Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต

การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต

Description: การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต

Search

Read the Text Version

ภาคผนวก ๑ กลไกขับเคล่อื นการนอ้ มนำ�หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปสกู่ ารปฏิบตั ิจนเป็นวิถชี วี ิต 45 1.2 คณะกรรมการบริหารศูนย์อํานวยการปฏิบัติการขจัดความยากจน และพฒั นาชนบทตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งจงั หวัด (ศจพ.จ.) องคป์ ระกอบ 1) ผู้ว่าราชการจงั หวดั ผ้อู าํ นวยการ 2) รองผ้วู ่าราชการจังหวดั ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย รองผู้อาํ นวยการ 3) รองผ้อู ํานวยการรกั ษาความมน่ั คงภายในจงั หวดั กรรมการ 4) ปลัดจังหวดั กรรมการ 5) ผู้บังคับการตํารวจภูธรจงั หวดั กรรมการ 6) ผแู้ ทนหนว่ ยทหารในพื้นที่ กรรมการ 7) ผบู้ ริหารสถาบนั อดุ มศึกษาหรอื สถานศกึ ษาในพนื้ ท่ี กรรมการ ตามทีผ่ ูว้ า่ ราชการจังหวัดเหน็ สมควร ๘) หัวหน้าส่วนราชการ หนว่ ยงานรัฐวสิ าหกิจ กรรมการ ท่มี สี ํานกั งานตง้ั อยู่ในพื้นที่จงั หวัดตามท่ผี ู้ว่า ราชการจังหวดั เห็นสมควร จาํ นวน 10 – 15 คน 9) ผู้อาํ นวยการศูนย์ศกึ ษาการพัฒนา กรรมการ อนั เนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ (ถา้ มี) 10) นายอําเภอทกุ อาํ เภอ กรรมการ 11) ประธานหอการค้าจงั หวัด กรรมการ 12) ประธานสภาอตุ สาหกรรมจังหวดั กรรมการ 13) ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเทยี่ วจงั หวดั กรรมการ 14) ประธานชมรมธนาคารจงั หวดั กรรมการ 15) นายกองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั กรรมการ 16) ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวดั กรรมการ 17) นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตําบล กรรมการ ตามท่ีผู้ว่าราชการจงั หวดั เหน็ สมควร 1 คน 18) ประธานชมรมกาํ นนั ผใู้ หญบ่ ้านจงั หวดั กรรมการ 19) ผแู้ ทนองคก์ รพฒั นาเอกชน หรอื องคก์ รชุมชน กรรมการ ที่ผวู้ ่าราชการจงั หวัดเห็นสมควร จาํ นวนไม่เกิน 3 องคก์ ร

46 ภาคผนวก ๑ กลไกขบั เคล่ือนการน้อมน�ำ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปสกู่ ารปฏบิ ัติจนเป็นวถิ ชี ีวติ 20) ปราชญช์ าวบ้านด้านเศรษฐกิจพอเพียง กรรมการ ที่ผูว้ ่าราชการจงั หวดั เห็นสมควร กรรมการ จาํ นวนไมเ่ กิน 3 คน และเลขานกุ ารรว่ ม กรรมการ 21) หวั หน้าสาํ นักงานจังหวดั และเลขานกุ ารรว่ ม 22) พฒั นาการจงั หวัด กรรมการและ 23) เจา้ หนา้ ทขี่ องสํานักงานจงั หวดั , ผู้ชว่ ยเลขานกุ ารรว่ ม สาํ นักงานพัฒนาชมุ ชนจังหวดั , ท่ีทาํ การปกครองจงั หวดั และสํานักงานส่งเสริมการปกครองทอ้ งถิน่ จงั หวดั ที่ไดร้ ับมอบหมาย ออำ�ํานนาาจจหหนนา้ ้าทที่ ่ี 1) บริหารจัดการ กําหนดแนวทาง เพ่ือสนับสนุนการดําเนินงาน ต า ม ท่ี ศู น ย์ อํ า น ว ย ก า ร ข จั ด ค ว า ม ย า ก จ น แ ล ะ พั ฒ น า ช น บ ท ต า ม ห ลั ก ป รั ช ญ า ของเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงมหาดไทย กําหนด 2) บูรณาการแผนงาน โครงการ กิจกรรม และงบประมาณ ตลอดจนประสาน การดําเนินงานร่วมกับส่วนราชการ หน่วยงานเอกชน และภาคประชาชนเพ่ือให้เกิด การขบั เคลือ่ นการดาํ เนนิ ชวี ิตภายใตห้ ลกั ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง 3) กํากับ เร่งรัด ดูแล ตรวจสอบติดตามการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่าง ๆ และศูนย์อํานวยการปฏิบัติการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงในพืน้ ที่ 4) รายงานผลการดําเนินงาน ตลอดจนปัญหา/อุปสรรค ข้อขัดข้อง ให้ศูนย์อํานวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง กระทรวงมหาดไทยทราบทกุ ระยะ 5) ปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ตามท่ีผู้อํานวยการศูนย์อํานวยการขจัดความยากจน และพฒั นาชนบทตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กระทรวงมหาดไทย มอบหมาย

ภาคผนวก ๑ กลไกขับเคล่ือนการนอ้ มนำ�หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปส่กู ารปฏิบตั จิ นเป็นวถิ ชี วี ติ 47 3. คณะกรรมการบริหารศูนย์อํานวยการปฏิบัติการขจัดความยากจนและพัฒนา ชนบทตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอําเภอ (ศจพ.อ.) องค์ประกอบ 1) นายอาํ เภอ ผู้อํานวยการ 2) ปลดั อําเภอหวั หนา้ กลุ่มงานปกครองและพัฒนา รองผ้อู าํ นวยการ ๓) ผู้กาํ กบั การสถานีตํารวจภธู รอําเภอ กรรมการ 4) ผแู้ ทนหน่วยทหารในพนื้ ท่ี กรรมการ 5) ท้องถนิ่ อําเภอ กรรมการ 6) เกษตรอําเภอ กรรมการ 7) สาธารณสุขอําเภอ กรรมการ 8) ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาในพืน้ ทต่ี ามที่ นายอําเภอเห็นสมควร กรรมการ 9) ผอู้ ํานวยศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอ กรรมการ 10) หวั หนา้ สว่ นราชการหรือหนว่ ยงานรฐั วสิ าหกจิ กรรมการ ทม่ี ีสาํ นกั งานตัง้ อยใู่ นพื้นท่ี ตามทีน่ ายอาํ เภอเห็นสมควร 11) ผู้แทนภาคเอกชนในพนื้ ทต่ี ามท่ี นายอําเภอเหน็ สมควรกรรมการ 12) ผูแ้ ทนธนาคารในพนื้ ทต่ี ามทีน่ ายอําเภอเหน็ สมควร กรรมการ 13) นายกเทศมนตรที ุกแหง่ ในพน้ื ท่ี กรรมการ 14) นายกองค์การบรหิ ารส่วนตําบลทกุ แหง่ ในพืน้ ที่ กรรมการ 15) กาํ นนั ทกุ ตําบล กรรมการ 16) ปราชญช์ าวบ้านด้านเศรษฐกจิ พอเพยี ง ท่ีนายอาํ เภอเหน็ สมควร กรรมการ 17) ผู้แทนภาคประชาชนทน่ี ายอําเภอเห็นสมควร กรรมการ 18) พัฒนาการอําเภอ กรรมการ และเลขานกุ าร

48 ภาคผนวก ๑ กลไกขบั เคล่อื นการน้อมน�ำ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปสู่การปฏิบัติจนเป็นวถิ ีชวี ติ ออำ�าํนนาาจจหหนนา้้าทที่ ่ี 1) ส่งเสริม สนับสนุน และบูรณาการการดําเนินงานในพื้นที่เพ่ือให้ มีการขับเคล่ือน ก า ร ดํ า เ น ิน ช ีว ิต ภ า ย ใ ต้ ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ต า ม แ น ว ท า ง ท่ี ศู น ย์ อํานวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงมหาดไทย และศูนย์อํานวยการปฏิบัติการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจังหวดั กาํ หนด 2) บูรณาการแผนงาน โครงการ กิจกรรม และงบประมาณ ตลอดจนประสาน การดําเนินงานร่วมกับส่วนราชการ หน่วยงานเอกชน และภาคประชาชนในพื้นที่ เพ่ือให้เกิดการขับเคล่ือนการดาํ เนินชีวิตภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) รายงานผลการดําเนินงาน ตลอดจนปัญหา/อุปสรรค ข้อขัดข้อง ให้ศูนย์อํานวยการปฏิบัติการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งจังหวัดทราบทกุ ระยะ 4) ปฏิบัตงิ านอน่ื ๆ ตามทีผ่ ู้อํานวยการศนู ย์อาํ นวยการปฏิบัติการขจัดความยากจน และพฒั นาชนบทตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงจังหวัดมอบหมาย

ภาคผนวก ๒ กลไกขับเคลอื่ นการนอ้ มนำ�หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบตั จิ นเปน็ วิถชี วี ติ 49 2. หลักสูตรการฝึกอบรมครูฝึกระดับอาํ เภอและแนวทางการถ่ายทอด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปสูป่ ระชาชน ร่าง หลกั สตู รการฝกึ อบรมครฝู กึ ระดบั อาํ เภอ “การน้อมนําหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปสกู่ ารปฏราบิง ตั จิ นเปน็ วิถชี ีวติ ” (ท(หีศ่ ทลูนักศ่ียสศ นููตกึ รยษกาศ์าแรกึลฝะกษ2พอาฒับ9แรนมาลพคชะรมุฤฝู พชกษนรฒั ภะไ1ปดนา1สับคาูกอแาาํชมหรเงภปมุ อ–ฏ4ชบิ4“9นัตกรจิานุ รน1มนเๆปิถ1อนลมนุ วะนแาถิาํ1หีชหยวีลว่งนิตกันั ”ป422ร2ชั45ญ-6าร3ขุน่10องพเๆ)ศฤรษษลภฐาะกคจิ ม1พ2อ5วเพ6นั ีย0ง ) กิจกรรม วัตถุประสงค ประเด็น/เนอ้ื หา กระบวนการ วทิ ยากร/ ขอ แนะนํา สื่อ/อุปกรณ ๑ แนวนโยบาย เพ่ือใหต ระหนกั  ความสาํ คญั ประสานเชิญผูแทน  ผแู ทน มท./กรม/  เริ่มตนจาก ของรฐั บาลในการ ถงึ ความสาํ คัญ ของการนอ มนํา กระทรวงฯ/กรม ผอ.ศูนยศ กึ ษาฯ วดี ที ัศนก ระแส ขบั เคลือ่ นการนอมนํา เขาใจความเปนมา ปรัชญาของ สรางความสัมพันธ ไปพบปะและบรรยาย พระราชดาํ รัส ปรัชญาของเศรษฐกจิ และความจาํ เปน เศรษฐกจิ พอเพียง วทิ ยากรศูนยฯ และครฝู ก คลิปวดี ีทัศน คาํ กลาว พอเพียงไปสกู ารปฏบิ ัติ ทตี่ องขับเคล่อื นปรัชญา ไปประยกุ ตใช ทีมวทิ ยากร ศพช. กระแสพระราชดํารสั นายกรฐั มนตรี ของเศรษฐกิจพอเพียง  แนวนโยบาย เตรียมเคร่อื งมอื คําแถลงการณ รมว.มท. ของรฐั บาล และฉาย ppt. นายกรัฐมนตรี  ใหถาม/ตอบ  ppt.1 ไมเกิน 1 ชั่วโมง ๒ ปรชั ญาของ เพ่ือใหเขา ใจแกน ปรัชญาของเศรษฐกจิ เตรยี มเนื้อหาและบรรยาย ppt.2 ใหถาม/ตอบ เศรษฐกจิ พอเพียง ของปรัชญาของ พอเพียงและหลักการ โดยทีมวิทยากรศนู ยฯ ไมเ กนิ ๔๐ นาที และหลักการทรงงาน เศรษฐกจิ พอเพียง ทรงงาน คอื อะไร และหลักการทรงงาน ที่ตรงกัน ๓ การประยุกตใช เพ่อื ใหร ูและเขา ใจ รปู แบบวถิ ีชวี ิต เตรยี มเนอ้ื หา (คูมือบทที่ ๓) วิทยากรศนู ยฯ เริ่มจากวดี ทิ ศั น ในชีวติ ประจําวนั รูปแบบวิถชี ีวติ ตามปรชั ญาของ และบรรยาย เนื้อหาในคมู ือบทที่ ๓ นําเขาสูบทเรียน ตามปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง โดยทีมวทิ ยากรศูนยฯ วีดิทศั น ไมเ กนิ 1 ช่วั โมง เศรษฐกิจพอเพียง (รกู นิ รอู ยู รูใช, ๓๐ นาที และสามารถถายทอด การประกอบอาชีพ, ไปสรู ะดบั บุคคลและ การดาํ เนนิ ชีวิตและ ครวั เรอื น ทุกอาชีพ การแกไขปญ หาชวี ิต) ทกุ ฐานะเขาใจ การประยกุ ตใ ชปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง (ไมเฉพาะการเกษตร) ๔ ตวั อยางความสําเรจ็ เพ่ือใหไดพบรปู ธรรม ตวั อยางความสําเร็จ เตรียมเนอ้ื หาและบรรยาย  คมู ือ การเลา ของการนอ มนาํ ความสาํ เรจ็ ของผูท่นี อ มนํา หรอื เลาเร่อื ง  ppt./วดี ีทศั น ประสบการณ หลักปรัชญาของ จากประสบการณจริง ปรัชญาของเศรษฐกิจ โดยผูทีน่ อมนําปรัชญา  ปราชญชาวบา น ถาม/ตอบ เศรษฐกิจพอเพียง ในการนอ มนํา พอเพียงไปปฏิบตั ิ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดา นเศรษฐกจิ พอเพยี ง (เทียบกับหลัก/ ไปประยุกตใ ช ปรชั ญาของเศรษฐกิจ ไปปฏบิ ตั จิ นเปน วิถีชีวิต/ ในพน้ื ท่ี/ผนู ําชมุ ชน แกนของปรชั ญา พอเพียงไปปฏบิ ตั ิ ผูนาํ ชุมชน/ปราชญ ของเศรษฐกจิ อยางเปนรูปธรรม ชมุ ชน/หนว ยงานภาครัฐ/ พอเพียง คอื ภาคเอกชน/ นําไปใชอยางไร ฉายวีดทิ ศั น แกป ญหาอะไร หรอื แสดงผลงานรูปธรรม เกิดผลอะไร ของวิทยากร สอดคลองกบั หลักการใด)

50 ภาคผนวก ๒ หลกั สูตรการฝึกอบรมครูฝึก และแนวทางการถา่ ยทอด หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปสปู่ ระชาชน กิจกรรม วัตถุประสงค ประเด็น/เนือ้ หา กระบวนการ วิทยากร/ ขอแนะนาํ ส่อื /อปุ กรณ สรปุ ๕ การเตรยี มการ เพอ่ื ใหเ ขาใจและ การวางแผน แบงกลมุ ศกึ ษาข้ันตอน วิทยากรกระบวนการ และมอบภารกจิ ขบั เคล่ือนภารกิจ สามารถเตรียมการ เตรยี มการขับเคลื่อน ในคมู ือ และหลักสตู ร ของศนู ยฯ โดยการแบงกลมุ ยอย ขบั เคลอ่ื นฯ ในพ้ืนที่ ภารกจิ การนอ มนํา ในการถายทอดสูชมุ ชน ฟลิปชารท เพือ่ กําหนดขนั้ ตอน เพอ่ื ทาํ กิจกรรม ปรชั ญาของเศรษฐกจิ โดยศกึ ษารว มกัน ผแู ทนกลมุ ในการเพ่มิ จํานวนครฝู ก ต้ังปณธิ านของครูฝก พอเพียงไปสู จากเปาหมาย ภารกจิ เพลงประกอบ ระดบั ตําบลในพื้นที่ การปฏบิ ตั แิ ละ หลกั สูตรในหมบู าน/ ทีส่ รา งบรรยากาศ และการถา ยทอด กาํ หนดแนวทาง ชมุ ชน ตัวชว้ี ัด สูประชาชนในหมบู าน/ การประชาสมั พันธ แบบรายงาน จากคมู อื ชุมชน ระดมความคดิ เห็น สรุปแนวทางของกลมุ นาํ เสนอ แลกเปล่ียน เรียนรู ทาํ กจิ กรรมต้งั ปณธิ าน ครูฝก หมายเหตุ ครูฝก ระดบั อาํ เภอ อบรมครูฝก ระดับตําบล กลมุ เปา หมายอยา งนอยตองมีผแู ทนจากองคก รปกครองสว นทอ งถ่ิน กํานัน/ผใู หญบาน เจา หนาที่ปฏิบัติการระดับตาํ บลและผูน ําทมี่ ีประสบการณใ นชมุ ชน โดยไมกาํ หนดจํานวนคนและรนุ ใหเปนไปตามความเหมาะสมของจํานวน พน้ื ท่ีเปาหมาย ปฏิบัตกิ ารไดเสร็จทนั กาํ หนด

ภาคผนวก ๒ กลไกขับเคลือ่ นการน้อมน�ำ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปสู่การปฏิบัติจนเปน็ วิถชี ีวิต 51 รา ง แนวทางการถา ยทอดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสูป ระชาชนในหมบู าน/ชุมชนใหมีการปฏบิ ตั จิ นเปนวิถีชวี ติ กจิ กรรม วตั ถุประสงค ประเด็น/เนอ้ื หา กระบวนการ วิทยากร/ ขอ แนะนํา ส่อื /อปุ กรณ ๑ แนวนโยบาย เพอ่ื ใหต ระหนัก  ความสําคัญ ฝายปกครอง วดี ิทศั น ใหถาม/ตอบ ของรัฐบาลในการ ถึงความสาํ คัญ ของการนอมนาํ เตรียมสถานที่ ประชาชน ผูแทน ครูฝก ขบั เคลือ่ นการนอ มนํา เขา ใจความเปนมา ปรัชญาของ ในหมูบ าน/ชุมชน (ถา ไมสะดวกที่ตองใช ปรัชญาของเศรษฐกิจ และความจําเปน เศรษฐกิจพอเพียง ทีมครูฝกเตรียมเคร่ืองมอื อุปกรณ ครฝู ก ตอ งเลา พอเพียงไปสกู ารปฏบิ ตั ิ ทีต่ อ งขับเคลอ่ื นปรชั ญา ไปประยุกตใ ช และฉายวีดิทศั น เรยี บเรียงลาํ ดับใหกระชับ ของเศรษฐกจิ พอเพียง  แนวนโยบาย นาสนใจ เกิดความ ไปสกู ารปฏิบัติ ของรฐั บาล ตระหนกั ) (สรางความตระหนก ใหต ระหนกั ๒ ปรชั ญาของ เพือ่ ใหเขาใจแกน ปรชั ญาของเศรษฐกจิ เตรยี มเน้อื หา  ครฝู ก ต้งั คาํ ถามใหโดน เศรษฐกจิ พอเพียง ของปรัชญาของ พอเพียงและหลักการ และบรรยายโดยทีมครฝู ก  แผน พับ วิกฤตชีวติ และหลกั การทรงงาน เศรษฐกิจพอเพียง ทรงงาน ฉายสอ่ื มัลติมีเดยี  ppt. ทไ่ี ดแกไข คอื อะไร และหลกั การทรงงาน จากสวนกลาง ทตี่ รงกนั (ถามีอปุ กรณพ รอม) ๓ การประยุกตใช เพ่ือใหรแู ละเขาใจ รปู แบบวิถชี ีวิต เตรียมเนอื้ หา ภาพตัวอยาง วทิ ยากรศนู ยฯ ในชวี ติ ประจําวนั และ วิถชี วี ิตตามปรัชญา ตามปรชั ญาของ และบรรยายโดยทมี ครูฝก ppt. เนอ้ื หาในคูม ือ ตัวอยา งความสําเรจ็ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพียง เลา ตวั อยาง (อาจเพิ่มเติม ตัวอยางจรงิ บทที่ ๓ ของการนอ มนํา และสามารถ (รูกนิ รอู ยู รูใช, นอกจากคมู อื ) วสั ดุ เครอื่ งมือ วดี ทิ ศั น หลกั ปรชั ญาของ ประยกุ ตใช การประกอบอาชีพ, นาํ ตัวอยางจรงิ ในพื้นที่ ผลผลิต จริงของปราชญ เศรษฐกิจพอเพียง ในชีวติ ประจําวนั การดาํ เนนิ ชวี ิตและ มาเลา ตัวชีว้ ัด ไปประยุกตใ ช เนน ทีร่ ะดบั บคุ คล การแกไขปญ หา เลา เรือ่ งโดยปราชญ และครัวเรอื น ชีวิต) หรือผูท่ีนอมนําหลกั ทกุ อาชีพ ทุกวัย ตัวอยางความสําเรจ็ ปรัชญาของเศรษฐกจิ ทุกฐานะ (ไมเ ฉพาะ ของผทู ีน่ อมนํา พอเพียงไปประยุกตใช ทําเกษตร) ปรชั ญาของ จนเปนวิถชี ีวติ คือ เพ่ือใหไดพบรูปธรรม เศรษฐกจิ พอเพียง ไดน าํ ไปใชอยา งไร ความสาํ เรจ็ จากการ ไปปฏิบตั ิ หรอื แกปญ หาอะไร นอมนําหลกั ปรัชญา เกดิ ผลอยา งไร ของเศรษฐกจิ พอเพียง สอดคลอ งกบั หลักการใด ไปใชจ นเปนวถิ ชี ีวิต ของหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง ๔ การนอมนํา เพอ่ื สรางแรงจูงใจ การทาํ ความดี ชวนคดิ ชวนคุย  ทีมครูฝก หลักปรชั ญาของ ใหนอมนําไปปฏบิ ัติ ตามคาํ พอสอน คาํ ถามโดนใจ เชน  ปราชญชาวบาน เศรษฐกจิ พอเพียง ในชีวิตประจําวนั เพื่อถวายเปน 1) ต้งั แตในหลวงสวรรคต ดา นเศรษฐกิจพอเพียง ไปสกู ารปฏิบัติจนเปน จนเปน วถี ชี ีวิต พระราชกศุ ล เราไดท ําดหี รือทําตามพอ ในพ้นื ท่ี วถิ ชี ีวติ เพอื่ ถวายความดี - ไดส ัญญาประชาคม สอนอะไรแลว บา ง  พิธีการ แสดงความ เปนพระราชกุศล ของหมบู าน/ชุมชน 2) ในวิถชี ีวติ แตละวัน จงรกั ภกั ดี ของเราจะเอาคําสอน  แบบประเมนิ ตนเอง กจิ กรรม วัตถุประสงค ประเดน็ /เนื้อหา ขไดอบ งพากงอรมฯะลาบใฯวชนอ) กยาา งรไร (Cheวcิทkยlisาtก/รG/uideline) ขอ แนะนํา 3) เราจะทาํ สญั ญา  แบบสรื่อา/ยองุปากนรณ ประชาคมตอ เวทีหมบู า น/ ชมุ ชนเพือ่ ทาํ ดถี วาย เปน พระราชกศุ ล ในดา นใด (เชน จะประกาศตนเอง เปนหมบู าน/ชมุ ชน........) หเขม้าามยาเสหอตบกหุ อถามาราาจมดยมําอเเเหยบนีย่ตพินมุนังอเยธาาะนียจสนทมญั ีมอกญปรบาะฏพต(บิกันุ้นาัตธเรปกิะบน็สาา้ รนรญั ตะ)ญยาํจบะดัาทลเ(พ�ำกเขแื่อาผา รสนมบรคา้าารสงนวักอเ)รรบอจะื ถนแัดาสพทมคอําวเแเพายผยีม่ียนงตมคอ่ตเรงย้ัเนปัวยี ่ือณเนรงธิอื ากหนนรรพทะอื �ำอตเชดเุนถพีญิ เวียปผางบู้นยพรตรหิอ่ะ้ังาปยแระณบลบงเธิ พพปาื่อนน้ืระสททเรมีส่าํ านิรดงา้ตถี กงนวกรเาาอะยรงแพปสแรอบคะบวชแาราบามสยบตมั งปอพานรเันนะผธเอื่ลใ์มกหงินาต้ หรต่อดรนเ�ำือนเเอนเอ่ื ชนิงงญิ งแาผนบูบบทรรมีหิ าปายฏรงบิลาตังนกิพผา้ืนลรทต�ำ่ี บล สรางการประชาสัมพันธใหตอเน่ือง

52 ภาคผนวก ๓ แบบประเมินตนเองของครวั เรือน และหมู่บา้ น/ชมุ ชน 3. แบบประเมินตนเอง (Checklist/Guideline) ของครัวเรือนและหมู่บ้าน/ชุมชน ในการนอ้ มนาํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏบิ ัติ 3.1 แบบประเมินตนเอง (Checklist/Guideline) ของครวั เรือนในการนอ้ มนาํ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปสกู่ ารปฏิบตั จิ นเปน็ วถิ ชี ีวติ กจิ กรรม เปรยี บเทยี บ ๑ ด้านเศรษฐกจิ กอ่ นดําเนนิ การ หลังดาํ เนนิ การ  ทําบญั ชีรายรับ - รายจ่าย  อย่างสมํา่ เสมอ   วางแผนการใชจ้ ่าย   และจดั สรรค่าใชจ้ า่ ยตามความเหมาะสม  ออมเงนิ ไวใ้ ช้ยามฉุกเฉินจาํ เปน็   มกี จิ กรรมลดรายจ่าย เพิ่มรายได้  ๒ ดา้ นการดํารงชีวติ  มีความสขุ พอใจกบั ชวี ิตท่เี ปน็ อยู่  มคี วามรัก ความอบอุ่น  มกี จิ กรรมร่วมกนั ในครอบครวั  มีสขุ ภาพกายและใจดี ประกอบสมั มาชีพ   ดาํ รงชวี ติ ดว้ ยความขยนั หมั่นเพยี ร ประหยัด และซื่อสตั ย์สุจรติ สมาชกิ ในครวั เรือนไมเ่ กย่ี วข้อง กับยาเสพตดิ และอบายมขุ อ่ืน ๆ มีการวางแผนในการดาํ เนนิ ชวี ติ พดู คยุ แลกเปลยี่ นความคิดเห็น กนั ในครวั เรอื น ใช้เหตุผลประกอบการตดั สินใจ เปน็ แบบอย่างทด่ี ขี องครอบครวั / บคุ คลทัว่ ไป

ภาคผนวก ๓ แบบประเมินตนเองของครวั เรอื น และหมู่บ้าน/ชุมชน 53 กจิ กรรม เปรยี บเทยี บ ๓ ด้านการบริหารจัดการทรพั ยากร กอ่ นดาํ เนนิ การ หลงั ดาํ เนนิ การ ผลติ อาหารทีป่ ลอดภัยไว้บริโภค   ในครวั เรอื น  นาํ ทรัพยากรท่เี หลือใช้ มาสร้างความคมุ้ ค่า มีการเรียนร้แู ละนําภูมิปัญญาท้องถิน่ มาใชป้ ระโยชนใ์ นการดําเนนิ ชวี ิต คะแนนรวม หมายเหตุ 1. ครัวเรอื นประเมนิ ตนเองก่อนและหลงั การน้อมนําหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบตั ิ 2. กาเคร่ืองหมาย  ในกจิ กรรมท่ดี ําเนนิ การ 3. ในการประเมินตนเองมีคะแนนเตม็ 15 คะแนน (กจิ กรรมละ 1 คะแนน) โดยตอ้ งมกี ารทํากิจกรรมครบท้ัง 3 ด้าน และไดค้ ะแนนรวมไมต่ ่าํ กว่า 9 คะแนน (รอ้ ยละ 60) จึงจะผ่านการประเมนิ

54 ภาคผนวก ๓ แบบประเมนิ ตนเองของครัวเรอื น และหมู่บ้าน/ชมุ ชน 3 ๓..๒2 หแแหบบลลบกับกั ปปปปรรรระัชะชั เเญญมมินนิาาขตตขนอนองเเงออเเศศงงรร((ษCษCฐhฐhกeกeจิcจิckพkพllอiอissเtเtพ/พ/GGยียี uuงงiไไiddปปeeสสlliกู่กู่innาาeeรร)ป)ปขขฏฏออบิบิ งงัตตัหหจิจิมมนนู่บบู่ เเ้าา้ปปนนน็น็ //ววชชถิถิุมมุ ชีชีชชวีีวนนติติใในนกกาารรนนออ้้ มมนน�ำํา เปรียบเทยี บ กจิ กรรม กอ่ นดาํ เนนิ การ หลังดําเนนิ การ ๑ ดา้ นเศรษฐกจิ  สนับสนนุ ครวั เรอื นใหม้ กี ารออม    ครัวเรอื นมีการประกอบอาชพี  โดยคํานึงถงึ ศักยภาพและทรัพยากร ในหม่บู า้ น/ชมุ ชน  มกี ารสรา้ งงานในหมู่บ้าน/ชุมชน   เพอื่ ลดการอพยพแรงงาน    หมู่บา้ น/ชุมชนเขม้ แขง็ พงึ่ พาตนเองได้ มพี ลังในการพฒั นา และแก้ไขปัญหา ในพืน้ ทไ่ี ด้ด้วยตนเอง และมีการพัฒนา หม่บู ้าน/ชุมชนอยา่ งตอ่ เนื่อง ๒ ด้านสนบั สนนุ การมีส่วนรว่ ม มีการรวมกลมุ่ และองคก์ รที่เข้มแข็ง   ในชุมชน   มีเ ว ที/ กิจกรรมการ แลกเปลี่ย น ความคดิ เหน็ องคค์ วามรใู้ นหมบู่ า้ น/ชุมชน มแี กนนําหม่บู า้ น/ชมุ ชน ปราชญ์ชาวบ้าน/   ชุมชน นักวจิ ยั ชมุ ชนเขม้ แขง็  มีเครือขา่ ยการพฒั นาทรี่ ว่ มมอื ชว่ ยเหลอื แบ่งปนั กนั มีการจัดทาํ แผนพัฒนาหมู่บ้าน/   ชุมชน มคี วามสามคั คีและความร่วมมอื   ของคนในหมบู่ า้ น/ชุมชน กจิ กรรม เปรยี บเทยี บ กอ่ นดําเนนิ การ หลังดาํ เนนิ การ

ภาคผนวก ๓ แบบประเมินตนเองของครวั เรือน และหมบู่ า้ น/ชมุ ชน 55 กจิ กรรม เปรยี บเทยี บ ๓ ดา้ นศกั ยภาพหมบู่ า้ น/ชุมชน กอ่ นดาํ เนนิ การ หลังดาํ เนนิ การ มีฐานข้อมูลหมู่บ้าน/ชุมชนที่จัดเก็บ  เป็นระบบ ท้ังทุนทางสังคม เศรษฐกิจ  และทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม  มศี นู ยเ์ รยี นรู/้ แหลง่ เรยี นรู้  และมีวทิ ยากรท่พี รอ้ มถ่ายทอด องค์ความรู้  คนในหมบู่ า้ น/ชมุ ชนมีความเออื้ อาทร   แบง่ ปันกนั มีจติ สาธารณะ  สามคั คี ร่วมพฒั นาหมบู่ ้าน/ชมุ ชน  อยา่ งตอ่ เนอื่ ง  อนุรกั ษแ์ ละต่อยอดภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ และสืบทอดวฒั นธรรม ประเพณที อ้ งถน่ิ จากรุ่นสรู่ ่นุ บรหิ ารจดั การและอนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของหมบู่ ้าน/ชมุ ชนอย่างยง่ั ยนื สมาชิกในชมุ ชนเข้าถงึ บริการสุขภาพทด่ี ยี ามเจ็บปว่ ย ปลอดอบายมุข คน้ หาและใชภ้ มู ปิ ัญญา ในการสรา้ งคณุ ค่า รวบรวมและจัดทําเอกสาร เพ่อื การเผยแพร่ความรู้ ๔ การบรหิ ารจัดการทรัพยากร มีการใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม กบั หมบู่ า้ น/ชมุ ชน คะแนนรวม

56 ภาคผนวก ๓ แบบประเมินตนเองของครวั เรอื น และหมูบ่ า้ น/ชมุ ชน หมายเหตุ 1. หมูบ่ า้ น/ชุมชมุ ประเมินตนเองกอ่ นและหลงั การนอ้ มนําหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปฏิบตั ิ 2. กาเคร่อื งหมาย  ในกจิ กรรมที่ดําเนนิ การ 3. ในการประเมนิ ตนเองมคี ะแนนเตม็ 20 คะแนน (กจิ กรรมละ 1 คะแนน) โดยตอ้ งมกี ารทาํ กจิ กรรมครบทง้ั 3 ดา้ น และไดค้ ะแนนรวมไม่ตํา่ กวา่ 12 คะแนน (รอ้ ยละ 60) จงึ จะผา่ นการประเมนิ

ภาคผนวก ๔ แบบรายงานผลการด�ำ เนนิ งานของจงั หวัดและอำ�เภอ 57 4. แบบรายงานผลการดําเนินงานของ ัจงห ัวดและอําเภอ

58 ภาคผนวก ๔ แบบรายงานผลการดำ�เนินงานของจงั หวดั และอำ�เภอ

บรรณานกุ รม 59 บรรณานกุ รม คำ�กลา่ วปาฐกถาของพลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นายกรฐั มนตรีในพิธีเปดิ การประชุม G๗๗ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ัณฑติ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เม่ือวันท่ี ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๑๖ พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บณั ฑติ ของจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั เมอ่ื วันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๖ พระบรมราโชวาทพระราชทานแกบ่ ัณฑติ ของมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๒ มิถุนายน ๒๕๒๐ มูลนิธสิ ถาบนั วิจยั และพฒั นาประเทศตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง. บทเรียนการขับเคลือ่ นหลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งโดยองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ . กรงุ เทพฯ : ๒๕๕๘. สถาบันส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ. ความรจู้ ากการปฏบิ ัติ ของครูภมู ิปัญญาแหง่ ลุ่มนํ้ายาวจงั หวัดนา่ น. กรุงเทพฯ : ๒๕๕๙. สำ�นกั งานกองทุนสนับสนนุ การวจิ ยั . เศรษฐกจิ พอเพยี ง ร่วมเรียนรู้ สานขา่ ย ขยายผล. กรงุ เทพฯ : ๒๕๔๙. ส�ำ นักงานกองทนุ สนับสนุนการวิจยั เศรษฐกจิ พอเพยี ง. รว่ มเรยี นรู้ สานขา่ ย ขยายผล. กรงุ เทพฯ : ๒๕๔๙. ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ ตามรอยพระราชด�ำ รสิ ู่ “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”. กรุงเทพฯ. ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและการประยกุ ตใ์ ช.้ กรุงเทพฯ : ๒๕๖๐. ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สู่การปฏิบัต.ิ ..กวา่ ๑ ทศวรรษ. กรุงเทพฯ : ๒๕๕๕. สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพอื่ ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำ ร.ิ การบริหารธุรกิจ ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง. กรุงเทพฯ : ๒๕๕๕. ส�ำ นักงานคณะกรรมการพิเศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำ�ร.ิ คมู่ อื ตัวอย่างความส�ำ เร็จ การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ประเภทธุรกิจขนาดกลาง. ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำ ริ. ตวั อย่างความส�ำ เร็จ : เกษตรกรในโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชด�ำ ร.ิ กรุงเทพฯ : ๒๕๕๘. ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั . ร่วมเรยี นรู้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และเกษตรทฤษฎใี หม่เพือ่ การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื . กรุงเทพฯ. สำ�นกั พระราชวงั . หลักการทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร.

60 คณะผู้จัดทำ� คณะผู้จัดทำ� ท่ีปรึกษา ปลัดกระทรวงมหาดไทย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย นายกฤษฎา บุญราช อธบิ ดีกรมการพฒั นาชมุ ชน นายประยูร รตั นเสนีย ์ ผตู้ รวจราชการกระทรวงมหาดไทย นายอภิชาติ โตดิลกเวชช ์ รองอธบิ ดกี รมการพัฒนาชุมชน นางสายพริ ณุ น้อยศริ ิ ผชู้ ่วยปลัดกระทรวงมหาดไทย นายทวีป บตุ รโพธิ ์ ผู้อ�ำ นวยการสำ�นักนโยบายและแผน นายสมคดิ จนั ทมฤก ส�ำ นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ผู้อำ�นวยการกล่มุ งานส่งเสริมการบริหารจัดการชมุ ชน คณะท�ำ งาน สำ�นักเสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ชมุ ชน กรมการพฒั นาชุมชน ผอู้ �ำ นวยการกลมุ่ งานประสานการพฒั นาพน้ื ทต่ี ามพระราชด�ำ ริ นายทรงกลด สวา่ งวงศ์ สำ�นักนโยบายและแผน สำ�นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย หวั หน้ากลุม่ งานประสานการพัฒนาพ้นื ทต่ี ามพระราชดำ�ริ นายจำ�เรญิ แหวนเพ็ชร ส�ำ นกั นโยบายและแผน ส�ำ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำ นาญการ นายภมู วิ ัชร์ อุดมทรพั ย์ กลุ่มงานประสานการพฒั นาพื้นที่ตามพระราชด�ำ ริ สำ�นกั นโยบายและแผน สำ�นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย นางสาวนภัสวรรณ ภู่เจริญ นางสาวพลอยกมลวัน ธัญญสญั ชัย