Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-Book ผลการปฏิบิติงานที่ดี (Best Practice)

E-Book ผลการปฏิบิติงานที่ดี (Best Practice)

Published by Suthasinee Fongjangwang, 2021-04-22 05:56:44

Description: E-Book ผลการปฏิบิติงานที่ดี (Best Practice)

Search

Read the Text Version

คำนำ ผลการปฏบิ ติ ิงานที่ดี (Best Practice) เปน็ วธิ ีการทางานท่ีดที ส่ี ดุ ในแต่ละเรือ่ ง ซ่ึงสามารถเกิดข้ึน ได้ในทุก หน่วยงาน จากหลายช่องทาง ท้ังตัวผู้นา ผู้ร่วมงาน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือภาวะปัญหา และการ ริเร่ิม สร้างสรรค์ พัฒนาที่มีข้ันตอน เม่ือมีวิธีการทางานท่ีดีต้องทาผ่านการเล่าเรื่องที่เป็นการทางาน ของตนเองมา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในลักษณะของการแลกเปล่ียนข้ามสายงาน ข้ามหน่วยงานโดย เกิดข้ึนในระดับบุคคล ระดับ กลุ่มคน และระดับหน่วยงานย่อย Best Practice ท่ีได้ควรมีการบันทึก เขียนรายงานเพื่อการศึกษาพัฒนา และ เผยแพรไ่ ด้ ซง่ึ จะเกิดประโยชนอ์ ยา่ งยิ่ง กศน.ตาบลบ้านบ่อภาค ขอขอบคุณ ภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่าน ท่ีให้ความรู้ คาแนะนา และให้คาปรึกษาเป็นแนวทาง ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์สาหรับผู้นาไปใช้จัด กิจกรรมการเรียนรู้ ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพหากพบขอ้ ผิดพลาดหรอื มีขอ้ เสนอแนะประการใด ผู้จัดทาขอนอ้ มรับไว้ แก้ไข ปรับปรงุ ด้วยความขอบคณุ ย่งิ สุธาสนิ ี ฟองจางวาง กศน.ตาบลบอ่ ภาค มีนาคม ๒๕๖๔

Best Practice วิธกี ำรปฏบิ ตั ิท่ีเป็นเลิศ ชอื่ หน่วยงาน/ สถานศกึ ษา/ ผเู้ สนอผลงาน 1. กศน.ตาบลบอ่ ภาค อาเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณโุ ลก 2. สังกดั ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชาตติ ระการ 3. สานกั งาน กศน.จังหวดั พษิ ณุโลก 4. โทรศัพท์ 055-381-487 5. ชอ่ื – ชอ่ื สกลุ ผเู้ สนอผลงาน ว่าที่ ร.ต.หญิง สุธาสินี ฟองจางวาง 6. โทรศพั ทม์ อื ถือ 082-2419939 7. E-mail : [email protected] ชื่อผลงำน กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของ นกั เรยี นระดับช้ันประถมศกึ ษา คำสำคัญ ๑. Active Learning หมายถึง กระบวนการเรียนการสอนที่เนน้ ให้ผู้เรยี นมสี ่วนรว่ มและมีปฏิสัมพนั ธก์ บั กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติท่ีหลากหลายรูปแบบ เช่น การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การระดมสมอง การ แลกเปล่ียนความคิดเห็น และการทากรณีศึกษา เป็นต้น โดยกิจกรรมท่ีนามาใช้ควรช่วยพัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสื่อสาร/นาเสนอ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม บทบาทของผู้เรียนนอกจากการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังต้องมปี ฏิสมั พันธ์กบั ผู้สอนและผู้เรียน กับผู้เรียนด้วยกันด้วย ผู้สอนควรลดบทบาทในการถ่ายทอดความรู้แก่ผู้เรียนในลักษณะการบรรยายลง และเพิ่ม บทบาทในการกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นท่ีจะทากิจกรรมต่างๆ รวมถึงการจัดเตรียมสภาพแวดล้อมที่ เหมาะสมในการเรียนรู้ ๒. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน สง่ เสริมและพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอนภาษาไทยเพอ่ื ใหน้ ักเรยี นสามารถอา่ นออกเขียนได้ ลกั ษณะกำรเรยี นกำรสอนแบบ Active Learning 1. เป็นการพฒั นาศักยภาพการคิดการแกป้ ัญหาและการนาความรูไ้ ปประยุกตใ์ ช้ 2. ผูเ้ รียนมสี ว่ นร่วมในการจดั ระบบการเรียนรู้และสร้างองค์ความร้โู ดยมีปฏิสมั พนั ธ์ร่วมกันในรูปแบบของ ความรว่ มมอื มากกว่าการแข่งขัน 3. เปิดโอกาสใหผ้ ้เู รียนมสี ่วนรว่ มในกระบวนการเรยี นรูส้ งู สุด 4. เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสารสารสนเทศสู่ทักษะการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์และ ประเมนิ ค่า 5. ผู้เรยี นได้เรียนรู้ความมีวนิ ยั ในการท างานรว่ มกับผู้อื่น 6. ความรูเ้ กดิ จากประสบการณแ์ ละการสรปุ ของผูเ้ รยี น 7. ผู้สอนเปน็ ผู้อานวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรู้เพอื่ ให้ผู้เรียนเปน็ ผ้ปู ฏบิ ัตดิ ้วยตนเอง

