Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตามรอยพระราชดำริสู่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ตามรอยพระราชดำริสู่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Description: ตามรอยพระราชดำริสู่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

อนึ่ง องค์ประกอบทั้งสามประการของ “ความพอเพียง” 93 มีความสัมพันธ์เช่ือมโยงระหว่างกันอย่างเป็นระบบ กล่าวคือ ตามรอยพระราชดำ ิร ความมีเหตุผลจะเป็นพื้นฐานของอีกสององค์ประกอบคือ ความ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” พอประมาณและการมีภูมิคุ้มกันในตัว ความมีเหตุผลจะเป็น กระบวนการเสริมสร้างให้ความพอใจเป็นไปแต่โดยพอประมาณ เพ่ือไม่ให้เกิดการกระทำที่เกินพอดีหรือน้อยไปหรือเกิดอคติจน เกินขนาด และทำให้การตัดสินใจกระทำ อยู่ในขอบเขตที่พอเพียง ในขณะท่ีความพอประมาณจำเป็นต้องมีระดับมากพอที่จะสร้าง ภมู คิ มุ้ กนั เพอื่ เปน็ ปจั จยั เสรมิ สรา้ งใหก้ ารดำเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ เปน็ ไป อยา่ งมเี หตผุ ลทงั้ ในปจั จบุ นั และอนาคต อยา่ งไรกต็ าม ความมเี หตผุ ล ตอ้ งมรี ะดบั ทสี่ ามารถปรบั เปลย่ี นไปไดต้ ามความรแู้ ละประสบการณ์ การรบั ร้แู ละการตัดสนิ ใจของผู้ปฏบิ ตั ิ (การกระทำของแตล่ ะบคุ คล) ซ่ึงมีลักษณะแตกต่างกันไปตามศักยภาพ โอกาส สภาพสังคม สง่ิ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรมของแตล่ ะบคุ คล เชน่ ภมู หิ ลงั ของครอบครวั การอบรมบม่ นสิ ยั เปน็ ตน้ ผปู้ ฏบิ ตั ติ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตอ้ งปฏบิ ัตติ าม “เง่อื นไข” ความรอบรู้ และคณุ ธรรมทั้งสองขอ้ ดว้ ย โดยจะต้องเป็นผู้ที่มีความรอบรู้และคุณธรรมคู่กันอย่างสมดุล หากขาดขอ้ ใดขอ้ หนงึ่ แลว้ จะทำใหก้ ระบวนการตดั สนิ ใจผดิ พลาดได้ เชน่ ถา้ มคี วามรอู้ ยา่ งเดยี วแตน่ ำความรไู้ ปใชใ้ นทางมชิ อบ กส็ ามารถ นำความเสียหายมาสู่ตนเองและสังคมได้ ในลักษณะเดียวกันถ้ามี คณุ ธรรมแตข่ าดความรกู้ อ็ าจตดั สนิ ใจอยา่ งรเู้ ทา่ ไมถ่ งึ การณ์ กอ่ ใหเ้ กดิ ผลเสียหายได้เช่นเดียวกัน ผู้ปฏิบัติที่มีความรอบรู้และคุณธรรม คู่กันตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จะทำให้การตัดสินใจและ

กระทำการใดๆ เปน็ ไปอยา่ งพอประมาณ มเี หตผุ ลและเกดิ ภมู คิ มุ้ กนั ทด่ี ี ในตัวเองได้ จากการวิเคราะห์ความหมาย “ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง” สรปุ ไดว้ า่ หลกั การ “ความพอเพยี ง” จะตอ้ งประกอบดว้ ย คุณลักษณะ ๓ ประการพร้อมๆ กัน ได้แก่ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล และภมู คิ มุ้ กนั ในตวั ทด่ี ี รวมทง้ั ไดก้ ำหนด คณุ สมบตั ิ ของผู้ปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จำเป็นต้องเป็นผู้มี ความรอบรู้ในวิชาการต่างๆ รอบคอบในการเชื่อมโยง และ มคี วามระมดั ระวงั ในการนำความรไู้ ปใช้ รวมทง้ั เปน็ ผทู้ มี่ คี ณุ ธรรม ในจิตใจ และมีการกระทำที่เน้นความซื่อสัตย์ ความอดทน และ ความเพียร องค์ประกอบท้ังสามประการ มีความสัมพันธ์เช่ือมโยง ระหว่างกันอย่างเป็นระบบ รวมท้ังผู้ปฏิบัติต้องประกอบด้วยความ รอบรู้ และคุณธรรมทง้ั สองข้อ อีกดว้ ย 94 ตามรอยพระราชดำ ิร ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง”

แนวคดิ หลัก 95 เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ ปรชั ญาชถี้ งึ แนวการดำรงอยแู่ ละปฏบิ ตั ติ นของประชาชน ตามรอยพระราชดำ ิร ในทกุ ระดบั ตง้ั แตร่ ะดบั ครอบครวั ระดบั ชมุ ชนจนถงึ ระดบั รฐั ทง้ั ในการพฒั นา ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” และบรหิ ารประเทศใหด้ ำเนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพื่อกา้ วทนั ตอ่ โลกยคุ โลกาภิวัตน์ เป้าหมาย เพ่ือให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับ การเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ และกวา้ งขวาง ทงั้ ดา้ นวตั ถุ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรม จากโลกภายนอกไดเ้ ป็นอย่างดี หลักการ ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถงึ ความจำเปน็ ทจี่ ะตอ้ ง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี พอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการ เปล่ียนแปลงทง้ั ภายนอกและภายใน คุณสมบัติของผ้ปู ฏิบตั ิ • อาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างย่ิงในการนำ วชิ าการต่างๆ มาใชใ้ นการวางแผน และการดำเนนิ การทกุ ขนั้ ตอน • เสรมิ สรา้ งพน้ื ฐานจติ ใจของคนในชาติ ใหม้ สี ำนกึ ในคณุ ธรรม ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มสี ติ ปัญญา และความรอบคอบ ทีม่ า: ปรับปรุงจากหนังสือ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับสังคมไทย, ศูนย์ศึกษา เศรษฐกจิ พอเพยี ง สถาบนั บณั ฑติ พฒั น บรหิ ารศาสตร,์ หนา้ ๘๙ และเอกสาร แนวทาง การขบั เคลอ่ื นปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา, สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา ประถมศึกษาขอนแกน่ เขต ๑.

พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๐-๒๕๓๙ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวทรงสาธิตแนวทางแกป้ ญั หา ทรัพยากรธรรมชาติ น้ำ ดิน ปา่ เพ่อื เปน็ แนวทางการช่วยเหลือ และแกไ้ ขปัญหาที่ทำใหร้ าษฎรมีพออยูพ่ อกนิ และสามารถพง่ึ ตนเองได้

บทที่ ๖ สวู่ ิถชี วี ิตพอเพยี ง เตรียมความพรอ้ มก่อนการประยุกตใ์ ช้ 97 ตามรอยพระราชดำ ิร ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้แนวทาง ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” การดำรงอยแู่ ละการปฏบิ ตั ติ นของประชาชนในทกุ ระดบั ตง้ั แตร่ ะดบั ปจั เจก ครอบครวั ชมุ ชน และรฐั ทง้ั ในการพฒั นาและบรหิ ารใหด้ ำเนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจให้ก้าวทันโลก ยุคโลกาภิวัตน์ การน้อมนำไปประยุกต์ใช้อาจจะต้องพิจารณา ทำความเข้าใจในประเดน็ สำคัญ ๔ ประเด็น๕ ได้แก่ ๑) เป้าประสงค์ ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีไว้ใช้ทำอะไร ๒) คำว่า “ความพอเพยี ง” มอี งคป์ ระกอบอะไร และหมายถงึ อะไร ๓) ถา้ จะ นำไปใช้ ผู้ปฏิบัติต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง และ ๔) เม่ือทำตาม ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงแลว้ จะไดอ้ ะไร ประเด็นที่ ๑ เป้าประสงค์ของปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใช้เป็นหลักคิดและหลัก ปฏิบัติเพื่อสร้างความเข้มแข็งในอันท่ีจะรับมือกับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง เป็นการเตรียมความเข้มแข็งให้กับตนเอง ๕ มลู นธิ สิ ถาบนั วจิ ยั และพฒั นาประเทศตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง. การปาฐกถา พิเศษ เร่ือง แนวทางการสร้างมาตรฐานการศึกษาและฝึกอบรมเกี่ยวกับปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง “จากการปฏิบตั สิ ู่มาตรฐาน” โดย ศ.นพ.เกษม วฒั นชยั , เม่อื วันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๔

ใหก้ บั ครอบครัว ชุมชน และประเทศ “การเตรยี มความเข้มแขง็ ” น้ี มีความหมายเดียวกันกับ “การสร้างภูมิคุ้มกัน” ถ้าโลกไม่มีการ เปลี่ยนแปลงก็ไม่จำเป็นต้องใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาให้เพ่ือรับมือกับผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง จึงเป็น ปรชั ญาเพอ่ื ใชช้ แี้ นวทางการดำรงอยขู่ องประชาชนและการปฏบิ ตั ติ น ในทุกระดับ ครอบครัว ชุมชน รัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารให้ ดำเนินไปในทางสายกลาง ซ่ึงเป็นคำท่ีสำคัญท่ีสุด ทางสายกลาง คอื ไมส่ ดุ โตง่ ไปทางมากหรอื นอ้ ย และสำคญั คอื เปา้ หมายตอ้ งกา้ วทนั โลกยุคโลกาภวิ ัตน์ ประเด็นที่ ๒ ความพอเพยี งคอื อะไร ความพอเพียงหมายถึง ๑) ความพอประมาณตามอัตภาพ ส่ิงที่คนไทยเยาวชนไทยจะต้องตระหนัก คือ ความพอประมาณ 98 ตามอัตภาพ กล่าวคือ “เราอยู่ในอัตภาพอะไรในขณะท่ีตัดสินใจ” ตามรอยพระราชดำ ิร ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหน้ กึ ถึงความพอประมาณ ตามอตั ภาพในขณะทตี่ ดั สนิ ใจ เปน็ ทางสายกลาง สมดลุ ไมม่ ากเกนิ ไป ไมน่ อ้ ยเกนิ ไป ฉะนน้ั การพดู จาพอเพยี ง ทำอะไรพอเพยี ง ปฏบิ ตั ติ น พอเพยี ง ในลกั ษณะนี้ พอเพยี งคอื พอประมาณ พอเพยี งในความคดิ พอเพียงในการพูดจา พอเพียงในการกระทำ ๒) ความมีเหตุผล การตัดสินใจทุกอย่างนอกจากพอประมาณแล้วยังต้องมีเหตุผลด้วย ทั้ง เหตุผลตามหลักวิชา เหตุผลตามกฎเกณฑ์สังคม เหตุผลตาม หลักกฎหมาย เหตผุ ลตามหลกั ศลี ธรรม เป็นตน้ ในการตัดสนิ ใจต้อง มีเหตุผล ต้องอธิบายได้ตามหลักเหตุผล กล่าวคือ พอประมาณ

