละ 100 มพี ฤตกิ รรมท่ีแสดงออกถึงความรักและภมู ใี จในความเปนไทย ๒.๕ นักเรียนรอยละ100 มีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความรักและภูมิใจประเพณี ๓) การยอมรบั ท่จี ะอยูรว มกันบนความแตกตา งและหลากหลาย

๓.๑ นักเรียนรอยละ 100 อยูรวมกันอยางมีความสุขบนความแตกตางทางวัฒนธรรม/ ความคิดเหน็ ท่แี ตกตาง ๓.๒ นักเรียนรอยละ 100 มีทัศนคติท่ีดีตอบานเมือง มีหลักคิดที่ถูกตอง และเปน พลเมืองทีด่ ีของชาติ และเปน พลเมืองโลกทด่ี ี มคี ณุ ธรรมจริยธรรม ๔) สุขภาวะทางรางกาย และจติ สงั คม ๔.๑ นักเรียนรอยละ 96 มีน้ําหนัก สวนสูง และพัฒนาการทางรางกายเจริญเติบโตตาม เกณฑมาตรฐานของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ กรม ๔.๒ นักเรียนรอยละ 100 มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑมาตรฐานของ พลศึกษา หรอื สาํ นกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสรา งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) ทกุ ขอ ๔.๓ นักเรียนรอยละ 100 มีสุขภาพแข็งแรง แตงกายสะอาดเรียบรอย เคร่ืองใชสวนตัว สะอาดและปฏบิ ตั ติ นตามสุขบัญญัติ ๑๐ ประการ ๔.๔ นักเรียนรอยละ 100 หลีกเสี่ยงจากส่ิงมอมเมา ปญหาทางเพศ การทะเลาะวิวาท และอบายมขุ ทุกชนิด ๔.๕ นักเรียนรอยละ 100 มีความรูทักษะในการปองกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบ ใหม ๔.๖ นักเรียนรอยละ 100 มีพฤติกรรมท่ีแสดงออกในการดําเนินชีวิตท่ีเปนมิตรกับ สงิ่ แวดลอมและมีจติ สาธารณะ ๔.๗ นักเรยี นรอ ยละ 100 ผา นการประเมนิ สมรรถะสาํ คัญของผเู รยี น ดา นความสามารถ ในการใชทักษะชวี ิต ในระดบั ดี มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๖ ประเด็นการพิจารณา ๒.๑ มีเปา หมายวสิ ยั ทศั นและพนั กจิ ทีส่ ถานศึกษากาํ หนดชดั เจน ๒.๑.๑ สถานศึกษา กําหนดวิสัยทัศน พันธกิจและเปาหมายดานตาง ๆ โดยใชขอมูลสารสนเทศ ของสถานศึกษาท่ีถูกตอง ครบถวน ทันสมัย ถูกตองตามหลักวิชาการ สอดคลองกับแผนการศึกษาชาติและความ ตองการของชมุ ชน ซึง่ มุงเนนการพัฒนาคุณภาพผเู รียนทสี่ ะทอนคุณภาพความสําเรจ็ อยางชัดเจนและเปนรูปธรรม โดยทกุ ฝา ยมสี วนรวม ๒.๑.๒ สถานศกึ ษา มีการศึกษา วิเคราะห มาตรฐานการศึกษาและประเดน็ พิจารณาเพ่ือการ ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงอยางครบถวน กําหนดผูรับผิดชอบ และเปดโอกาสใหผูมี สวนเกี่ยวขอ งทกุ ฝา ยมสี ว นรวมในทกุ กระบวนการ จนนําไปสูการประกาศใชม าตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๒.๑.๓ สถานศึกษา มีการกําหนดคําเปาหมายความสําเร็จของทุกมาตรฐานและกําหนดคา เปาหมายในประเด็นการพิจารณา เชน การอาน การเขียน การคิดคํานวณ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ฯลฯ อยาง เหมาะสมโดยผานการพิจารณาจากทุกฝายอยางครบถวนตามบริบทของสถานศึกษา โดยไดรับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ๒.๑.๔ สถานศึกษาจัดทําประกาศคาเปาหมายแตละมาตรฐานเพ่ือการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศกึ ษาโดยใตรบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน และมีการประชาสัมพนั ธให ผูเกีย่ วของท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษาไดร ับทราบดว ยวธิ กี ารหลากหลาย ๒.๒ มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา

๒.๒.๑ สถานศึกษามีแผนพัฒนาการศึกษา ท่ีไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา และสามารถตรวจสอบได ๒.๒.๒ สถานศกึ ษามแี ละดําเนนิ งานพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาที่มีความ เหมาะสม ครอบคลุมงานวิชาการที่เนนผเู รยี นเปน สําคญั พัฒนาครู บุคลากรของโรงเรียนและบริหารจัดการขอมูล สารสนเทศอยางมีประสทิ ธิภาพ ๒.๒.๓ สถานศึกษามีการศึกษา วิเคราะหสภาพปญหา และความตองการจําเปนของสถานศึกษา อยางเปนระบบ โดยใชเทคนิควิธีท่ีหลากหลาย ไดขอมูลสารสนเทศท่ีถูกตอง ครบถวน และทันสมัย ทั้งจาก แหลง ขอ มูลเอกสาร และผูมีสวนเก่ียวขอ งทุกฝาย ๒.๒.๔ สถานศึกษากําหนดวิธีการดําเนินงาน ทุกกิจกรรม โครงการท่ีสอดคลองกับทุกมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา โดยใชก ระบวนการทาํ งานท่ีมรี ะบบสอดคลองกับบริบทของสถานศึกษาและดําเนินการ ในทุกระบบ ครอบคลุมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา กระบวนการจัดการเรียนรู การสงเสริมการเรียนรู การวัด และประเมินผล การพัฒนาบุคลากร และกระบวนการบริหารและการจัดการของสถานศึกษา เปดโอกาสให ผูเ ก่ยี วของมีสวนรว ม ๒.๒.๕ สถานศึกษามีแผนการใชงบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณ เครื่องมือ และเวลาอยาง ประหยัดและคุมคา ใหบรรลุตามวตั ถปุ ระสงคแ ละเปา หมายของทุกโครงการและกิจกรรมอยางมีประสทิ ธภิ าพ มีการเสนอแผนพฒั นาการจัดการศึกษาตอคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานใหความเห็นชอบ และรบั รูร วมกัน อยางกวางขวาง อยา งมรี ะบบ และแจงใหหนวยงานตนสงั กัดรับทราบ ๒.๒.๖ สถานศึกษามีการทบทวนและจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปที่สอดคลองกับแผนพัฒนา การจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยทุกแผนงาน โครงการ กิจกรรมครอบคลุมตามภารกิจในแผนพัฒนาการจัด การศึกษา พรอมท้ังปรับกิจกรรมใหสอดคลองกับนโยบายที่สําคัญและความตองการจําเปนของสถานศึกษาและ หนวยงานตนสงั กัด ๒.๒.๗ สถานศึกษาเสนอแผนปฏิบัติการประจําปตอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานให ความเหน็ ชอบ และรบั รูร วมกนั อยางกวางขวาง อยางมีระบบ และแจง ใหหนว ยงานตนสงั กัดรับทราบ ๒.๒.๘ สถานศึกษามีระบบการนิเทศภายในของสถานศึกษา กระบวนการติดตาม ตรวจสอบ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ๒.๒.๙ สถานศึกษากําหนดบทบาทหนาท่ีมอบหมายใหบุคลากรในสถานศึกษาดําเนินงานดาน การประกันคุณภาพการศึกษาอยางชัดเจน ครอบคลุมโครงสรางการบริหารงาน บุคลากรของสถานศึกษาและ บทบาทหนาที่ของผูเรียนไวอยางชัดเจน มีการดําเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงคและเปนไปตามปฏิทินที่กําหนด ใชงบประมาณอยางคมุ คา ผูเก่ยี วขอ งทกุ ฝา ยมสี วนรว มและมคี วามพึงพอใจ ๒.๒.๑๐ สถานศึกษามีการกําหนดปฏิทิน และแผนกํากับติดตามการดําเนินงานของแผนปฏิบัติ การประจําป มีการระบุผูรับผิดซอบ ผูกํากับติดตามการดําเนินงานชัดเจนครบถวนในทุกโครงการ กิจกรรม โดย ผเู กี่ยวของมสี วนรว ม ๒.๒.๑๑ สถานศึกษามีการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการประจําปตามกรอบระยะเวลาที่กําหนดไว ครบถวนเกินรอยละ ๘๐ ขึ้นไปของจํานวนโครงการ กิจกรรม ผูรับผิดชอบและผูเกี่ยวของทุกฝายปฏิบัติตาม บทบาทหนาที่และความรับผิดชอบตามท่ีไดกําหนด โดยรอยละ ๘๐ ข้ึนไปของโครงการ กิจกรรมบรรลุตาม วตั ถุประสงค มกี ารใชง บประมาณและทรัพยากรอยางประหยัด คุม คา และผเู กีย่ วของรอยละ ๘๐ ขึ้นไป พงึ พอใจการดําเนนิ งาน

๒.๒.๑๒ สถานศึกษา มีการกําหนดผูรับผิดชอบในการประเมินและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และมีกระบวนการสรางความเขาใจในการประเมนิ ตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาระดับสถานศึกษา มอบหมายงาน ตามความรูความสามารถ รวมกันวางแผน กําหนดภารกิจ ปฏิทินการติดตามตรวจสอบ และมีการประสานงาน อยา งเปน ระบบ ๒.๒.๑๓ สถานศึกษามีการประเมินและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ท้ังระดับบุคคลและระดับ สถานศึกษาท่ีแสดงผลการบรรลุวัตถุประสงคของโครงการ โดยมีวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสม และมีการจัดทํา รายงานตามหลักวิชาการ เปนปจจบุ นั ๒.