๑. ควำมสำคัญของผลงำนหรือนวัตกรรมที่นำเสนอ ตามท่ีได้เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (Covid-19) รัฐบาลมีมาตรการ ในการ ป้องกันและแก้ไข ด้วยการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distanding) เช่น ให้ทางานท่ีบ้าน (Work from Home) รวมถึงได้สัง่ การให้สถานศกึ ษาทัว่ ประเทศหยุดการเรยี นการสอนไปด้วยเป็นระยะเวลา ตอ่ เนื่อง ประกอบ กับอาจจะมีสถานการณ์การกลับมาระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา่ รอบท่ี 2 ในโอกาสที่ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนินทรงเป็นประธานการประชุม คณะกรรมการสภากาชาดไทย เมือ่ วนั ที่ 5 มิถุนายน 2553 ได้มพี ระราชกระแสรับส่ังถงึ เด็กนักเรียนในถน่ิ ทุรกนั ดาร และหา่ งไกล ซ่งึ มีปัญหา ในด้านการเขยี นการอา่ นภาษาไทย โดยขอใหห้ าวิธกี ารช่วยเหลือเดก็ นกั เรียนกล่มุ ดังกล่าว ผ้อู านวยการสานกั งานบริหารกิจการเหล่ากาชาดจงึ ได้มีการหารอื ระหว่างสานกั งานยุวกาชาดและสานักงานอาสา กาชาด ทาให้ทราบว่า ปัจจุบันเครือข่ายสภากาชาดไทยซึ่งมภี ูมลิ าเนาอยู่ทั่วประเทศที่เปน็ สมาชกิ สภากาชาดไทย อาสาสมัครสภากาชาดไทย อาสากาชาด อาสายวุ กาชาด และกรรมการเหลา่ กาชาดจงั หวดั เหล่านี้ หลายคนเคยเปน็ ครู อาจารย์ หรือปัจจุบันมีอาชีพสอนหนงั สือ หรอื ทางานในสถานศึกษาอยู่แลว้ และมคี วามพรอ้ ม ที่จะใช้เวลาว่างเขามาทางานอุทิศตนให้กับสภากาชาดไทยในการให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน และเยาวชน ในการ เรียนเขยี น อา่ น หรือฝึกอาชีพตา่ งๆ ไดด้ ้วย ดังนั้น เพ่ือเป็นการสนองพระราชดาริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในการแก้ไขปญั หาเด็กนกั เรียนและ เยาวชนในถ่นิ ทรุ กนั ดารหรืออาศยั อยู่ในพน้ื ที่ชายแดน ได้ มีความรู้เพิ่มเติมจากการเรยี นในห้องเรียนหรอื สถานศึกษา ให้สามารถอ่านออกและเขียนได้หรือมีความรู้ในการ ดารงชีพเบ้ืองต้น ผู้อานวยการสานักงานอาสากาชาด ผู้อานวยการสานักงานยุวกาชาด ผู้อานวยการสานักงาน บริหารกิจการเหล่า กาชาดจึงได้ยกร่าง “โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการเรียนรู้เด็กนักเรียนและ เยาวชนในถิน่ ทุรกนั ดาร” ขนึ้ ร่วมกับเหล่ากาชาดจงั หวัด 76 จังหวดั เพอื่ ให้เหล่ากาชาดจังหวัดและผู้ที่ เกยี่ วข้อง หรือผู้ท่ีมีจิตอาสาเสียสละในการรับสนองพระราชดาริ ด้วยการจัดกิจกรรมทบทวน และสอนเสริม การเขียน การ อ่าน ควบคู่ไปกับสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ เพ่ือให้เด็กนักเรียนรักการอ่าน และสร้าง ประสบการณ์ในการเขยี น รวมถึงเหล่ากาชาดจังหวัดควรจะได้จัดกิจกรรมเสริมร่วมกับผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน ผู้นาศาสนา และประชาชนใน พืน้ ท่ีเพ่ือเปน็ การสรา้ งความสัมพนั ธท์ ี่ดีระหวา่ งกันและเพอ่ื ใหเ้ ดก็ นกั เรยี นและผู้ปกครองมคี ุณภาพชีวิตที่ดขี ึน้ ต่อไป 2. วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างทักษะในการอ่าน การเขียน ภาษาไทย และสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ให้กับเด็ก นักเรียนในถนิ่ ทุรกันดารและเดก็ นักเรียนในพื้นท่ีปกติ 2. เพอ่ื สรา้ งความตระหนักรใู้ นการใชภ้ าษาไทย 3. เพอื่ ใหผ้ ปู้ กครอง ผู้นาชมุ ชน ผู้นาศาสนา และประซาชนในพืน้ ท่ี ไดม้ สี ่วนรว่ มกจิ กรรมและมีความรูส้ กึ เปน็ เจ้าของ 4. เพ่ือให้เหล่ากาชาดจังหวัดมีกลยุทธ์ในการช่วยสนองพันธกิจของสภากาชาดไทย พร้อมท้ังผลักดัน ศักยภาพอาสาสมัครตา่ งๆ ของสภากาชาดไทยให้มีกิจกรรมบาเพ็ญประโยชนไ์ ด้อย่างต่อเนื่อง