อยา่ งมเี หตผุ ล ความมเี หตผุ ลจะทำใหต้ ดั สนิ ใจทำสงิ่ ใดๆ อยใู่ นขอบเขต 99 ทพ่ี อเพยี งพอประมาณ ไมม่ ากเกนิ ไป ไมน่ อ้ ยเกนิ ไป และ ๓) ความมี ตามรอยพระราชดำ ิร ระบบภมู คิ มุ้ กนั ในตวั ทด่ี ี หมายถงึ การเตรยี มตวั ใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปล่ียนแปลงด้านต่างๆ การสร้างระบบ ภูมิคุ้มกันตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมี ๔ ด้านด้วยกัน คือ ด้านวัตถุ สังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม ภูมิคุ้มกันด้านวัตถุ หมายถงึ ดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ นการเงนิ ดา้ นทรพั ยส์ นิ ดา้ นสงั คม หมายถงึ ด้านคุณธรรม ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านสิ่งแวดล้อมก็คือ ด้านนโยบาย นโยบายพลังงาน นโยบายขยะ นโยบายสีเขียว ด้านวัฒนธรรม คือวิถีชุมชน ภาษา เป็นต้น ให้แต่ละคนกำหนด เป้าหมายและตัวช้ีวัดว่า ในแต่ละปีจะทำแค่ไหน แล้วประเมินผล การปฏิบัติตามนั้น จะเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้บวกไปเรื่อยๆ จนภมู ิคุ้มกันในตวั เองกจ็ ะเขม้ แข็งข้นึ มา ท้ังน้ีในการตัดสินใจกระทำสิ่งใดๆ จำเป็นต้องพิจารณา ความเชอ่ื มโยงสมั พนั ธพ์ รอ้ มกนั ไปทงั้ สามองคป์ ระกอบดว้ ย กลา่ วคอื มีความพอประมาณในระดับท่ีมากพอจะสร้างระบบภูมิคุ้มกัน ในตัวเองได้ มีเหตุผลท่ีอธิบายได้ในการเลือกกระทำในขนาดที่ พอประมาณนั้น และมีการเตรียมตัวให้พร้อมเสมอ โดยในแต่ละ กิจกรรมจะตัดสินใจอย่างมีเหตุผลและมีความพอประมาณ ซ่ึงเป็น การสร้างภมู คิ ้มุ กนั ใหต้ ัวเองทัง้ ในปจั จุบนั และอนาคต อยา่ งเป็นระบบ ประเด็นที่ ๓ การนำไปใช้ ผู้ปฏิบตั ติ ้องเตรียมตวั อยา่ งไรบา้ ง ถา้ จะนำเอาปรชั ญาฯนไ้ี ปใช้ ผปู้ ฏบิ ตั ติ อ้ งคำนงึ ถงึ เงอื่ นไขสามประการ

ตามรอยพระราชดำ ิรที่สำคญั คือ เงื่อนไขดา้ นความรู้ เง่อื นไขดา้ นคุณธรรม และเง่อื นไข ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง”ด้านการใชช้ วี ติ เง่ือนไขแรก “ความรู้” ผู้ปฏิบัติต้องนำเอาความรู้ หลักวชิ าการตา่ งๆ มาใช้อย่างรอบคอบ รอบรู้ โดยระมัดระวัง ทงั้ ใน การวางแผน และการดำเนินการทุกขั้นตอน เป็นการบริหารโดยใช้ วิชาความรู้เป็นฐานในการปฏิบัติงานต่างๆ (Knowledge Based Management) เงอื่ นไขทสี่ อง “คณุ ธรรม” ตอ้ งเสรมิ สรา้ งพน้ื ฐานดา้ นจติ ใจ ของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั นกั ทฤษฎี นกั ธรุ กจิ ในทกุ ระดบั ใหม้ สี ำนกึ ในคณุ ธรรม ตวั อยา่ งคณุ ธรรมตวั หนงึ่ คอื ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ การเอาปรัชญของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ผู้ปฏิบัติต้องมีคุณธรรม ตอ้ งมคี วามซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ในการเอาปรชั ญาฯนไ้ี ปใช้ กลา่ วคอื ตอ้ งเอา วิชาการและคณุ ธรรมไปใช้เป็นพื้นฐานดว้ ยเสมอ 100 เงือ่ นไขทสี่ าม “การใช้ชีวิต” คือ ตอ้ งอดทน มีความเพียร ใชส้ ตปิ ญั ญา และมคี วามรอบคอบ ปรชั ญาฯนไี้ มเ่ หมาะสำหรบั คนขเ้ี กยี จ เพราะเมื่อเอาปรัชญาฯนี้ไปใช้ หากขี้เกียจ ก็ไม่ได้ทำอะไรให้สำเร็จ สักอย่าง จึงต้องดำเนนิ ชวี ิตอย่างอดทน มคี วามเพียรเป็นหลกั ประเด็นที่ ๔ เมื่อทำตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จะไดอ้ ะไร ประเด็นสุดท้าย ถ้าทำแล้วจะได้อะไร จะเกิดสมดุลและ พร้อมรองรับต่อการการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทงั้ ดา้ นวตั ถุ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม และดา้ นวฒั นธรรม จากโลกภายนอก

ได้เป็นอย่างดี ผลจากการปฏิบัติตามแนวของปรัชญาของเศรษฐกิจ 101 พอเพยี งในภาวะปกติ ชวี ติ การงาน ธรุ กจิ จะเกดิ สมดลุ ในภาวะวกิ ฤติ ตามรอยพระราชดำ ิร เม่ือมีการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” และประเทศชาติจะพร้อมรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงนั้นๆ ได้อย่างสบาย โดยสรปุ “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ ทางสายกลาง ความพอเพียง คอื พอประมาณ มเี หตุผล มภี ูมคิ ุม้ กันในตวั ทีด่ ”ี ซง่ึ ภมู คิ มุ้ กนั มสี ดี่ า้ นไดแ้ ก่ ดา้ นวตั ถุ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรม และผปู้ ฏบิ ตั ติ อ้ งมี เงอื่ นไขคณุ ธรรม เงอื่ นไขหลกั วชิ า เงอื่ นไขในการ ดำเนนิ ชวี ติ ซง่ึ จะนำไปสคู่ วามสมดลุ พรอ้ มรบั ตอ่ ความเปลยี่ นแปลง ชุมชนเข้มแข็ง ครอบครัวเข้มแข็ง ประเทศไทยเข้มแข็ง และเชื่อว่า จะนำไปสู่การสร้างระบบเศรษฐกิจและสังคมอย่างมีความสุข เป็น ระบบเศรษฐกิจและสังคมแห่งคุณธรรม ระบบเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ความยงั่ ยนื คำทสี่ ำคญั ทสี่ ดุ ของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื คำว่า “พอ” ตอ้ งสร้างความพอท่ีสมเหตุสมผลใหก้ บั ตวั เองใหไ้ ด้ แล้วก็จะพบกับความสุข หลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรอื่ งความพอประมาณตามอตั ภาพตอ้ งบวกกบั เรอื่ งความสมเหตสุ มผล ซง่ึ จะเกดิ ภมู คิ ้มุ กันท่ดี ี แลว้ จะพบกับความสขุ ขั้นตอนสกู่ ารปฏิบตั ิ การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้ บงั เกดิ ผลอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ มขี น้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ ๓ ขนั้ ตอนสำคญั คือ

ตามรอยพระราชดำ ิร ขนั้ ท่ี ๑ : ตอ้ งเรยี นรปู้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งใหเ้ ขา้ ใจ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง”อยา่ งถอ่ งแท้ เพอื่ ใหเ้ หน็ ความสำคญั เห็นคุณค่า และเกดิ ศรัทธา ทอี่ ยากปฏบิ ตั ิ พรอ้ มทจ่ี ะปฏบิ ตั ิ และลงมอื ปฏบิ ตั ิ โดยมจี ดุ มงุ่ หมาย ทช่ี ดั เจนคอื เพอ่ื สรา้ งอปุ นสิ ยั พอเพยี งใหต้ นเอง และเรม่ิ ตน้ เรยี นรู้ ทำความเขา้ ใจกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยอาจเชญิ ผรู้ ู้ ผมู้ ปี ระสบการณจ์ รงิ มาบรรยายใหค้ วามรู้ ศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู จาก สอ่ื สงิ่ พมิ พ์ สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนคิ ส์ หรอื จดั ประชมุ แลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ว่ มกนั หรอื พดู คยุ เลา่ สกู่ นั ฟงั ภายในบา้ น ในโรงเรยี น ในองคก์ รและในชมุ ชน เปน็ ต้น ขัน้ ที่ ๒ : ทกุ ภาคส่วนต้องรว่ มมอื กันขบั เคล่ือนปรชั ญา ฯ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ ตง้ั แตร่ ะดบั ครวั เรอื นจนถงึ ระดบั ประเทศ โดยจดั กจิ กรรม ทช่ี ดั เจนดว้ ยกนั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง บคุ คลและองคก์ ร/สถาบนั ทม่ี บี ทบาท สำคญั ในการเผยแพร/่ ถา่ ยทอด และขยายผลนำปรชั ญาของเศรษฐกจิ 102 พอเพียงไปสู่การปฏิบัติในพื้นที่ให้เห็นผลเป็นรูปธรรมมีอยู่เป็น จำนวนมาก อาทิ ผนู้ ำศาสนาทกุ ศาสนา ครู อาจารย์ ผูบ้ รหิ ารและ บุคลากรทางการศึกษาในสถาบันการศึกษาทุกระดับ บุคลากรทาง การแพทยแ์ ละผปู้ ฏบิ ตั งิ านสายสขุ ภาพในสถานอี นามยั /โรงพยาบาล ในชุมชน ผู้บรหิ ารและเจา้ หน้าที่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ เปน็ ต้น ท้ังน้ี ในการเผยแพร่/ถ่ายทอดสาระสำคัญของปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปสู่ผู้ปฏิบัตินั้น ผู้ถ่ายทอดต้องเข้าใจธรรมชาติ ของสาระของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงมีลักษณะเป็นท้ัง ความรปู้ ระเภท แนวคิด/หลักคิด และเปน็ ทง้ั ทักษะกระบวนการคดิ กล่าวคือ หลักคิดของความพอประมาณจะมีความเช่ือมโยงกับ

ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกัน รวมทั้งผู้ปฏิบัติต้องมีความรู้ 103 และคณุ ธรรมเปน็ เงอื่ นไขทจี่ ะตอ้ งเชอื่ มโยงกนั เปน็ กระบวนการคดิ ตามรอยพระราชดำ ิร นอกจากน้ี หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ยงั มีลักษณะเป็นท้ัง ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” คุณธรรม ค่านิยม และเจตคติ ดังน้ัน การถ่ายทอดหลักคิดและ กระบวนการคดิ ใหเ้ กดิ ผลดนี นั้ จำเปน็ ตอ้ งจดั ประสบการณใ์ หผ้ ปู้ ฏบิ ตั ิ ได้เรียนรู้และปฏิบัติด้วยตัวเอง จนเกิด ความเข้าใจ เห็นประโยชน์ เห็นคุณค่า เกิดศรัทธาและอยากปฏิบัติด้วยความปรารถนามุ่งมั่น ของตนเองอย่างต่อเนื่อง เม่ือมีจุดมุ่งหมายชัดเจนว่า มุ่งให้ผู้ปฏิบัติ เกิดอุปนิสัยพอเพียงในตนเอง กระบวนการถ่ายทอดปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง จงึ ตอ้ งเปน็ กระบวนการทป่ี ลกู ฝงั คา่ นยิ ม คณุ ธรรม เขา้ สจู่ ิตใจและความรูส้ ึกของผปู้ ฏบิ ัติได้ ข้ันท่ี ๓ : ต้องใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลัก ในการดำรงชีวิตอย่างต่อเน่ืองเป็นประจำสม่ำเสมอ เพื่อบ่มเพาะ ปลกู ฝงั หยงั่ รากจนเป็นส่วนหนึ่งของวิถชี ีวิต วฒั นธรรมของคนไทย การปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเนื่องจนเป็น อปุ นสิ ยั จะนำไปสู่วถิ ชี วี ิตพอเพยี งได้ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งกบั การพฒั นาประเทศ ในแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ตง้ั แตแ่ ผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี ๑ ถงึ ๗ เปน็ แผนทร่ี ะบแุ ผนงานและโครงการทกี่ ำหนดวธิ กี าร ลงทุนและใช้งบประมาณแผ่นดินของภาครัฐในเร่ืองสาธารณูปโภค และโครงสรา้ งพนื้ ฐาน รวมถงึ การสรา้ งความมนั่ คงทางดา้ นเศรษฐกจิ ในแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี ๑ ยงั ไมม่ เี รอ่ื งการพฒั นาสงั คม เรม่ิ มเี รอื่ งสงั คม

ตามรอยพระราชดำ ิรในแผนพฒั นาฯฉบับท๒่ี ตอ่ มาในแผนพฒั นาฯฉบับท่ี ๖ และ ๗ จะมี ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง”เร่ืองทรัพยากรธรรมชาติเข้ามาเก่ียวข้อง และแผนพัฒนาฯ ท้ังหลาย ดงั กลา่ วจะถกู นำไปเปน็ แนวทางกำกบั การจดั สรรงบประมาณแผน่ ดนิ และการกำหนดบทบาทหน่วยงานภาครัฐในการพัฒนาประเทศ ผลการพฒั นาประเทศ พบว่าประสบความสำเร็จในเชิงปรมิ าณด้าน เศรษฐกิจ แต่ด้านสังคมและส่ิงแวดล้อมยังต้องเติมให้สมดุล ดังนั้น ในแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี ๘ จงึ ไดศ้ กึ ษาหลกั ทรงงานและแนวทางตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำมาสร้างความรู้ความเข้าใจและ จุดประกายให้ปวงชนชาวไทยได้นำไปเป็นหลักคิดและแนวปฏิบัติ เพ่ือการสร้างภูมิคุ้มกันแก่ตนเองและประเทศชาติ โดยเน้นไปท่ี สองเรอื่ งหลกั ไดแ้ ก่ การพฒั นาคน และการมสี ว่ นรว่ ม และถอื วา่ เปน็ จดุ เปล่ียนสำคัญของการจัดทำแผนพฒั นาประเทศ๖ ตอ่ มาในแผนพฒั นา ฯ ฉบับท่ี ๙ และ ๑๐ ได้อญั เชิญหลกั 104 “ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” มาเป็นปรัชญนำทางในการพฒั นา และบรหิ ารประเทศตอ่ เนอ่ื งในแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี ๑๐ ไดเ้ นน้ การขยาย แนวคิดของปรัชญาฯ ลงไปในกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาฯ โดยยดึ หลกั ที่ “คนเปน็ ศนู ยก์ ลางของการพฒั นา” และใหค้ วามสำคญั กับการพัฒนาอยา่ งเป็นองค์รวม คอื การอยูร่ ่วมกันอยา่ งเปน็ สขุ ของ สงั คมไทย โดยมกี ารวเิ คราะหส์ ถานะทนุ ของประเทศใน ๓ ทนุ ไดแ้ ก่ ทุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางสังคม และทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ และวิเคราะห์บริบทการเปลี่ยนแปลงภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ๖ ดร.อำพน กติ ตอิ ำพน, ปาฐกถาพเิ ศษ “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั สงั คมไทย”, ๒๕๕๒

ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ การพฒั นาประเทศ นำไปสกู่ ารกำหนดยทุ ธศาสตร์ 105 บนพน้ื ฐานของการใชค้ วามรไู้ ดอ้ ยา่ งถกู หลกั วชิ าการ และใหค้ วามสำคญั ตามรอยพระราชดำ ิร กับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของทุน และการนำไปใช้ประโยชน์ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” อย่างเก้ือหนนุ ซง่ึ กันและกนั และในแผนพฒั นา ฯ ฉบับที่ ๑๑ ยังคง ยดึ หลกั “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” และ “คนเปน็ ศนู ยก์ ลางของ การพฒั นา” รวมทง้ั “สรา้ งสมดลุ การพฒั นา” ในทกุ มติ ิ มกี ารขบั เคลอ่ื น ให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนย่ิงขึ้นในทุกระดับ เพื่อจะเป็น ภูมิคุ้มกันท่ีดีให้พร้อมเผชิญการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นทั้งในระดับ ปจั เจก ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ รายงานการพฒั นาคนของประเทศไทย ปี ๒๕๕๐ จัดทำโดย โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติประจำประเทศไทย (United Nations Development Program: UNDP) ได้นำเสนอแนว พระราชดำรเิ กยี่ วกบั การพฒั นาและรฐั บาลไดน้ อ้ มนำมาเปน็ ปรชั ญา นำทางในการพัฒนาประเทศ โดยมีข้อคิดเชิงนโยบายในด้านต่างๆ ตลอดจนแนวทางการนำไปประยกุ ต์ใช้สำหรับประเทศไทย และไดม้ ี การเผยแพรต่ ่อผ้อู ่าน ๑๖๖ ประเทศท่วั โลก ใน ๖ ประการ ดงั นี้ ประการที่ ๑ เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ ปรชั ญาทมี่ คี วามสำคญั อย่างย่ิงสำหรับการขจัดความยากจนและการลดความเสี่ยง ทางเศรษฐกจิ ของคนจน หวั ใจสำคญั ของการแกป้ ญั หาความยากจน คอื การทำใหค้ นจนหรอื ชมุ ชนสามารถพงึ่ ตนเองไดม้ ากขน้ึ พยายาม พ่งึ พาทรพั ยากร ความรู้ ภมู ิปญั ญา ทนุ ทางเศรษฐกิจ ทุนทางสงั คม ทรพั ยากรธรรมชาติและทรัพย์สนิ อืน่ ๆ ของชมุ ชนเป็นหลกั

ตามรอยพระราชดำ ิร ประการท่ี ๒ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นพ้ืนฐาน ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง”ของการสร้างพลังอำนาจของชุมชนและพัฒนาศักยภาพชุมชน ใหเ้ ข้มแข็งเพ่ือเป็นฐานรากของการพฒั นาประเทศ ประการที่ ๓ เศรษฐกจิ พอเพยี งชว่ ยยกระดบั ความรบั ผดิ ชอบ ต่อสังคมของบริษัทด้วยการสร้างข้อปฏิบัติในการทำธุรกิจท่ีเน้น ผลกำไรระยะยาวในบรบิ ททม่ี กี ารแขง่ ขนั การบรหิ ารธรุ กจิ ตอ้ งคำนงึ ถงึ ผู้มีส่วนได้เสียจากทุกกลุ่ม ต้ังแต่นายจ้างไปจนถึงลูกค้าและสังคม โดยรวม ประการที่ ๔ หลกั การเศรษฐกจิ พอเพยี งมคี วามสำคญั อยา่ งยง่ิ ต่อการปรับปรุงมาตรฐานของธรรมาภิบาลในการบริหารงานภาครัฐ เง่ือนไขของเศรษฐกิจพอเพียงเน้นการพัฒนาคนด้วยหลักคุณธรรม และความรู้ การปฏิบัติหน้าที่ราชการต้องมีความซื่อสัตย์สุจริตและ เต็มความสามารถและเห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวมเป็นหลกั 106 ประการที่ ๕ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสามารถใช้เปน็ แนวทางในการกำหนดนโยบายของชาติ เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันต่อ สถานการณท์ เ่ี ขา้ มากระทบโดยฉบั พลนั เพอ่ื ปรบั ปรงุ นโยบายตา่ งๆ ให้เหมาะสมย่ิงขึ้น และเพ่ือวางแผนยุทธศาสตร์ในการส่งเสริม การเตบิ โตทเ่ี สมอภาคและยงั่ ยืน ประการท่ี ๖ ในการปลูกฝังจิตสำนึกพอเพียง จำเป็นต้อง มีการปรับเปล่ียนค่านิยม และความคิดของคน เพื่อให้เอ้ือต่อ การพฒั นาคน ความสำเรจ็ ระยะยาวของการพฒั นาตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง ข้ึนอยู่กับการปลูกฝังแนวคิดนี้ให้กลายเป็นส่วนสำคัญ ในวฒั นธรรมการพัฒนาของประเทศ

อนงึ่ จดุ แขง็ ของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื เศรษฐกจิ พอเพยี งเรม่ิ ตน้ และจบลงทคี่ น คนเปน็ ทงั้ ผทู้ ำใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลง และเป็นผู้รับผลจากการเปลี่ยนแปลง คนที่นำปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้ได้ผล มักจะเป็นผู้ท่ีสนุกสนานกับการเรียนรู้ สร้างปัญญาให้เกิดกับตนเอง และเห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกัน ในสังคม บทสรุป 107 ตามรอยพระราชดำ ิร พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” เมอื่ วนั ที่ ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๒ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงรบั สงั่ วา่ เป็นหน้าท่ีความรับผิดชอบของพวกเราทุกคนท่ีจะต้องปฏิบัติหน้าที่ ใหเ้ ตม็ กำลัง ดว้ ยสติ รูต้ วั ด้วยปัญญา รู้คิด และด้วยความสุจรติ จริงใจ โดยเหน็ แก่ประโยชนส์ ่วนรวมยง่ิ กวา่ สว่ นอ่ืน ประเทศชาติ ของเราจึงจะเจรญิ มั่นคง “...ความสขุ ความสวสั ดขี องขา้ พเจา้ จะเกดิ ขน้ึ ได้ ก็ด้วยบ้านเมืองของเรามีความเจริญ มั่นคง เป็น ปกตสิ ขุ ความเจรญิ มน่ั คงทง้ั นนั้ จะสำเรจ็ ผลเปน็ จรงิ ไปได้ กด็ ว้ ยทกุ คนทกุ ฝา่ ย ในชาติ มงุ่ ทจี่ ะปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ของตนใหเ้ ตม็ กำลงั ดว้ ยสติ รตู้ วั ดว้ ยปญั ญา รคู้ ดิ และดว้ ยความสจุ รติ จรงิ ใจ โดยเหน็ แกป่ ระโยชน์ สว่ นรวมยงิ่ กวา่ สว่ นอน่ื จงึ ขอใหท้ า่ นทงั้ หลายในทนี่ ้ี ซึ่งมีตำแหน่งหน้าที่สำคัญอยู่ในสถาบันหลักของ ประเทศ และชาวไทยทกุ คน หมเู่ หลา่ ทำความเขา้ ใจ

ในหน้าท่ีของตนให้กระจ่าง แล้วทำต้ังจิต ต้ังใจ ให้เท่ียงตรงหนักแน่น ที่จะปฏิบัติหน้าท่ีของตนให้ ดีท่ีสุด เพ่ือให้สำเร็จประโยชน์ส่วนรวมอันไพบูลย์ คอื ชาติ บ้านเมอื ง อนั เปน็ ถน่ิ ทีอ่ ยูท่ ่ีทำกินของเรา มีความเจริญ มั่นคง ยง่ั ยนื ไป...” (พระราชดำรสั เนื่องในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๒) การปฏิบัติตนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการ สร้างประโยชน์สุขให้ตนเอง แต่การร่วมกันขับเคลื่อนขยายผล การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเฉพาะอย่างย่ิง ในกลมุ่ เดก็ และเยาวชน จะเปน็ การสรา้ งคณุ ประโยชนใ์ หแ้ กป่ ระเทศ ชาติ ให้มุง่ สู่ “สังคมท่ีอย่รู ว่ มกนั อย่างมคี วามสุข และมีภูมิคุ้มกนั ตอ่ การเปล่ยี นแปลง” ตลอดเวลา 108 ตามรอยพระราชดำ ิร ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง”

เอกสารอา้ งองิ คณะอนกุ รรมการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ พอเพยี ง สำนกั งานคณะกรรมการ 109 พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งขาติ. กรอบแนวคิด ตามรอยพระราชดำ ิร ทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” กรงุ เทพฯ, ๒๕๔๖. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง, การปาฐกถาพิเศษ เรื่อง แนวทางการสร้าง มาตรฐานการศึกษาและฝึกอบรม เกี่ยวกับปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง “จากการปฏิบัติสู่มาตรฐาน” โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นพ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี, เมื่อวันท่ี ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๔. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ปาฐกถาพิเศษ โดย ดร.อำพน กิตติอำพน : ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั สงั คมไทย (พมิ พค์ รงั้ ที่ ๒). กรงุ เทพฯ : ศูนย์การพมิ พ์เพชรร่งุ , ๒๕๕๐. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ีสิบ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔. กรงุ เทพฯ : วี.เจ. พริน้ ต้ิง, ๒๕๔๙. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ีสิบเอ็ด พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙. กรงุ เทพฯ : สหมติ รพรนิ้ ตงิ้ แอนดพ์ บั ลชิ ชง่ิ , ๒๕๕๔.

ตามรอยพระราชดำ ิร บรรณานกุ รม ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” หนังสอื และเอกสาร กนก วงษ์ตระหง่าน. แนวพระราชดำริด้านการเมืองการปกครอง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๕๓. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษา. พระบรมราโชวาทและกระแส พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดลุ ยเดช. กรุงเทพฯ : รำไพเพรส, ๒๕๕๐. กองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา้ ราชการ. ชดุ หนงั สอื “ประมวลพระบรม ราโชวาทและพระราชดำรัส ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช ๒๔๙๓-๒๕๔๘”. กรุงเทพฯ : 110 เกรย์ แมทเทอร,์ ๒๕๕๐. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. ผลการดำเนนิ งานขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง สสู่ ถานศึกษา ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ กรงุ เทพฯ, ๒๕๕๓. คณะอนกุ รรมการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ พอเพยี ง สำนกั งานคณะกรรมการ พฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ขาต.ิ วรรณกรรมปรทิ ศั น์ ที่เก่ียวข้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ, ๒๕๔๗. คณะอนกุ รรมการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ พอเพยี ง สำนกั งานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งขาติ. กรอบแนวคิด ทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ, ๒๕๔๖.

โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ. รายงานการพัฒนาคนของ 111 ประเทศไทย ปี ๒๕๕๐: เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั การพฒั นาคน. ตามรอยพระราชดำ ิร กรงุ เทพฯ : ยูเอ็นดีพี, ๒๕๕๐. ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” โครงการมหกรรมพลงั เยาวชนพลงั สงั คม. รอ้ ยพลงั เยาวชน รอ้ ยพลงั สงั คม. กรุงเทพฯ : เอส.อาร.์ พร้ินตง้ิ แมสโปรดกั ส์, ๒๕๕๒. จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับ การเพิ่มความสมดุลในการพัฒนา. สำนักงานทรัพย์สิน ส่วนพระมหากษัตรยิ .์ กรุงเทพฯ : ดาวฤกษ์ คอมมูนเิ คช่ันส,์ ๒๕๕๓. มูลนิธิพระดาบส. คำพ่อสอน : ประมวลพระบรมราโชวาทและ พระราชดำรัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์กรุงเทพ, ๒๕๕๑. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง, การปาฐกถาพิเศษ เร่ือง แนวทางการสร้าง มาตรฐานการศึกษาและฝึกอบรมเกี่ยวกับปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง “จากการปฏิบัติสู่มาตรฐาน” โดยศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ นพ.เกษม วฒั นชยั องคมนตร,ี เมอ่ื วันที่ ๒๕​พฤษภาคม ๒๕๕๔. มูลนธิ ิสยามกัมมาจล. ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จากหลกั คดิ สวู่ ถิ ีปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : ธนภทั ร (๒๐๐๖) พร้ินตง้ิ , ๒๕๕๔. ศูนย์ศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการบริหารการพัฒนา. กรุงเทพฯ, ๒๕๕๑.

ตามรอยพระราชดำ ิรศูนย์ศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับสังคมไทย. กรุงเทพฯ, ๒๕๕๔. สำนกั งานกองทนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ และมลู นธิ สิ ดศร-ี สฤษดว์ิ งศ.์ คำพอ่ สอน : ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดำรสั เกี่ยวกับความสุขในการดำเนินชวี ติ . กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ กรงุ เทพ, ๒๕๔๙. สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต ๑. แนวทาง การขบั เคลอ่ื นปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา. ขอนแกน่ , ๒๕๕๔. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. การทรงงานพัฒนาประเทศของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยหู่ วั . กรุงเทพฯ : ศูนย์การพิมพ์เพชรร่งุ , ๒๕๕๔. 112 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. นานาคำถาม เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรงุ เทพฯ. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ประมวลคำในพระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ต้ังแต่พุทธศักราช ๒๔๙๓ - ๒๕๔๖ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (พิมพ์ครัง้ ที่ ๔). กรุงเทพฯ, ๒๕๔๙.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 113 ปาฐกถาพเิ ศษ โดย ดร.อำพน กติ ตอิ ำพน : ปรชั ญาของ ตามรอยพระราชดำ ิร เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั สงั คมไทย (พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๒). กรงุ เทพฯ : ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ศนู ยก์ ารพมิ พ์เพชรรุ่ง, ๒๕๕๐. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ปาฐกถาพเิ ศษ โดย ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ นายแพทย์ เกษม วฒั นชยั องคมนตรี : เสน้ ทางสคู่ วามพอเพยี ง (พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๒). กรงุ เทพฯ : ๒๑ เซน็ จูรี่, ๒๕๕๒. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔. กรงุ เทพฯ : ว.ี เจ. พริน้ ต้ิง, ๒๕๔๙. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙. กรงุ เทพฯ : สหมติ รพรนิ้ ตงิ้ แอนดพ์ บั ลชิ ชงิ่ , ๒๕๕๔. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. พระมหากษตั รยิ น์ กั พฒั นา เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ สปู่ วงประชา. กรุงเทพฯ : ศนู ย์การพิมพเ์ พชรรงุ่ , ๒๕๕๔. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ, ๒๕๕๔.

ตามรอยพระราชดำ ิรสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” เรียนรูห้ ลกั การทรงงาน ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั (พิมพ์ครัง้ ที่ ๒). กรงุ เทพฯ, ๒๕๕๔. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ. ตัวอย่างความสำเร็จการประยุกต์ใช้ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (พมิ พค์ รง้ั ที่ ๒). กรงุ เทพฯ : เทพเพ็ญวานสิ ย,์ ๒๕๕๓. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ. เศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดสู่การ ประยุกตใ์ ช้ที่ยง่ั ยนื . กรุงเทพฯ, ๒๕๕๒. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ. หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเดจ็ 114 พระเจ้าอย่หู ัว (พิมพ์ครั้งท่ี ๕). กรุงเทพฯ, ๒๕๕๓. สำนกั งานทรพั ยส์ นิ สว่ นพระมหากษตั รยิ .์ สรา้ งหลกั คดิ พชิ ติ โลกรอ้ น ใสใ่ จเออ้ื อาทร ทกุ ขนั้ ตอนอยา่ งพอเพยี ง (พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๓). กรงุ เทพฯ, ๒๕๕๓. เว็บไซต์ มลู นธิ ิชยั พัฒนา. เข้าถึงได้จาก http://www.chaipat.or.th มลู นธิ พิ ระดาบส. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก คำพอ่ สอน, http://www.kamphor sorn.org

มลู นธิ สิ ยามกมั มาจล. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.scbfoundation .com สำนกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ในภาครฐั . เขา้ ถึงได้จาก http://www.pacc.go.th สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. เข้าถงึ ได้จาก http://www.nesdb.go.th สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเน่ือง มาจากพระราชดําริ. เข้าถึงได้จาก http://www.rdpb. go.th สำนักราชเลขาธกิ าร, http://www.ohmpps.go.th 115 ตามรอยพระราชดำ ิร ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง”

ทปี่ รึกษา นายอำพน กติ ตอิ ำพน ประธานกรรมการบริหารและ ขบั เคล่ือนงาน มูลนิธิสถาบนั วจิ ยั และพฒั นาประเทศตามปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง นายกิติศกั ด์ิ สินธุวนิช ที่ปรึกษา มลู นิธิสถาบันวิจัย และพัฒนาประเทศตามปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง นางสุวรรณี คำมน่ั เลขาธกิ าร มูลนิธสิ ถาบันวจิ ัย และพัฒนาประเทศตามปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง นางชุตินาฏ วงศ์สุบรรณ เหรัญญกิ มลู นธิ สิ ถาบันวิจัย และพัฒนาประเทศตามปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง ตามรอยพระราชดำ ิร116 นางสาวจินางค์กรู โรจนนันต์ ผู้อำนวยการสำนกั ยุทธศาสตร์ ู่ส “ป ัรชญาของเศรษฐ ิกจพอเ ีพยง” ด้านนโยบายสาธารณะ สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนา การเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ คณะทำงาน รศ. ปภัสวดี วรี กิตต ิ นางปารชิ าต เทพอารักษ์ นางสาวนรสิ า พชิ ัยวรตุ มะ นายปรีชา ไวยะวงษ์ นายอาทิตย์ ทองเงิน นางวภิ าวดี ชวนบุญ นางสาววธู สัตบงกช นายสธุ น รักเดช

มลู นธิ สิ ถาบนั วจิ ัยและพฒั นาประเทศ ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (มพพ.) บทบาทภารกิจ มุ่งทำหนา้ ท่เี ป็น “ศูนยก์ ลางหรอื ตัวกลาง” ในการประสาน เชอื่ มโยงใหเ้ กดิ การนำเอาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ไปสูก่ ารปฏิบตั ใิ นทุกระดับ ทกุ มติ ิ โดยใช้การสรา้ งกระบวนการเรยี นรู้ เป็นเครอื่ งมือทน่ี ำเอาความรูท้ ีผ่ า่ นการสังเคราะห์ ให้เป็นองค์ความรูท้ ่มี ีมาตรฐานระดบั เดียวกนั สร้างผนู้ ำ/วิทยากรเศรษฐกจิ พอเพยี ง ภาคเี ครอื ข่าย ทำหน้าท่ีเชอ่ื มโยงสง่ ผ่านองค์ความร้ใู หเ้ ครือขา่ ยต่างๆ ร่วมเผยแพร่ ขยายผลนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปปฏิบัตผิ า่ นกิจกรรม งาน โครงการในมติ ิต่างๆ ตลอดจนวถิ กี ารดำเนนิ ชวี ติ ในชุมชนและสงั คม