๒.๑๔ สถานศึกษา มีการติตตามผลการดําเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาใหมีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาดวยรูปแบบที่หลากหลาย ถูกตองตามหลักวิชาการ เปนแบบอยางท่ีดี และนําผลการ ติดตามตรวจสอบไปใชวางแผนดําเนินงาน ปรับปรงุ พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานของสถานศกึ ษา ๒.๒.๑๕ สถานศึกษามีการวางแผนและกําหนดกรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายในที่ ชัดเจน ถูกตองตามหลักวิชาการ มีเครื่องมือประเมินคุณภาพภายในท่ีครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาทุกระดับการศึกษา โดยทุกมาตรฐานและทุกประเดน็ พิจารณา ดําเนินการประเมนิ คุณภาพภายในตาม มาตรฐานการศึกษาโดยใชวิธกี ารและเครอื่ งมือทหี่ ลากหลายและเหมาะสม ๒.๒.๑๖ สถานศึกษาจัดทํารายงานผลการประเมินตนเองท่ีเปนรายงานประเมินคุณภาพภายใน ของสถานศึกษาที่สะทอนคุณภาพผูเรียนและผลสําเร็จของการบริหารจัดการศึกษาอยางชัดเจน ครอบคลุมตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประเมินแบบองครวม (Holistic rubrics) การตัดสินโดยอาศัยความ เชี่ยวชาญ (Expert judgment) การประเมินจากหลักฐานเชิงประจักษ (evidence based assessment) โดยผูมี สวนเกย่ี วของกบั การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาทกุ ฝายเขามามสี ว นรว มในการดาํ เนินงาน ๒.๒.๑๗ สถานศกึ ษามีการตรวจสอบ ปรบั ปรงุ คุณภาพของรายงานใหม ีความชดั เจนและสมบูรณ แลวจึงเสนอรายงานตอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานใหความเห็นชอบอยางเปนระบบ ตามชวงเวลาท่ี กําหนด และนําขอเสนอแนะมาใชป รบั ปรงุ พฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา ๒.๒.๑๘ สถานศึกษามีการเผยแพรรายงานประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาดวยรูปแบบ และวิธีการท่ีหลากหลายตอหนวยงานตนสังกัด หนวยงานท่ีเก่ียวของ และสาธารณชน พรอมกับนําขอคิดเห็น ขอเสนอแนะจากผูไดรับการเผยแพร และนําไปใชสําหรับการพัฒนาการจัดการศึกษาอยางมีระบบ เปนไปอยาง ตอ เนื่อง ๒.๒.๑๙ สถานศึกษามีการสงเสริม สนับสนุนใหครูและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษามีความรู ความเขาใจ และตระหนักในความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาท่ีมุงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาได อยางมีประสิทธิภาพตอเนื่อง และพัฒนาสถานศึกษาใหเ ปนองคกรแหงการเรียนรู จนเปนวัฒนธรรมในการทํางาน ปกตขิ องสถานศึกษา ๒.๒.๒๐ สถานศึกษามีการนําผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาและขอเสนอแนะ ของหนวยงานตนสังกัดตา ง ๆ มาวิเคราะห สังเคราะห และเลือกสรรขอมูลสารสนเทศ โดยใหผ ูมีสวนเก่ียวของ ทกุ ฝายมีสวนรว ม เพ่ือนําไปใชประโยชนตอการพัฒนาการบริหารและการสอนอยา งมีประสิทธิภาพและตอเนื่อง เปน แบบอยางได ๒.๒.๒๑ สถานศึกษา มีการเตรียมรับการติดตาม ประเมินคุณภาพอยางเปนระบบ ท้ังดานขอมูล เอกสารหลกั ฐาน รองรอยการดําเนินงานตาง ๆ อยา งครบถว น ชดั เจน เหมาะสม นาเชอ่ื ถอื และใหความรวมมือใน การประเมินคุณภาพเพื่อนําผลประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามขอเสนอแนะของหนวยงาน ตนสังกัด และหนว ยงานภายนอก