3. เป้ำหมำย ตวั ชีว้ ดั เชงิ ปริมาณ 1. นกั เรยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 จานวน 3 คน 2. นกั เรียนระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 จานวน 2 คน ตวั ชีว้ ดั เชิงคณุ ภาพ 1. นักเรยี นระดับช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 และ 4 มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสูงข้นึ 2. นักเรียนระดับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 และ 4 มเี จตคตทิ ด่ี ใี นการเรียนวชิ าภาษาไทย 4. ขัน้ ตอนกำรดำเนนิ กิจกรรม ขั้นวำงแผน (Plan) - วเิ คราะห์พฤตกิ รรมและผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน - ศึกษาหลักสูตรและแนวคิดทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning - ออกแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรแู้ บบ Active Learning ขนั้ ดำเนินกำรตำมแผน (Do) วำงแผนและเตรียมกำร จัดกิจกรรมกำรเรยี นรูแ้ บบ Active Learning ประเมินผลกำรจดั กจิ กรรม ปรบั ปรุงและพัฒนำ รำยงำนผล/เผยแพร่

ขน้ั ตรวจสอบ (Check) กากับติดตามการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยคณะผู้บริหาร ผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก ผู้อานวยการ ส า นั ก ง า น บ ริ ห า ร กิ จ ก า ร เ ห ล่ า ก า ช า ด ผู้ อ า น ว ย ก า ร ส า นั ก ง า น ก ศ น . จั ง ห วั ด พิ ษ ณุ โ ล ก ผู้อานวยการ กศน.อาเภอชาติตระการ ขนั้ รำยงำนผลเพื่อปรับปรุงพัฒนำ (Action) - สรปุ และเขียนรายงานผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาภาษาไทยของนักเรยี นระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 และ 4 - วเิ คราะหผ์ ลผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาภาษาไทยรว่ มกนั เพอ่ื นาข้อมลู ไปวางแผนพัฒนาการจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้เพ่ือยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตอ่ ไป 5. ผลกำรดำเนนิ งำน การดาเนนิ การตามกระบวนการ Best Practice กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ Active Learning เพือ่ ยกระดับ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าภาษาไทยของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 พบว่า ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนนกั เรยี นให้ความรว่ มมอื การจดั กิจกรรมเปน็ อย่างดี บรรยากาศในการ เรียนการสอนเปลี่ยนไป นักเรียนกล้าแสดงความคิดเห็นมากข้ึน และรู้จักการทางานร่วมกัน สามารถแลกเปลย่ี น เรียนรู้และทาความเข้าใจต่อบทเรียนมากข้นึ สว่ นผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีเกิดขึ้นอาจต้องพัฒนาต่อไป เนอ่ื งจาก นักเรยี นกลมุ่ เดิมมีพัฒนาการทดี่ ขี น้ึ แต่ยังต้องการที่จะพัฒนาตวั เองต่อไป 6. บทเรียนท่ีไดร้ ับ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning เพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าภาษาไทย ของนกั เรียนระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 และ ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 เกิดบทเรียนทไ่ี ดร้ ับดงั นี้ 1. การจัดกิจกรรมการเรียนร้แู บบ Active Learning ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการเรียนร้กู ับนักเรียน นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การทางานรว่ มกัน นักเรียนสามารถยอมรับความสามารถของ แตล่ ะบุคคลทม่ี คี วามแตกต่างกนั 2. นักเรียนไดล้ งมือปฏบิ ัติจริงในการฝกึ ทกั ษะตา่ ง ๆ ด้านภาษาไทย เช่น การอ่าน การฟงั และการพูด การ เขยี น โดยนาองค์ความรทู้ ี่เกดิ จากตนเองท่ไี ดจ้ ากการคน้ ควา้ จากแหล่งขอ้ มลู ต่าง ๆ ท่หี ลากหลาย 4. บรรยากาศในห้องเรยี นเต็มไปด้วยความสนุกสนาน ไม่น่าเบ่ือ ไม่ต้องมาฟงั ครูบรรยายเพยี งอยา่ งเดียว ครสู ามารถนาความรูแ้ ละประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรยี นรรู้ ว่ มกบั นักเรียนจนเกิดองค์ความรู้ใหม่ ๆ 5. นักเรียนมีเจตคติท่ีดีในการเรียนภาษาไทย ให้ความร่วมมือในการทากิจกรรมต่าง ๆ ได้ดี ส่งงานครบ และตรงเวลา