๒.๓ ดําเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนอยางรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก กลุม เปาหมาย ๒.๓.๑ สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเทียบเคียงมาตรฐานสากล และพัฒนา ผเู รียนใหม ีศกั ยภาพเปน พลโลก ปก ารศึกษาละ ๑ คร้งั ๒.๓.๒ สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่ใดรับความเห็นขอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา และสามารถตรวจสอบได ๒.๓.๓ สถานศึกษามหี ลกั สูตรของกลมุ สาระการเรยี นรทู ง้ั ๘ กลุมสาระ ๒.๔ พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม คี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี ๒.๔.๑ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาไดรบั การสงเสรมิ ใหเขา รบั การพัฒนาตนเอง ๒.๔.๒ ครูในกลุมสาระการเรียนรูทุกกลุมสาระ ผูประสานและครูในระดับช้ัน มีการประชุมเพ่ือ แลกเปล่ียนเรยี นรู และพฒั นาการทํางานรว มกนั อยางนอ ยปก ารศึกษาละ ๑๐ คร้ัง ๒.๔.๓ ครทู ุกกลมุ สาระการเรยี นรูไดรบั การพัฒนา ใหสามารถจดั การเรียนการสอนโดยใช เทคโนโลยีการศึกษาทางไกล ๒.๕ จัดสภาพแวดลอ มทางกายภาพและสงั คมที่เอื้อตอ การจดั การเรียนรูอ ยางมคี ุณภาพ ๒.๕.๑ ครแู ละนักเรยี นมคี วามพึงพอใจตอ สง่ิ อาํ นวยความสะดวกในการจดั การเรียนการสอน ๒.๕.๓ จํานวนแหลง เรียนรเู ออื้ ตอการจัดการเรยี นรูไ ดมาตรฐาน ๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนบั สนนุ การบริหารจดั การและการจัดการเรียนรู ๒.๖.๑ สถานศึกษามีระบบการจัดหา การพัฒนาและการบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใชใ น การบริหารจดั การและการจัดการเรียนรู ทเี่ หมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา ๒.๖.๒ สถานศึกษามีแผนในการพัฒนาระบบและการบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใชในการ บรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู ทีเ่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนนผเู รยี นเปน สําคญั ๕ ประเดน็ การพิจารณา ๓.๑ จัดการเรียนรผู านกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริง และสามารถนําไปประยกุ ตใชในชีวติ ได ๓.๑.๑ ครูรอยละ 100 ของทุกกลุมสาระการเรียนรู จัดการเรียนรูเนนกระบวนการคิด และให ผูเรียนฝกปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียน ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา และสามารถนําไปประยุกใชในชีวิต ได ๓.๑.๒ ครรู อ ยละ 100 นวัตกรรมในการจัดการเรยี นรู แบu Active Learning ๓.๑.๓ ครรู อ ยละ 100 มกี ารเผยแพร นวัตกรรมในการจดั การเรียนรู แบบ Active Learning ๓.๒ ใชสื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง เรยี นรทู ่ีเออ้ื ตอการเรยี นรู ๓.๒.๑ ครรู อยละ 100 ของทกุ กลุมสาระการเรียนรู ใชสื่อการเรียนรทู ่ีหลากหลาย ๓.๒.๒ ครูรอ ยละ 100 ของทกุ กลุม สาระการเรยี นรู ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศในการจัดการเรียนรู มี application ๓.๒.๓ ครูรอยละ 100 ของทุกกลุมสาระการเรียนรู ใช แหลงเรียนรูท้ังภายใน และภายนอก โรงเรยี น ภูมปิ ญญาทอ งถิ่น บรู ณาการในการจดั การเรียนการสอนเออ้ื ตอ การเรียนรูใหผ ูเ รยี นฝก ปฏิบตั จิ รงิ ๓.๒.๔ ครูรอยละ 100 ของทกุ กลุมสาระการเรียนรู สามารถจัดการเรียนการสอนดวยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกล

๓.๓ มกี ารบริหารจดั การขั้นเรียนเชิงบวก ครูรอยละ 100 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก มีปฏิสัมพันธ เชิงบวก สงผลใหนักเรียนรัก การเรยี นรู ๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ รยี นอยา งเปน ระบบและนําผลมาพฒั นาผเู รียน ๓.๔.๑ ครรู อ ยละ 100 มกี ารตรวจสอบและประเมินผูเรยี นอยา งเปน ระบบและใหขอมลู ยอนกลับ นาํ ผลมาพฒั นาผูเรยี น ๓.๔.๒ ครูรอยละ 100 มีเครื่องมือวัดและวิธีการประเมินผลที่เหมาะสมกับเปาหมายของการ เรียนรู ๓.๕ มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรูและใหข อมูลปอ นกลบั เพือ่ ปรบั ปรุงและพัฒนาการจดั การเรยี นรู ครู รอยละ 100 และผูท่ีมีสวนเกี่ยวของมีการแลกเปล่ียนเรียนรูและใหขอมูลปอนกลับเพ่ือ ปรบั ปรุงและพัฒนาการจดั การเรียนรู