7. ปัจจัยควำมสำเร็จ ปัจจัยทส่ี ง่ ผลตอ่ ความสาเรจ็ ของการดาเนนิ การ ได้แก่ ปัจจัยภำยนอก ได้แก่ ๑. คณะผู้บริหาร ผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก ผู้อานวยการสานักงานบริหารกิจการเหล่ากาชาด ผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดพิษณุโลก ผู้อานวยการ กศน.อาเภอชาติตระการ ครูใหญ่โรงเรียนตารวจ ตระเวนชายแดนบ้านลาดเรือ สนบั สนุนการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนเพือ่ ยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ๒. การมีสว่ นร่วมในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของครูประจาชั้นในระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4 ๓. ความพร้อมของสือ่ เทคโนโลยีในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ๔. ครผู ู้สอนมีการเตรยี มความพร้อมในการจดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ Active Learning ๕. ได้รบั คาแนะนาจากครูผู้มีความเช่ยี วชาญในการจดั การเรยี นการสอน ปัจจัยภำยใน ได้แก่ นกั เรยี นระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 และ ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 มีความรู้ความเขา้ ใจในหลักการใช้ ภาษาไทย มที กั ษะดา้ นการอ่าน การพูดและการฟงั และการเขยี นภาษาไทย มคี วามสามารถในการคดิ การทางาน รว่ มกัน เหน็ คุณคา่ และมเี จตคตทิ ่ีดใี นการเรยี นวชิ าภาษาไทย

ภาคผนวก

ภำพประกอบกจิ กรรมกำรเรยี นรูแ้ บบ Active Learning เพอื่ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนวิชำ ภำษำไทยของนักเรยี นระดับชั้นประถมศกึ ษำ

ภำพประกอบกจิ กรรมกำรเรยี นรูแ้ บบ Active Learning เพอื่ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนวิชำ ภำษำไทยของนักเรยี นระดับชั้นประถมศกึ ษำ

ภำพประกอบกจิ กรรมกำรเรยี นรูแ้ บบ Active Learning เพอื่ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนวิชำ ภำษำไทยของนักเรยี นระดับชั้นประถมศกึ ษำ

ภำพประกอบกจิ กรรมกำรเรยี นรูแ้ บบ Active Learning เพอื่ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนวิชำ ภำษำไทยของนักเรยี นระดับชั้นประถมศกึ ษำ

คณะทางาน ทปี่ รกึ ษา 1. นางพรสวรรค์ กนั ตง ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอชาติตระการ 2. นายรุ้งภูธร ภาศรี ครูชานาญการ 3. นางสาวชมพนู ชุ ลว้ นมงคล ครูผชู้ ่วย คณะทางาน บุญประกอบ ครอู าสาสมคั รฯ ฟองจางวาง ครู กศน.ตาบล 1. นางสาวประยรู 2. วา่ ทีร่ .ตหญิง สุธาสินี ครู กศน.ตาบล ผรู้ บั ผิดชอบ/ผู้เรียบเรียบ/ผจู้ ัดรูปเลม่ /ออกแบบปก 1. ว่าทร่ี .ตหญงิ สธุ าสนิ ี ฟองจางวาง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook