Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Description: 26.

Search

Read the Text Version

45 กิจกรรมทา ยบทที่ 2 2.1 เคร่ืองดนตรีไทย มีการสันนิษฐานวาเกิดจากความคิดและสติปญญาของคนไทยโดยมี ววิ ฒั นาการเร่ิมจากสมัยสุโขทัยสมัยกรุงศรีอยุธยา สมัยกรุงธนบุรี และสมัยกรุงรัตนโกสินทร ทง้ั น้ี วงปพ าทยแ ละวงมโหรี มปี รากฏในทุกสมัย ขอท่ี 9 ใหผูเรียนเขียนชื่อเครื่องดนตรีไทย ที่ประกอบกันเปนวงมโหรี ในสมัยกรุง รัตนโกสนิ ทร ลงใตภ าพใหถกู ตอ ง (3 คะแนน) ภาพท่ี 1 ชือ่ เครื่องดนตรไี ทยคือ \"...................\" ภาพท่ี 2 ชอ่ื เครอ่ื งดนตรไี ทยคอื \"...................\" ภาพท่ี 3 ชื่อเคร่ืองดนตรีไทยคอื \"...................\"

46 ขอที่ 10. ใหผูเรียนเขียนช่ือเคร่ืองดนตรีในวงปพาทยสมัยรัชกาลที่ 6 ซึ่งไดนําเคร่ือง ดนตรขี องตางชาติ มาบรรเลงผสม ลงใตภ าพใหถ ูกตอ ง (6 คะแนน) ภาพท่ี 4 ชอ่ื เครอื่ งดนตรีคอื \"..................\" นํามาจาก................... ภาพท่ี 5 ชอ่ื เครือ่ งดนตรคี ือ \"...................\" นาํ มาจาก..................... ภาพท่ี 6 ชื่อเครอ่ื งดนตรคี ือ \"...................\" นาํ มาจาก.....................

47 2.3 ภมู ิปญ ญาทางดนตรไี ทย แสดงใหเ หน็ ถงึ การอนุรักษที่ดีงาม ทั้งจารีตประเพณี วัฒนธรรม และการประดิษฐ คดิ คน เชน คณุ คาของความงามและความไพเราะของเพลงและเคร่ืองดนตรี ไทย ขอท่ี 11. ใหผูเรียนเขียนชื่อเพลงท่ีเปนผลงานของภูมิปญญาทางดนตรีไทยใหถูกตอง (5 คะแนน) ภาพท่ี 7:รัชกาลที่ 2 ชื่อเพลง \"..................\" ภาพท่ี 8:นายมนตรี ชอ่ื เพลง \"..................\" ภาพที่ 9:พระยาประสาน ช่อื เพลง \"...................\"

48 ภาพที่ 10:นายบญุ ยงค ช่อื เพลง \"..................\" ภาพที่ 11: พระองคเจาเพ็ญ ชอ่ื เพลง \".....................\"

49 บทที่ 3 นาฏศลิ ปไ ทย เรอ่ื งที่ 3.1 ความหมายและความเปน มาของนาฏศลิ ปไทย นาฏศิลปม ีความหมายอยางไร นาฏศิลปไทย คอื ศลิ ปะแหงการรา ยราํ ทเ่ี ปนเอกลกั ษณของไทย จากการสืบคน ประวัติความเปนมาของนาฏศลิ ปไ ทย เปนเรือ่ งทเี่ กยี่ วขอ งและสมั พนั ธก บั ประวตั ศิ าสตรไ ทย และวฒั นธรรมไทย จากหลกั ฐานที่ยืนยันวา นาฏศลิ ปมีมาชานาน เชน การสืบคนในหลักศลิ า จารึกหลักที่ 4 สมยั กรุงสุโขทัย พบขอ ความวา “ระบาํ ราํ เตน เลนทุกวัน” แสดงใหเ ห็นวา อยาง นอ ยทส่ี ุด นาฏศิลปไ ทย มีอายุไมนอยกวา ยุคสุโขทยั ข้ึนไป นาฏศิลปไ ทยมคี วามเปน มาอยา งไร สรปุ ท่ีมาของนาฏศลิ ปไ ทยไดด งั นี้ 1. จากการละเลน ของชาวบานในทองถ่ิน ซ่ึงเปนกิจกรรมเพื่อความบันเทิงและความ รื่นเริงของชาวบาน ภายหลังจากฤดูกาลเก็บเก่ียวขาวแลว ซ่ึงไมเพียงเฉพาะนาฏศิลปไทย เทานั้น ท่ีมปี ระวัตเิ ชนนี้ แตน าฏศิลปท่วั โลกก็มีกําเนิดจากการละเลนพื้นเมืองหรือการละเลน ในทองถ่นิ เม่ือเกิดการละเลนในทองถ่ิน การขับรองโตตอบกันระหวางฝายหญิงและฝายชาย กเ็ กิดพอ เพลงและแมเพลงข้ึน จงึ เกดิ แมแ บบหรือวิธกี ารที่พฒั นาสืบเน่ืองตอ ๆ กนั ไป 2. จากการพฒั นาการรอ งรําในทอ งถน่ิ สูนาฏศลิ ปใ นวงั หลวง เมือ่ เขาสูวังหลวงก็มีการ พัฒนารปู แบบใหงดงามยิง่ ขน้ึ มหี ลักการและระเบียบแบบแผน ประกอบกับพระมหากษัตริย ไทย ยุคสโุ ขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร ทรงเปนกวีและนักประพันธ ดังนั้นนาฏศิลปไทย จึงมลี ักษณะงดงามและประณตี นาฏศิลปไทยมีองคป ระกอบอยางไร องคประกอบของนาฏศิลปไ ทย เปน ศิลปะการแสดงทมี่ ีความออนชอ ยและงดงามเปน เอกลักษณของชาตไิ ทย ซง่ึ มีองคประกอบ ดังนี้ 1. การฟอ นรําหรอื ลลี าการรายรําออ นชอย งดงาม และแสดงอารมณ เพอื่ ถายทอด เร่ืองราวของตวั ละคร และส่อื ความหมายในการแสดง

50 2. เครือ่ งแตง กายมีความงดงาม และสื่อถึงความเปน ไทย มลี ักษณะแตกตางกนั ไป ตามแตล ะบทบาทของตัวละคร เชน เคร่ืองแตง กายยืนเคร่ือง การสวมใสจะใชตรงึ ดวยดาย แทนท่ีจะเย็บสําเร็จรปู เปนตน 3. วงปพ าทยเปนดนตรีทใ่ี ชบรรเลงประกอบการแสดง ซึ่งอาจมแี ตทํานองหรอื มีบท รอ งผสมอยู 4. คํารองหรือบทรองเปนคําประพนั ธ ทม่ี ลี ักษณะเปน กลอนแปด สามารถนําไปรอง เพลงช้นั เดยี ว หรือสองชน้ั ไดท กุ เพลง คํารอ งน้ีทําใหผ สู อนหรือผูรํากําหนดทา ราํ ไปตามบทรอ ง ภาพแสดงเครือ่ งแตง กายยืนเครื่องพระ

51 ภาพแสดงเครอื่ งแตง กายยืนเครอื่ งนาง เรอ่ื งที่ 3.2 ประเภทของนาฏศลิ ปไทย นาฏศลิ ปไทยมกี ี่ประเภท นาฎศลิ ปไ ทย เปนศลิ ปะทร่ี วมศิลปะทุกแขนงเขา ดวยกนั แบง ออกตามลักษณะของ รูปแบบการแสดงเปน 4 ประเภท คอื โขน ละคร ราํ และระบํา และการละเลน พน้ื เมอื ง โขน 1.โขนมลี ักษณะของรปู แบบการแสดงนาฏศิลปไทยอยางไร โขน เปนศิลปะของการรํา การเตน แสดงเปนเร่ืองราว โดยมีศิลปะหลายรูปแบบ ผสมผสานกัน เอกลกั ษณ คอื ผูแสดงจะตอ งสวมหัวโขน สง่ิ สําคัญท่ีประกอบการแสดงโขน คือ บทท่ีใชประกอบการแสดงจากเร่ืองรามเกียรต์ิ การแตงกายเลียนแบบเคร่ืองทรงของ พระมหากษัตริยท เี่ ปน เคร่ืองตน เรียกวา การแตงกายแบบยืนเครื่อง เพื่อบอกลักษณะสําคัญ

52 ตวั ละครมีการพากย เจรจา ขับรอง และดนตรีบรรเลงดวยวงปพาทย ยึดขั้นตอนการแสดงท่ี เปนแบบแผนนิยมจัดแสดงในพธิ สี ําคัญ เชน งานพระราชพิธตี า ง ๆ 2. โขนแบง ตามลกั ษณะการแสดงเปน กชี่ นดิ โขน แบงตามลกั ษณะการแสดงมี 5ชนิด ไดแก โขนกลางแปลง โขนนั่งราว โขนโรงใน โขนหนาจอ และโขนฉาก ซึง่ โขนแตละชนิดมลี ักษณะทเี่ ปน เอกลักษณเ ฉพาะตวั 2.1 โขนกลางแปลงมีลกั ษณะท่เี ปนเอกลกั ษณน าฏศลิ ปไทยอยา งไร โขนกลางแปลง เปนโขนที่แสดงกลางสนาม ใชธรรมชาติ เปนฉากประกอบ นิยม แสดงตอนที่มกี ารทําศกึ สงคราม เพราะจะตองใชตัวแสดงเปนจํานวนมาก และตองการแสดง ถงึ การเตนของโขน การเคลอ่ื นทพั ของทัง้ สองฝา ย การตอสู ระหวางฝายพระราม พระลักษณ พลวานร กบั ฝายยกั ษ ไดแก ทศกณั ฑ ภาพโขนกลางแปลง 2.2 โขนโรงนอกหรอื โขนนง่ั ราวมลี ักษณะทเ่ี ปน เอกลักษณน าฏศิลปไทยอยางไร โขนโรงนอก หรือโขนนั่งราว เปนโขนที่มีวิวฒั นาการมาจากโขนกลางแปลงเปลี่ยน สถานท่ีแสดงบนโรง มีราวไมไ ผข นาดใหญอยูด านหลัง สาํ หรับตวั โขน นั่งแสดง รปู แบบของ การแสดงดําเนนิ เรอ่ื งดวยการพากยและเจรจา

53 โขนโรงนอกหรือโขนนงั ราว 2.3 โขนโรงในมลี กั ษณะทเี่ ปนเอกลกั ษณนาฏศลิ ปไ ทยอยางไร โขนโรงใน เปนการนําเอารปู แบบการแสดงโขนโรงนอก มาผสมผสานกบั การแสดง ละครใน ทม่ี ีการขับรอง และการรา ยราํ ของผูแ สดง ดําเนนิ เร่ืองดวยการพากย เจรจา มกี ารขับรอง ประกอบทา ราํ เพลงระบาํ ผสมผสานอยดู ว ย ภาพโขนโรงใน

54 2.4 โขนหนา จอมลี กั ษณะทเ่ี ปน เอกลกั ษณนาฏศลิ ปไ ทยอยางไร โขนหนา จอ ไดแ ก โขนที่ใชจอหนังใหญเปนฉากประกอบการแสดง กลา วคอื มจี อหนัง ใหญเปนฉาก ที่ดา นซา ยขวาเขียนรูปปราสาท และพลับพลาไวท ้งั สองขา งตวั แสดงจะออก แสดงดา นหนา ของจอหนงั ดาํ เนินเรอ่ื งดวยการพากย เจรจา ขบั รอง รวมทัง้ มกี ารจัดระบาํ ฟอนประกอบ โขนหนา้ จอ 2.5 โขนฉากมีลักษณะทีเ่ ปน เอกลกั ษณน าฏศิลปไ ทยอยางไร โขนฉาก เปนรูปแบบโขนทีพ่ ฒั นาเปนลาํ ดับสุดทาย กลาวคือเปนการแสดงในโรงมกี าร จดั ทําฉากเปลยี่ นไปตามเรอ่ื งราวทกี่ าํ ลงั แสดง ดาํ เนนิ เรื่องดว ยการพากย เจรจา และขับรอ ง รา ยราํ ประกอบคํารอ งมรี ะบาํ ฟอนประกอบ ละคร 1. ละครมีลักษณะของรูปแบบการแสดงนาฏศลิ ปไทยอยา งไร ละคร เปน ศิลปะการรายรําทเ่ี ลนเปนเรือ่ งราว มีพฒั นาการมาจากการเลา นิทาน ละคร มเี อกลกั ษณใ นการแสดง และการดําเนินเรอื่ งดวยกระบวนลลี าทาราํ เขา บทรอง ทาํ นองเพลง และเพลงหนาพาทยท ี่บรรเลงดวยวงปพ าทยมแี บบแผนการเลน ที่เปนท้ังของชาวบา นและของ หลวง

55 2. ละครไทยมกี ปี่ ระเภท ละครไทยมพี ฒั นาการมาต้ังแตสมยั กรงุ ศรอี ยุธยาจนถึงปจจบุ นั ดงั นน้ั ละครไทยจงึ มี รูปแบบตาง ๆ ซ่ึงแบงออกได 3 ประเภท ดงั นี้ 2.1 ละครราํ 2.2 ละครรอ ง 2.3 ละครพดู ราํ และระบํา 1. ราํ และระบํามลี กั ษณะของรปู แบบการแสดงนาฏศิลปไ ทยอยา งไร รําและระบาํ เปนศลิ ปะแหงการรายราํ ประกอบเพลงดนตรี และบทขบั รอง โดย ไมเลนเปนเร่ืองราว รําและระบาํ มลี กั ษณะการแสดงแบบมาตรฐานทเี่ นนเร่อื งสวยงาม ความพรอ ม เพรียง ใชร ะยะเวลาการแสดงสั้น ๆ ชมแลว ไมเ กิดความเบอ่ื หนา ย 2. รํามีความหมายอยา งไร รํา หมายถงึ ศลิ ปะแหงการรา ยราํ ท่มี ีผูแ สดง ตง้ั แต 1 - 2 คน เชน การราํ เดย่ี ว การราํ คู การราํ อาวุธ เปนตน มีลักษณะการแตง กายตามรูปแบบของการแสดง ไมเลนเปน เรือ่ งราว อาจมบี ทขับรอง ประกอบการราํ เขา กบั ทาํ นองเพลงดนตรี มกี ระบวนทา ราํ โดยเฉพาะการราํ คู จะตางกับระบําเนอื่ งจากทาราํ จะมีความเชอ่ื มโยงสอดคลองตอเนื่องกัน และเปนบทเฉพาะ สาํ หรับผูแสดงนน้ั ๆ เชน ราํ เพลงชาเพลงเร็ว รําแมบท รําเมขลา - รามสรู เปนตน 3. ระบาํ มคี วามหมายอยา งไร ระบํา หมายถึง ศิลปะแหง การรายรําที่มผี ูเลนต้งั แต 2 คนข้นึ ไป มีลักษณะการแตง กายคลายคลึงกัน กระบวนทารา ยราํ คลา ยคลึงกัน ไมเลนเปน เรือ่ งราว อาจมีบทขับรอง ประกอบการราํ เขา ทาํ นองเพลงดนตรี ซ่งึ ระบําแบบมาตรฐานมกั บรรเลงดว ยวงปพ าทย การแตงกายนิยมแตง กายยืนเครื่องพระนาง หรอื แตง แบบนางในราชสํานัก เชน ระบาํ สี่บท ระบาํ กฤษดาภนิ หิ าร ระบาํ ฉง่ิ เปน ตน

56 การละเลนพน้ื เมือง การละเลนพน้ื เมอื งมลี ักษณะของรปู แบบการแสดงนาฏศิลปไทยอยา งไร การละเลนพื้นเมอื ง เปน ศิลปะแหง การรายราํ ที่มที ั้งรํา ระบํา หรือการละเลน ท่ีเปน เอกลกั ษณข องกลุมชนตามวฒั นธรรมไทยในแตล ะภมู ิภาค ซึง่ แบงออกเปน 4 ภาค คือ 1. ภาคเหนอื ไดแก ฟอนเลบ็ ฟอนเทยี น ฟอ นสาวไหม และฟอ นเจงิ 2. ภาคกลาง ไดแ ก เตน กําราํ เคียว ราํ โทน หรือรําวง ราํ กลองยาว และราํ เถดิ เทงิ 3. ภาคอีสาน ไดแก เซ้งิ บัง้ ไฟ ฟอนภไู ท ลํากลอนเกยี้ ว และลาํ เตย 4. ภาคใต ไดแ ก โนรา หนังตะลงุ รองเง็ง และลเิ กฮูลู 1. นาฏศิลปไ ทยภาคเหนอื มีรปู แบบการแสดงอยางไร ภาคเหนือ มีรูปแบบการแสดง เปนศิลปะการราํ และการละเลน หรอื ท่ีนยิ ม เรยี กวา ฟอน การฟอ นเปนวฒั นธรรมของชาวลานนาและกลุมชนเผา ตาง ๆ ลกั ษณะของการ ฟอน แบง เปน แบบดัง้ เดมิ กบั แบบปรับปรงุ ใหม แตย งั มีเอกลกั ษณก ารแสดงไวค อื ลลี าทา รํา แชมชาออ นชอย แตง กายตามวัฒนธรรมทองถิ่นประกอบกับการบรรเลงและขับรอ งดว ยวงสะ ลอ ซอ ซึ้ง วงปูเจ วงกลองแอว 2. นาฏศิลปภาคกลางมรี ปู แบบการแสดงอยา งไร ภาคกลาง มรี ูปแบบการแสดงเปนศิลปะการรายรํา และการละเลนของชนชาว พ้ืนเมืองภาคกลาง ซ่ึงสวนใหญมีอาชีพเก่ียวกับเกษตรกรรม ศิลปะการแสดงจึงมีความ สอดคลองกบั วิถีชีวติ และเพ่อื ความบันเทงิ สนุกสนาน เปน การพักผอ นหยอ นใจจากการทํางาน หรือเม่อื เสร็จจากเทศกาลฤดูเกบ็ เกยี่ ว มกี ารแตงกายตามวัฒนธรรมของทองถิ่น และใชเครื่อง ดนตรพี ้นื เมือง เชน กลองยาว กลองโทน ฉิง่ ฉาบ กรบั และโหมง 3. นาฏศิลปภ าคอีสานมีรปู แบบการแสดงอยา งไร ภาคอีสานหรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีรูปแบบการแสดงแบงไดเปน 2 กลุมวัฒนธรรม คือ กลุมอีสานเหนือ มีวัฒนธรรมไทยลาว ซ่ึงมักเรียกการละเลนวา เซิ้ง ฟอน หมอลํา ใชเคร่ืองดนตรีประกอบ ไดแก แคน พิณ ซอ กลองยาว ฉ่ิง ฉาบ ฆอง กรับ ภายหลงั เพม่ิ เตมิ โปงลางและโหวด เขามาดวย สวนกลุมอีสานใต มีวัฒนธรรมไทยเขมร เรียก การละเลน วา เรือมหรือเรอ็ ม เชน เรือมลูด อันเร หรือรํากระทบสาก รํากระเน็บติงต็อง หรือ ระบาํ ตก๊ั แตนตําขาว มีเคร่ืองดนตรี คือ ซอดว ง กลองกนั ตรมึ พณิ ระนาดเอกไม ปสไล กลอง

57 รํามะนา การแตงกายตามวัฒนธรรมของทองถ่ิน ลักษณะทารําและทวงทํานองดนตรีในการ แสดงคอ นขางกระชับ รวดเร็ว และสนุกสนาน 4. นาฏศิลปภาคใตม รี ปู แบบการแสดงอยา งไร ภาคใต มีรูปแบบการแสดงแบงตามกลุมวัฒนธรรมได 2 กลุม คือวัฒนธรรม ไทยพทุ ธไดแก โนรา หนังตะลงุ เพลงบอก และวัฒนธรรมไทยมสุ ลิม ไดแก รองเง็ง ซําแปง มะ โยง ซลิ ะ ลเิ กฮูลู มีเครอ่ื งดนตรีประกอบสําคัญ เชน กลองโนรา กลองโพน โทน ทับ กรับพวา โหมง ปก าหลอ ปไหน ราํ มะนา ไวโอลนิ และอัคคอรเดียน เร่ืองที่ 3.3 นาฏยศพั ท นาฏยศพั ทในนาฏศิลปไ ทยหมายถึงอะไร นาฏยศพั ท หมายถึง ศัพทเฉพาะในทางนาฏศลิ ป ซ่ึงเปนภาษาท่ีใชเปนสญั ลกั ษณแ ละ สื่อความหมายกนั ในวงการนาฏศิลปไทย นาฏยศพั ทใ นนาฏศิลปไ ทย แบง ไดก หี่ มวด นาฏยศพั ท แบงออกเปน 3 หมวด คือ 1. หมวดนามศัพท หมายถึง ทา ราํ สอ่ื ตา ง ๆ ทบ่ี อกอาการของทา น้นั ๆ - วง เชน วงบน วงกลาง - จีบ เชน จีบหงาย จีบควํา่ จบี หลงั - ทา เทา เชน ยกเทา ประเทา กระดก 2. หมวดกริ ิศพั ท คือ ศัพทท่ใี ชในการปฏิบัติอาการกิริยา แบง ออกเปน ศพั ทเ สริ และศพั ทเส่อื ม - ศพั ทเสริม หมายถงึ ศัพทท ่ใี ชเสรมิ ทว งทใี หถูกตอ งงดงาม เชน ทรงตวั สง มอื เจยี ง ลักคอ กดไหล ถบี เขา เปน ตน - ศัพทเส่ือม หมายถงึ ศพั ทท ีใ่ ชเรียกทา ราํ ที่ไมถ ูกระดบั มาตรฐาน เพอ่ื ใหผู รํารูตวั และตอ งแกไขทวงทขี องตนใหเขาสรู ะดบั เชน วงลา วงตัก วงลน ราํ เลอื้ ย ราํ ลน เปน ตน 3. หมวดนาฏยศพั ทเ บ็ดเตล็ด คือ ศพั ทท่ีนอกเหนือจากนามศพั ท กิริยาศพั ท ซึง่ จดั ไวเปนหมวดเบด็ เตล็ด มดี งั นี้

58 เหล่ียม เดินมือ แมท า ข้นึ ทา ในนาฏศลิ ปไ ทยหมายถึงอะไร เหลีย่ ม หมายถงึ ระยะเขา ทงั้ สองขางแบะออก กวาง แคบ มากนอยสุดแตจะเปนทา ของพระ หรือนาง ยกั ษ ลิง เหล่ียมทก่ี วางทส่ี ุด คือเหลี่ยมยกั ษ เดนิ มอื หมายถงึ อาการเคลือ่ นไหวของแขนและมือ เพื่อเชือ่ มทา แมทา หมายถงึ ทา ราํ ตามแบบมาตรฐาน เชน แมบ ท ข้ึนทา หมายถึง ทาท่ปี ระดษิ ฐใหสวยงาม แบง ออกเปน ขึ้นทาใหม ในนาฏศิลปไ ทยมกี ีท่ าและแสดงความหมายอะไรบาง ขนึ้ ทาใหญ มอี ยู 4 ทา คอื 1. ทาพระสีห่ นา แสดงความหมายเจรญิ รงุ เรอื ง เปนใหญ 2. ทานภาพร แสดงความหมายเชนเดียวกบั พรหมสหี่ นา 3. ทา เฉดิ ฉิน แสดงความหมายเกีย่ วกับความงาม 4. ทาพสิ มยั เรยี งหมอน มคี วามหมายเปน เกียรตยิ ศ ข้ึนทานอยในนาฏศลิ ปไ ทยประกอบดวยทาอะไรบา ง ขน้ึ ทานอย มีอยหู ลายทา ตางกนั คือ 1. ทา มอื หนงึ่ ตัง้ วงบัวบาน อกี มือหน่งึ จบี หลัง 2. ทายอดตอ งลม 3. ทาผาลาเพยี งไหล 4. ทา มือหนง่ึ ต้ังวงบน อีกมือหนึง่ ต้ังวงกลาง เหมอื นทา บังสรุ ิยา 5. ทา เมขลาแปลง คือมอื ขางท่ีหงายไมตอ งทาํ นิว้ ลอแกว พระใหญ – พระนอย ในนาฏศิลปไ ทยมคี วามหมายอยางไร พระใหญ – พระนอย หมายถงึ ตวั แสดงที่มีบทสาํ คัญพอ ๆ กนั พระใหญ หมายถึง พระเอก เชน อิเหนา พระราม สว นพระนอยมีบทบาทเปน รอง เชน สังคามาระตา พระลกั ษณ

59 นายโรง ในนาฏศลิ ปไทยมคี วามหมายอยา งไร นายโรง หมายถึง พระเอก เปนศัพทเ ฉพาะละครรํา ยืนเครอ่ื งในนาฏศิลปไทยมคี วามหมายอยา งไร ยืนเคร่ือง หมายถงึ แตงเคร่อื งละครราํ ครบเคร่ือง นางกษตั ริยกบั นางตลาดในนาฏศิลปไ ทยมคี วามหมายตางกนั อยา งไร นางกษัตริย บุคลิกทว งทีเรียบรอ ย สงา มีทีทา เปน ผดู ี นางตลาด ทวงทวี อ งไว สะบดั สะบ้งิ ไมเ รยี บรอย เชน นางยักษ นางแมว เปนตน ภาษาทา ในนาฏศลิ ปไ ทยหมายถงึ อะไร ภาษาทา หมายถึง การแสดงกริ ิยาทา ทางเพื่อส่อื ความหมายแทนคําพูด สวนมากใชใ น การแสดงนาฏศลิ ปและการแสดงละครตา ง ๆ ภาษาทา ในนาฏศลิ ปไ ทยมีกป่ี ระเภทจงอธบิ าย ภาษาทาแบงเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1. ทา ทางทีใ่ ชแ ทนคําพูด เชน ไป มา เรยี ก ปฏเิ สธ 2. ทาทางท่ีใชแทนอารมณภ ายใน เชน รัก โกรธ ดีใจ เสียใจ 3. ทา แสดงกริ ยิ าอาการหรืออิรยิ าบถ เชน ยนื เดิน น่ัง ตบี ทหรอื รําบทในนาฏศิลปไ ทยคอื อะไร ตบี ทหรือรําบท คอื วธิ กี ารรายรําทา ตาง ๆ นาํ มาประกอบบทรองเพลงดนตรี โดยมุง ถงึ ความสงางามของลลี าทา ราํ

60 เร่ืองท่ี 3.4 รําวงมาตรฐาน รําวงมาตรฐานมวี วิ ัฒนาการอยางไร รําวงมาตรฐาน เปนการแสดงท่ีมีวิวัฒนาการมาจากรําโทน เปนการรายรํา ประกอบการตีกลองชนิดหน่ึงเรียกวา โทนและรองเพลงไปดวย รูปแบบของการรําโทนไมมี กฎเกณฑตายตัว สามารถดดั แปลง สรา งเพลงและทา รําใหม ๆ ขึ้นไดเรื่อย ๆ บงบอกถึงความ สนกุ สนาน ซ่งึ แตเ ดมิ ราํ โทนก็เลนกันเปน วง จึงเรียกวา “รําวง” แตเ ดิมไมมีคําวา “มาตรฐาน” จะเรยี กกนั วารําวงเทา นน้ั ตอมาราวสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2482 –พ.ศ. 2488) ไดมีการ ปรับปรุงการเลนรําโทนใหงดงามตามแบบของกรมศิลปากร ทั้งการรองท่ีเปนเพลงท่ีมีเน้ือรอง สุภาพใชคํางาย ทํานองเพลงงาย มุงใหเห็นวัฒนธรรมของชาติเปนสวนใหญ เพลงในรําวง มาตรฐานมีท้ังหมด 10 เพลง แตละเพลงจะบอกทารําท่ีมีการประดิษฐใหมใหเปนมาตรฐาน 14 ทา มกี ารกาํ หนดเครือ่ งดนตรที ีใ่ ชบรรเลงประกอบการรํามีระนาด ฉิ่ง กรับพวง เพิ่มเขาไป ไวใ หพ รอ ม สําหรับการแสดง ซ่งึ จะใชผ แู สดงหญิงชายไมน อ ยกวา 5 คู จงบอกชื่อเพลงราํ วงมาตรฐานและทารําทีใ่ ช ช่ือเพลง ทา ราํ 1. งามแสงเดือน 1. สอดสรอ ยมาลา 2. ชาวไทย 2. ชกั แปง ผดั หนา 3. ราํ มาซิมารํา 3. ราํ สาย 4. คนื เดือนหงาย 4. สอดสรอยมาลาแปลง 5. ดวงจันทรวันเพญ็ 5. แขกเตาเขารัง, ผาลาเพยี งไหล 6. ดอกไมข องชาติ 6. รํายว่ั 7. หญงิ ไทยใจงาม 7. พรหมสห่ี นา, ยูงฟอนหาง 8. ดวงจนั ทรข วัญฟา 8. ชางประสานงา, จนั ทรท รงกลดแปลง 9. ยอดชายใจหาญ 9. (หญิง) ชะนีรายไม (ชาย) จอ เพลิง 10. บชู านกั รบ กาฬ 10. เทีย่ วแรก (หญงิ ) ขัดจางนาง (ชาย) จันทรท รงกลด เทยี่ วสอง (หญิง) ลอแกว (ชาย) ขอแกว

61 เพลงรําวงมาตรฐาน 1. เพลงงานแสงเดอื น รําทา สอดสรอ ยมาลา งามแสงเดอื นมาเยอื นสอ งหลา งามใบหนาเมอ่ื อยวู งรํา (2 เทยี่ ว) เราเลน เพ่อื สนุก เปลอ้ื งทุกขว ายระกํา ขอใหเลน ฟอนราํ เพอื่ สามคั คี เอย. 2. เพลงชาวไทย ราํ ทา ชกั แปง ผดั หนา ชาวไทยเจา เอย ขออยา ละเลยในการทําหนา ท่ี การทเี่ ราไดเลน สนุก เปล้ืองทุกขสบายอยางน้ี เพราะชาตเิ ราไดเ สรี มีเอกราชสมบรู ณ เราจึงควรชว ยชาติ ใหเกงกาจเจิดจํารญู เพอ่ื ความสขุ เพมิ่ พูน ของชาวไทยเรา เอย. 3. เพลงราํ ซิมารํา รําทา ราํ สา ย ราํ มาซิมาราํ เริงระบาํ กนั ใหสนกุ ยามงานเราทาํ งานจริงจรงิ ไมละไมท ิ้งจะเกดิ เข็ญขุก ถงึ ยามวา งเราจงึ รําเลน ตามเชงิ เชนเพื่อใหส รางทกุ ข ตามเยย่ี มอยา งตามยคุ เลน สนกุ อยางวัฒนธรรม เลน อะไรใหม ีระเบียบ ใหง ามใหเ รียบจงึ จะคมขาํ มาซิมาเจา เอยมาฟอ นราํ มาเลนระบําของไทยเรา เอย. 4. เพลงคนื เดอื นหงาย ราํ ทา สอดสรอยมาลาแปลง ยามกลางคืนเดอื นหงาย เยน็ พระพายโบกพลว้ิ ปลวิ มา เย็นอะไรกไ็ มเยน็ จิต เทา เยน็ ผกู มติ รไมเบือ่ ระอา เยน็ รม ธงไทยปกไทยท่วั หลา เย็นย่ิงนํา้ ฟามาประพรม เอย.

62 ตวั อยาง ลกั ษณะทารําของราํ วงมาตรฐาน ทาสอดสรอ ยมาลา ทาชักแปง ผัดหนา

63 ทา นกแขกเตาเขา รัง เร่อื งที่ 3.5 การอนรุ กั ษน าฏศิลปไ ทย นาฏศิลปไ ทยมีแนวทางในการอนุรกั ษก รี่ ปู แบบ แนวทางในการอนรุ กั ษน าฏศลิ ปไทยมี 2 รปู แบบน้ี เพอื่ การสืบทอดและสง เสรมิ ให นาฏศลิ ปไทยเปนมรดกทางวฒั นธรรมท่แี สดงถงึ เอกลักษณของชาตแิ ละเปนศลิ ปท่มี ีคุณคาควร แกการอนุรักษและสบื ทอด 1. การอนุรักษร ูปแบบ หมายถงึ การรักษาใหค งรูปดงั เดิม เชน เพลงพ้นื บา นก็ตอ ง รกั ษาขน้ั ตอนการรอง ทํานอง การแตงกาย ทาราํ ฯลฯ หรือหากจะผลิตขึน้ ใหมก ็ใหร กั ษารปู แบบเดิมไว 2. การอนุรกั ษเ น้ือหา หมายถงึ การรักษาในดานเนื้อหาประโยชนคุณคาดว ยวธิ กี าร ผลติ การรวบรวมขอมลู เพอื่ การศึกษา เชน เอกสาร และส่อื สารสนเทศตางๆ

64 นาฏศลิ ปไทยมแี นวทางในการอนรุ กั ษอ ยา งไร ในทีน่ ้ีจะขอนําเสนอแนวทางในการสง เสริมเพ่ืออนุรกั ษนาฏศิลปไ ทย ดงั น้ี 1. จัดการศกึ ษาเฉพาะทาง สงเสริมใหมีสถาบันการศึกษาดานนาฏศิลปจัดการเรียน การสอน เพอ่ื สบื ทอดงานศลิ ปะดานนาฏศิลป เชน วิทยาลัยนาฏศิลป สถาบันเอกชน องคกร ของรฐั บางแหง ฯลฯ 2. จดั การเรยี นการสอนในข้นั พืน้ ฐาน โดยนาํ วชิ านาฏศิลปจัดเขาในหลักสูตรและเขา สูระบบการเรียนการสอนทุกระดับ ตามระบบที่ควรจะใหเยาวชนไดรับรูเปนขั้นตอนต้ังแต อนุบาล – ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ตลอดจนสถาบันการศึกษาทุกระดับ จัดรวบรวมขอมลู ตา ง ๆ เพื่อประโยชนตอ การศึกษาคนควา และบรกิ ารแกชมุ ชนไดด ว ย 3. มีการประชาสัมพันธในรูปแบบส่ือโฆษณาตาง ๆ ท้ังวิทยุ โทรทัศน และ หนังสือพิมพ โดยนําศิลปวัฒนธรรมดานนาฏศิลปเขามาเก่ียวของเพื่อเปนการสรางบทบาท ของความเปน ไทยใหเปนทร่ี จู กั 4. จัดเผยแพร ศิลปวัฒนธรรม ในรูปแบบการแสดงนาฏศิลปแกหนวยงานรัฐและ เอกชน โดยทั่วไปทง้ั ภายในประเทศและตางประเทศ 5. สงเสรมิ และปลูกฝง มรดกทางศิลปวัฒนธรรมภายในครอบครัว ใหรูซึ้งถึงความเปน ไทยและอนรุ ักษร ักษาเอกลกั ษณไทย

65 กจิ กรรมทายบทท่ี 3 3.1 เครื่องแตง กายเปนองคป ระกอบหนึ่งของการแสดงนาฏศิลปไทย ที่สื่อถึงความเปนไทย มี ลักษณะแตกตา งกนั ไปตามแตล ะบทบาทของตวั ละคร ขอที่12 ใหผ เู รยี นเขียนชื่อชิ้นสวนของเครื่องแตงกายยืนเครื่องพระ ลงในภาพตาม หมายเลขใหถ ูกตอง 3 ชิ้นสวน (3 คะแนน) *ภาพที่ 12 ............................................................................................ *ภาพท่ี 13 3. ................................... 1. ................................... 2. ...................................

66 ขอ ที่ 13 ใหผูเรยี นเขยี นชอื่ ชน้ิ สวนของเครื่องแตง กายยนื เครื่องนาง ลงในภาพ ตามหมายเลขใหถูกตอ ง 3 ช้ินสว น (3 คะแนน) *ภาพท่ี 14 ............................................................................................ *ภาพท่ี 15 3. .................................. 1. ................................... 2. ...................................

67 3.2 โขน เปน การแสดงนาฏศิลปไทยประเภทหนึ่ง โดยมศี ิลปะหลายรูปแบบผสมผสานกันและ มีเอกลกั ษณเ ฉพาะตวั ขอที่ 14 ใหผูเรียนเขียนสิ่งที่ตองสวม เพื่อแสดงเอกลักษณของรูปแบบการแสดง นาฏศลิ ปโ ขนลงใตภาพใหถูกตอ ง (3 คะแนน) *ภาพท่ี 16 *ภาพที่ 17 *ภาพท่ี 18 สวม............... สวม............. สวม.............. 3.5 นาฏยศัพทในนาฏศิลปไทย หมายถึงศัพทเฉพาะทางนาฏศิลปเปนภาษาท่ีใชเปน สัญลกั ษณแ ละส่อื ความหมาย กนั ในวงการนาฏศิลปไทย ขอที่ 15 ใหผูเรียนเขียนช่ือทารํา \"จีบควํ่า\" ลงใตภาพท่ีบอกอาการของทาจีบ ควํ่าไดถ ูกตอ ง (3 คะแนน) *ภาพท่ี 19 *ภาพท่ี 20 *ภาพที่ 21 ทาราํ \".............\" ทารํา \"..............\" ทา ราํ \".............\"

68 3.6 ภาษาทาในนาฏศิลปไทย หมายถึงการแสดงกิริยาทาทางเพ่ือส่ือความหมายแทนคําพูด อารมณภ ายในและอิรยิ าบถ ขอท่ี 16 ใหผูเรียนเขียนชื่อ ภาษาทา\"รัก\"ลงใตภาพแสดงทาทางท่ีใชแทนอารมณรัก ไดถกู ตอ ง (3 คะแนน) *ภาพท่ี 22 *ภาพที่ 23 *ภาพท่ี 24 ภาษาทา\".........\" ภาษาทา \"..........\" ภาษาทา\"..........\" 3.9 ราํ วงมาตรฐาน เปนการแสดงท่ีมีวิวัฒนาการมาจากรําโทน สามารถดัดแปลง สรางเพลง และทา รําใหมไ ด เพือ่ ประยกุ ตทา ราํ วงมาตรฐานไปใชก ับเพลงอนื่ ๆในโอกาสตา งๆ ขอที่ 17 ใหผเู รียนเขียนชือ่ เพลงราํ วงมาตรฐานลงใตภาพที่ใชทารํา \"สอดสรอยมาลา\" ไดถ ูกตอง (3 คะแนน) *ภาพท่ี 25 *ภาพที่ 26 *ภาพที่ 27 ชื่อเพลง \"................\" ชอื่ เพลง \".................\" ชอื่ เพลง \"................\"

69 ขอที่ 18 ใหผูเรียนเขียนช่ือทารําวงมาตรฐาน ลงใตภาพท่ีใชเพลงรําวงมาตรฐาน \"หญิงไทยใจงาม\"ไดถกู ตอ ง (3 คะแนน ) *ภาพท่ี 28 *ภาพท่ี 29 *ภาพที่ 30 ชอื่ ทา\"...............\" ชอ่ื ทา\".................\" ช่ือทา \"..............\"

70 บทที่ 4 นาฏศิลปไ ทยกบั การประกอบอาชีพ เรือ่ งท่ี 4.1 แนวทางการนาํ นาฏศิลปไทยไปใชใ นการประกอบอาชีพ นาฏศิลปไทยมแี นวทางในการประกอบอาชพี อยางไร แนวทางในการประกอบอาชีพนาฏศิลปไทย ไดแก อาชีพการละเลนพื้นเมืองของ แตล ะภาค เชน 1. อาชีพการแสดงหนังตะลงุ 2. อาชีพการแสดงลเิ ก 3. อาชีพการแสดงหมอลํา เรื่องท่ี 4.2 อาชีพการแสดงหนงั ตะลงุ อาชพี การแสดงหนงั ตะลุงมขี ั้นตอนอยางไร ข้ันตอนการแสดงหนังตะลุง มกี ารลําดบั การเลน ดงั น้ี 1. ตั้งเคร่ืองเบิกโรง เปนการทําพิธีเอาฤกษ ขอที่ตั้งโรงและปดเปาเสนียดจัญไร เริ่ม โดยเม่ือคณะหนังขนึ้ โรงแลว นายหนังจะตกี ลองนําเอาฤกษ ลูกคบู รรเลงเพลงเชิด ชั้นน้ีเรียกวา ตง้ั เครื่อง 2. โหมโรง การโหมโรงเปนการบรรเลงดนตรลี วน ๆ เพ่ือเรียกคนดู และใหนายหนังได เตรยี มพรอ ม การบรรเลงเพลงโหมโรงเดิมท่ีเลากันวาใช “เพลงทับ” คือใชทับเปนตัวยืนและ เดินจงั หวะทํานองตาง ๆ กนั ไป 3. ออกลิงหัวค่ํา เปนธรรมเนียมการเลนหนังตะลุงสมัยกอน ปจจุบันเลิกเลนแลว เขาใจวา ไดร ับอทิ ธิพลจากหนังใหญ เพราะรูปท่ีใชสวนใหญเปนรูปจับ มีฤาษีอยูกลาง ลิงขาว กับลิงดาํ อยูคนละขาง แตรปู ที่แยกเปนรูปเดย่ี วๆ 3 รูป แบบเดียวกับของหนงั ตะลุงกม็ ี 4. ออกฤาษี เปนการเลนเพ่ือคารวะครู และปดเปาเสนียดจัญไร โดยขออํานาจจาก พระพรหม พระอิศวร พระนารายณ และเทวะอ่ืน ๆ และบางหนังยังขออํานาจจากพระ รตั นตรัยดว ย

71 5. ออกรูปฉะ หรือรูปจบั คําวา “ฉะ” คือสูรบ ออกรปู ฉะเปนการออกรูปจากพระราม กบั ทศกณั ฐใ หต อ สกู นั วธิ ีเลนใชทาํ นองพากยค ลายหนังใหญ การเลนชดุ นห้ี นังตะลุงเลิกเลนไป นานแลว 6. ออกรูปปรายหนาบท รปู ปรายหนาบท เปนรปู ผูชายถือดอกบัวบาง ธงชาติบาง ถือ เปนตัวแทนของนายหนัง ใชเลนเพ่ือไหวครู ไหวส่ิงศักด์ิสิทธิ์และผูท่ีหนังเคารพนับถือทั้งหมด ตลอดทั้งใชรองกลอน ฝากเนื้อฝากตัวกบั ผชู ม 7. ออกรูปบอกเรื่อง รูปบอกเรื่องเปนรูปตลก หนังสวนใหญใชรูปขวัญเมืองเลนเพื่อ เปนตัวแทนของนายหนัง ไมมีการรองกลอน มีแตพูด จุดประสงคของการออกรูปนี้เพ่ือบอก กลาวกบั ผชู มถงึ เรอ่ื งนยิ ายท่หี นังจะหยบิ ยกขึน้ แสดง 8. เก้ียวจอ เปนการรองกลอนสั้น ๆ กอนต้ังนามเมืองเพ่ือใหเปนคติสอนใจแกผูชม หรอื เปน กลอนพรรณนา ธรรมชาตแิ ละความในใจ กลอนทร่ี องนี้หนังจะแตงไวกอน และถือวา มคี วามคมคาย 9. ต้ังนามเมือง หรือต้ังเมือง เปนการออกรูปกษัตริย โดยสมมติขึ้นเปนเมือง ๆ หน่ึง จากนัน้ จึงดําเนนิ เหตกุ ารณไปตามเรื่องทกี่ าํ หนดไว เร่ืองที่ 4.3 อาชีพการแสดงลเิ ก อาชีพการแสดงลเิ ก มีขนั้ ตอนอยางไร ขั้นตอนการแสดงลิเกมีวิธีการแสดง คอื เดนิ เรอ่ื งรวดเร็ว ตลกขบขนั เร่มิ ดวยโหมโรง 3 ลา จบแลวบรรเลงเพลงสาธุการ ใหผูแสดงไหวครู แลวจึงออกแขก บอกเรื่องที่จะแสดง สมัยกอนมีการรําถวายมือหรือรําเบิกโรง แลวจึงดําเนินเรื่อง ตอมาการรําถวายมือก็เลิกไป ออกแขกแลว กจ็ ับเรื่องทนั ที การรา ยรํานอยลงไปจนเกอื บไมเหลือเลย คงมีเพียงบางคณะท่ียัง ยดึ ศลิ ปะการรําอยู ผแู สดง เดิมใชผชู ายลวน ตอ มาแสดงชายจรงิ หญงิ แทน้ัน ผูแสดงตองมีปฏิภาณในการ รองและเจรจา ดําเนินเร่ืองโดยไมมีการบอกบทเลย หัวหนาคณะจะเลาใหฟงกอนเทาน้ัน นอกจากนี้ การเจรจาตองดัดเสยี งใหผ ิดปกติ ซึ่งเปนเอกลกั ษณของลิเก แตตัวสามัญชนและตัว ตลกพูดเสียงธรรมดา เพลงและดนตรี ดําเนินเร่ืองใชเพลงหงสทองชั้นเดียว แตดัดแปลงใหดนไดเนื้อความ มาก ๆ แลวจงึ รบั ดวยปพ าทย แตถา เลนเร่ืองตางภาษา ก็ใชเพลงท่ีมีสําเนียงภาษานั้น ๆ ตาม

72 ทองเรื่อง แตด น ใหค ลายหงสท อง ตอ มานายดอกดนิ เสือสงา ไดด ัดแปลงเพลงมอญครวญของ ลิเกบนั ตนทใี่ ชก ับบทโศก มาเปน เพลงแสดงความรกั ดวย เรอ่ื งท่ีแสดง นิยมใชเรอื่ งละครนอก ละครใน และเรื่องพงศาวดารจีน มอญ ญวน เชน สามกก ราชาธริ าช การแตงกาย แตงตัวดวยเคร่ืองประดับสวยงาม เลียนแบบเครื่องทรงกษัตริย จงึ เรยี กวา ลิเกทรงเคร่ือง “สมัยของแพง” ก็ลดเครอ่ื งแตง กายทแ่ี พรวพราวลงไป แตบางคณะก็ ยังรักษาแบบแผนเดิมไว โดยตัวนายโรงยังแตงเลียนแบบเคร่ืองทรงของกษัตริยในสวนที่มิใช เครื่องตน เชน นงุ ผา ยกทอง สวมเสื้อเขมขาบหรอื เยยี รบบั แขนใหญถึงขอมือ คาดเข็มขัดนอก เสื้อ ประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณตาง ๆ แตดัดแปลงเสียใหม เชน เครื่องสวมศีรษะ เคร่ืองประดับหนาอก สายสะพาย เคร่ืองประดับไหล ตัวนางนุงจีบยกทอง สวมเส้ือแขน กระบอกยาว หม สไบปกแพรวพราว สวมกระบังหนา ตอยอดมงกฎุ ทแี่ ปลกกวาการแสดงอื่น ๆ คอื สวมถุงเทายาวสีขาวแทนการผดั ฝุน อยางละคร แตไมสวมรองเทา สถานท่ีแสดง ลานวัด ตลาด สนามกวาง ๆ โดยปลูกเพิงสูงระดับตา ดานหนาเปนที่ แสดง ดา นหลังเปน ทพ่ี ักทแี่ ตงตวั เรือ่ งที่ 4.4 อาชพี การแสดงหมอลาํ อาชีพการแสดงหมอลาํ มขี นั้ ตอนอยางไร ขั้นตอนการแสดงหมอลาํ มีวิธกี ารแสดง ประกอบดว ยผูแสดงและผบู รรเลงดนตรี คือ หมอแคน แบง ประเภทหมอลําดงั น้ี 1. หมอลาํ พ้ืน ประกอบดวยหมอลาํ 1 คน หมอแคน 1 คน 2. หมอลํากลอน ประกอบดว ย หมอลํา 2 - 3 คน และหมอแคน 1 - 2 คน 3. หมอลาํ เร่อื งตอกลอน ประกอบดว ยหมอลาํ หลายคน เรยี ก หมอลาํ หมู ดนตรี ประกอบคอื แคน พณิ ฉ่งิ กลอง และเครอื่ งดนตรสี ากล 4. หมอลาํ เพลิน ประกอบดวยหมอลาํ หลายคนและผูบรรเลงดนตรีหลายคน สถานท่ีแสดง เปนมหรสพท่ีใชในงานเทศกาล งานบวช งานกฐิน งานวันเกิด งานศพ ฯลฯ เปนมหรสพทีป่ ระชาชนชาวอสี านในอดีตนิยมชมช่ืนมาก

73 กจิ กรรมที่ 1 ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวงั บอกทมี่ าและประเภทของนาฏศิลปไ ทยได คําช้ีแจง ใหผ ูเรยี นตอบคําถามตอไปน้ี 1. นาฏศลิ ปไ ทยเกิดขน้ึ จากเหตใุ ด 2. นาฏศิลปไ ทยมกี ีป่ ระเภท อะไรบา ง จงอธบิ าย 3. ใหผูเรยี นเขียนช่อื การแสดงราํ และระบําของนาฏศิลปไทยที่เคยชมใหมากทีส่ ดุ 4. ใหผูเรียนหาภาพและประวัติการแสดงเกี่ยวกับนาฏศิลปไทย กิจกรรมท่ี 2 ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั 1. บอกความหมายของนาฏยศพั ทได 2. เขาใจสุนทรยี ะของการแสดงนาฏศิลปไ ทยตามหลกั การใชภาษาทา คาํ ชี้แจง ใหผเู รียนตอบคําถามตอไปน้ี 1. อธิบายความหมายของนาฏยศพั ท พรอมยกตัวอยางพอสงั เขป 2. อธบิ ายความหมายของภาษาทา ในนาฏศลิ ปไ ทย 3. แบง กลมุ คิดภาษาทา กลุม ละ 3 ประโยค ออกมาแสดงภาษาทา ทค่ี ิดไวท ีละกลมุ โดยใหก ลุมอ่นื เปนผูท ายวาภาษาทา นน้ั ๆ หมายถึงอะไร กจิ กรรมที่ 3 ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวัง 1. แสดงความรสู กึ ความคิดเหน็ ไดอยา งมีเหตุผลและสรา งสรรค 2. รบั ฟงความคิดเห็นของผอู น่ื และนําไปปรับใชไดอยา งมเี หตผุ ล คําชี้แจง ใหผ ูเ รียนบอกช่อื การแสดงนาฏศิลปไ ทยทเี่ คยชม แลว แสดงความคิดเหน็ 1. เรื่องที่ชม 2. เน้ือเรื่อง 3. ตวั แสดง 4. ฉาก 5. ความเหมาะสมของการแสดง

74 กิจกรรมท่ี 4 ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวัง 1. บอกประวตั ิความเปนมาของรําวงมาตรฐานได 2. แสดงราํ วงมาตรฐานไดอยา งถูกตองเหมาะสม คาํ ชแ้ี จง 1. จงอธิบายประวตั ิความเปน มาของรําวงมาตรฐาน 2. ราํ วงมาตรฐานนําไปแสดงในโอกาสใดบาง จงอธบิ าย 3. ใหผูเรียนแบงกลุม ฝกการแสดงราํ วงมาตรฐาน กลุม ละ 3 เพลง แสดงใหเ พอื่ นดทู ี ละกลุม กจิ กรรมท่ี 5 ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั รคู ุณคาของนาฏศลิ ปไ ทยและแนวทางอนุรกั ษน าฏศิลปไ ทย คาํ ช้ีแจง ใหผเู รยี นตอบคําถามตอไปนี้ 1. ถาหากไมมนี าฏศลิ ปไ ทย ประเทศไทยจะเปนอยางไร 2. ผเู รยี นมีแนวทางการอนรุ ักษน าฏศลิ ปไ ทยอยา งไรบา ง กจิ กรรมท่ี 6 ผลการเรียนรูท่คี าดหวงั บอกลกั ษณะท่ีมาและประเภทของอาชีพนาฏศิลปไทยได คาํ ชแี้ จง ใหผ ูเรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ 1. อธิบายขนั้ ตอนของอาชีพการแสดงหนงั ตะลุง 2. อธิบายขน้ั ตอนของอาชีพการแสดงลิเก 3. อธบิ ายขน้ั ตอนของอาชีพการแสดงหมอลํา

75 กิจกรรมทา ยบทที่ 4 4.1 นาฏศลิ ปไ ทย มีแนวทางในการประกอบอาชีพไดแก อาชีพการละเลนพ้ืนเมืองของแตละ ภาค เชน อาชีพการแสดงหนังตะลุง อาชีพการแสดงลเิ ก อาชพี การแสดงหมอลาํ ขอที่ 19. ใหผูเรียนเขียนชื่อ อาชีพการแสดงที่เปนการละเลนพ้ืนเมืองของแตละภาค ลงใตภ าพใหถ ูกตอ ง (3 คะแนน) *ภาพท่ี 31 ช่ือการแสดง................. เปน การละเลน พืน้ เมอื งของภาค.................... *ภาพที่ 32 ช่ือการแสดง.................. เปน การละเลนพนื้ เมืองของภาค....................

76 *ภาพที่ 33 ชื่อการแสดง................... เปนการละเลน พืน้ เมอื งของภาค..................................

77 เฉลยกิจกรรมทา ยบทที่ 1 1.1 จุด เสน สี แสง-เงา รูปรา ง มีความสาํ คัญในการสรา งงานทัศนศิลปไ ทยไดอ ยา งเหมาะสม ขอที่1 จากการศึกษาถึงความสําคัญของ \"แสง-เงา\" ใหผูเรียนเขียน สรุปความรูสึก ทีแ่ สง-เงาทําใหภาพทีม่ องเหน็ มคี วามรูสกึ เปน 3 มิติ (2 คะแนน) แนวเฉลย 1. รสู ึกวา ภาพนั้นมีระยะความต้ืน-ลกึ 2. รูสกึ วาภาพนัน้ มรี ะยะใกล- ไกล 3. รสู กึ วาภาพนั้นมีความกลมกลืนของแสง-เงา 1.2 ทศั นศลิ ปไทย ประกอบดว ย จติ รกรรม ประติมากรรม สถาปต ยกรรม ภาพพมิ พ ขอท่ี 2. ใหผูเรียนเขียน สรุปลักษณะวิธีการเขียนภาพจิตรกรรมไทย 6 ขอ (3 คะแนน) แนวเฉลย 1. เขยี นภาพเปนสองมิติ (มีความกวา งxยาว) 2. ไมแสดงแสง-เงาในภาพ 3. เขียนสีเรียบ ๆ แบน ๆ 4. นิยมใชเสน โคง ในการวาดภาพใหดูเคลอื่ นไหว นุม นวล 5. นยิ มตดั เสนในภาพใหด ชู ดั เจน 6. เขยี นตัวพระ ตวั นาง มลี ีลาทา ทางเหมอื นกนั ใชส เี ครอ่ื งประดบั แสดงความแตกตา ง 7. เขียนแบบ ตานกมอง คอื มมุ มองจากทส่ี งู ลงสูทตี่ าํ่ 8. เขียนตดิ ตอ กนั เปน ตอนๆจากซา ยมือไปขวามอื 9. เขยี นประดับตกแตง ดว ยลวดลายไทย

78 1.3 ความงามของทัศนศิลปไ ทย สามารถเกิดจากความงามตามธรรมชาติได ขอท่ี 3 ใหผูเรียนเขียน สรุปสิ่งตาง ๆ ที่มีผลหรือมีอิทธิพลตอการสรางผลงาน ทัศนศลิ ปไ ทย 2 ขอ (2 คะแนน) แนวเฉลย 1. จากความเชอื่ ความศรทั ธาในศาสนา 2. จากธรรมชาติและสิ่งแวดลอ มของสังคมไทย 1.4 จนิ ตนาการ เปนวธิ ีการหนึ่งทีน่ ําความงามจากธรรมชาติมาสรางสรรคใ หเ ปนความงามทาง ทัศนศลิ ปไทยได ขอที่ 4 ใหผูเรียนเขียน สรุปงานศิลปะไทยประเภทลายไทย 3 ขอ และบอกท่ีมา ของการนําธรรมชาติมาสรา งสรรค เปนผลงานลายไทย (3 คะแนน) แนวเฉลย 1. ลายกนก สรา งสรรคม าจากเปลวไฟ 2. ลายกระจังตาออย สรางสรรคมาจากกลีบของดอกบัวและตาไม 3.ประจํายาม สรางสรรค มาจากลูกจนั ทร 4. ลายรวงขาว สรา งสรรคม าจากรวงขา ว ขอที่ 5 ใหผูเรียนเขียน สรุปองคประกอบศิลปของงานสถาปตยกรรมไทยที่นํา ธรรมชาตมิ าสรางสรรค 3 ขอ (3 คะแนน) แนวเฉลย 1. หางหงส ท่ตี ิดต้งั อยปู ลายจนั ทนั ลกั ษณะคลายหางหงส 2. รวงผ้งึ ท่ีประดับอยูใ ตข อ่ื ดา นหนา ของพระอุโบสถ หรอื วิหาร มีลกั ษณะเปน รูปคลา ยรังผง้ึ 3. บวั หัวเสา ประดับบนหวั เสา มีรูปแบบมาจากดอกบวั

79 1.5 ความงามทเี่ กดิ จากความสรา งสรรคของมนุษย นบั วา มีคณุ คาในงานทัศนศลิ ปไ ทย ขอที่ 6 ใหผูเรียนเขียน ระบุงานทัศนศิลปไทยมีคุณคาอยางไร และคุณคาผลงาน ทัศนศลิ ปไทยมีกี่ประเภท (3 คะแนน) แนวเฉลย คุณคาของงานทัศนศิลปไทยแสดงใหเห็นความเปนอัจฉริยะที่บงบอกถึงความเจริญทางดาน จติ ใจและสติปญ ญา คา ผลงานทัศนศิลปไทย มี 3 ประการคอื 1. คุณคาทางความงาม 2. คณุ คาทางเร่อื งราว 3. คณุ คาในการยกระดบั จติ ใจ ขอที่ 7 ใหผูเรียนนําหลักการจัดทางศิลปะไปใชในการออกแบบท่ีอยูอาศัย 3 ขอ โดยใช หัวขอ ตอ ไปน้ี 1) ความกลมกลืน 2) การตัดกัน 3) เอกภาพ 4) การซํา้ 5) การเนน 6) ความสมดุล แนวเฉลย 1. ความกลมกลืนในการตกแตงภายใน เชนการใชเครื่องเรือนท่ีกลมกลืนกัน และความ กลมกลนื ของสีทใี่ ชทาบาน 2. การตัดกัน นํามาใชใ นการตกแตง เชนการใชเครือ่ งเรอื น เพ่อื สรางจดุ เดนหรอื ความสนใจ 3. เอกภาพ ใชใ นการตกแตง ภายใน เชน การรวมพืน้ ท่ีในหอ งตา งๆใหเหมาะสมกับกิจกรรม ที่มใี นบา น 4. การซ้าํ ใชในการตกแตง เชน การเลือกใชก ระเบ้อื งปพู ้นื หรอื การเลือกภาพประดับผนังหอง 5.การเนน ใชในการตกแตง เชน ใชการเนนดวยสีทาบาน แสงสวางเครื่องเรือน อุปกรณ เครอ่ื งใชต างๆ

80 6. ความสมดุล ใชในการตกแตง เชน การจัดเคร่ืองเรือนใหมีความเหมาะสมโดยใหมีความ สมดุลกบั สถานท่ี ขอท่ี 8 ใหผูเรียนใชดินสอหรือปากกาลูกลื่น วาดภาพลายเสนโดยใชเสนประเภท ตา ง ๆ เชน เสน ตรงแนวตง้ั / เสน ตรงแนวนอน/ เสนตรงแนวเฉียง/ เสนตัดกัน/ เสนโคง/ เสน คด/ เสนประ/ เสนขด/ เสนหยัก ฯลฯ ลงในพ้ืนกรอบสีเ่ หลี่ยม (3 คะแนน) เกณฑก ารใหคะแนน สามารถวาดภาพโดยใชเสน ตา งๆได 3 ประเภทให 1 คะแนน สามารถวาดภาพโดยใชเสน ตา งๆได 6 ประเภทให 2 คะแนน สามารถวาดภาพโดยใชเสน ตา งๆได 9 ประเภทให 3 คะแนน

81 เฉลยกจิ กรรมทา ยบทท่ี 2 2.1 เคร่ืองดนตรีไทย มีการสันนิษฐานวาเกิดจากความคิดและสติปญญาของคนไทยโดยมี วิวัฒนาการเริ่มจากสมัยสุโขทัย สมัยกรุงศรีอยุธยา สมัยกรุงธนบุรี และสมัยกรุงรัตนโกสินทร ทัง้ น้ี วงปพ าทยและวงมโหรี มีปรากฏในทกุ สมัย ขอที่ 9 ใหผูเรียนเขียนช่ือเคร่ืองดนตรีไทย ท่ีประกอบกันเปนวงมโหรี ในสมัยกรุง รัตนโกสนิ ทร ลงใตภาพใหถกู ตอ ง (3 คะแนน) เฉลย ภาพท่ี 1 ชือ่ เครื่องดนตรไี ทยคอื \"ระนาด\" ภาพท่ี 2 ชอ่ื เครอื่ งดนตรีไทยคือ \"ฆอง\" ภาพที่ 3 ชือ่ เคร่อื งดนตรไี ทยคอื \"จะเข\"

82 คําอธบิ าย: สมัยกรุงรัตนโกสินทร วงมโหรี เปนการรวมกันของวงเครื่องสาย ที่ประกอบดวย เครื่องดนตรีทม่ี ีสาย เชน จะเข ซอ และวงปพาทย ท่ีประกอบดวยเครื่องตีเปนสวนใหญไดแก ระนาด ฆอง แตตดั ปอ อกเพราะเสียงดังกลบเสยี งเครื่องสายอนื่ หมด 2.2 เทคนคิ วธิ กี ารเลน เครื่องดนตรีไทยไดมีการปรับปรุงอยางตอเน่ือง เชน วงปพาทย ในสมัย รัชกาลท่ี 6 ทําใหรูปแบบของวงดนตรีไทยเปลี่ยนแปลงพัฒนา สวนหนึ่งมาจากการนําเครื่อง ดนตรีของตางชาติมาบรรเลงผสม ขอ ท่ี 10 ใหผูเรยี นเขยี นชื่อเคร่ืองดนตรีในวงปพ าทยสมยั รชั กาลท่ี 6 ซ่ึงไดนําเคร่ืองดนตรี ของตางชาติ มาบรรเลงผสม ลงใตภาพใหถูกตอง (6 คะแนน) เฉลย ภาพท่ี 4 ชอื่ เครื่องดนตรคี ือ \"เปงมาง\" นาํ มาจาก มอญ ภาพที่ 5 ชอ่ื เครื่องดนตรคี ือ \"องั กะลุง\" นาํ มาจาก ชวา หรอื อนิ โดนีเซยี

83 ภาพที่ 6 ช่อื เครอื่ งดนตรีคือ \"ขมิ \" นํามาจาก จนี คาํ อธิบาย: เปงมาง เปน เคร่อื งดนตรขี องชาวมอญมีลักษณะเปนกลองขนาดตางกันเจ็ดลูก ผูกเปนราวในชุดเดียวกันเรยี งจากใหญไ ปหาเลก็ ตวั กลองขึงดวยหนงั สองหนา องั กะลงุ เปนเครือ่ งดนตรีประเภทตี มที ีม่ าจากประเทศอนิ โดนเี ซยี (ชวา) ทําดวยไมไผทั้งตัวอังกะลุงและราว ในสมัยรัชกาลท่ี 6 ไดพัฒนาการบรรเลงจากการไกวเปน การเขยา และเปนตน แบบของการบรรเลงอังกะลุงในปจ จุบัน ขิม เครื่องดนตรีจีนท่ีมีรูปคลายพระจันทรคร่ึงซีกใชตี ในสมัยรัชกาลท่ี 6 ไดเ ปล่ียนสายลวดทองเหลอื งใหมขี นาดโตข้นึ เทียบเสียงเรียงลําดบั และเปลย่ี นไมต ีใหใหญและ กา นแข็งข้นึ หยองหนาข้ึน เพอื่ ใหเ สียงดังและเกิดความนุม นวล 2.3 ภูมปิ ญญาทางดนตรีไทย แสดงใหเหน็ ถึงการอนุรักษท่ีดีงาม ทั้งจารีตประเพณี วัฒนธรรม และการประดษิ ฐคิดคน เชน คุณคา ของความงามและความไพเราะของเพลงและเครื่องดนตรี ไทย ขอท่ี 11 ใหผ เู รียนเขียนช่ือเพลงที่เปนผลงานลงใตภาพของภูมิปญญาทางดนตรีไทย ใหถ กู ตอง (5 คะแนน) เฉลย ภาพท่ี 7:รชั กาลที่ 2 ชือ่ เพลง \"บหุ ลนั ลอยเลื่อน หรือบหุ ลันลอยฟา\"

84 ภาพท่ี 8:นายมนตรี ชอ่ื เพลง \"ตอ ยติง่ 3 ช้ัน\" ภาพที่ 9:พระยาประสาน ช่อื เพลง \"เชดิ จั่น 3 ชั้น\" ภาพที่ 10:นายบญุ ยงค ช่ือเพลง \"สยามมานุสสติ เถา\" ภาพที่ 11: พระองคเจา เพ็ญ ชอ่ื เพลง \"ลาวดวงเดอื น\"

85 เฉลยกจิ กรรมทายบทท่ี 3 3.1 เคร่ืองแตงกายเปนองคประกอบหนึ่งของการแสดงนาฏศิลปไทย ที่สื่อถึงความเปนไทย มีลักษณะแตกตา งกันไป ตามแตล ะบทบาทของตัวละคร ขอที่12 ใหผูเรียนเขียนชื่อช้ินสวนของเครื่องแตงกายยืนเคร่ืองพระ ลงในภาพ ตามหมายเลขใหถูกตอ ง 3 ชิ้นสว น (3 คะแนน) *ภาพท่ี 12 เฉลย ชน้ิ สวนของเครอ่ื งแตง กายยืน เครือ่ งพระ *ภาพที่ 13 2.อินทรธนู 3.หอ ยหนา หรือชายไหว 1.ชฎา

86 ขอที่ 13 ใหผูเรียนเขียนช่ือช้ินสวนของเครื่องแตงกายยืนเคร่ืองนาง ลงในภาพตาม หมายเลขใหถ กู ตอง 3 ชิน้ สว น (3 คะแนน) *ภาพที่ 14 เฉลย ชนิ้ สวนของเครื่องแตง กายยืน เครอื่ งนาง 1.มงกุฏ *ภาพที่ 15 3.สะองิ้ 2.ผา หม นาง

87 3.2 โขน เปน การแสดงนาฏศิลปไทยประเภทหนง่ึ โดยมีศิลปะหลายรปู แบบผสมผสานกนั และมเี อกลักษณเ ฉพาะตัว ขอที่ 14 ใหผูเรียนเขียนสิ่งที่ตองสวม เพื่อแสดงเอกลักษณของรูปแบบการแสดง นาฏศลิ ปโขนลงใตภ าพใหถกู ตอ ง (3 คะแนน) *ภาพท่ี 16 “สวมหัวโขน” เฉลย เอกลักษณข องโขน คือ ผูแสดงจะตองสวมหวั โขน 3.5 นาฏยศัพทในนาฏศิลปไทย หมายถึงศัพทเฉพาะทางนาฏศิลปเปนภาษาท่ีใชเปน สญั ลกั ษณและสือ่ ความหมายกนั ในวงการนาฏศลิ ปไ ทย ขอท่ี 15 ใหผูเรียนเขียนช่ือทารํา\"จีบควํ่า\" ลงใตภาพท่ีบอกอาการของทาจีบคว่ํา ไดถูกตอ ง (3 คะแนน) *ภาพที่ 20 ทาราํ \"จบี ควา่ํ \" เฉลย \"จบี ควาํ่ \" เปน การจบี โดยควา่ํ ทอ งแขนและฝา มอื ลงใหป ลายนิว้ ชล้ี งขา งลา งแลวหกั

88 3.6 ภาษาทาในนาฏศิลปไทย หมายถึงการแสดงกิริยาทาทางเพื่อสื่อความหมายแทนคําพูด อารมณภ ายในและอริ ิยาบถ ขอที่ 16 ใหผูเรียนเขียนช่ือ ภาษาทา\"รัก\"ลงใตภาพแสดงทาทางท่ีใชแทนอารมณรัก ไดถกู ตอ ง (3 คะแนน) *ภาพที่ 24 ภาษาทา \"รัก\" เฉลย ภาษาทา \"รัก\" เปน การประสานมือทั้งสองขางทาบกันระดับฐานไหล ปลายน้ิวอยูตรง ฐานไหล ขอศอกหา งจากลําตวั พอสมควร 3.9 ราํ วงมาตรฐาน เปนการแสดงที่มีวิวัฒนาการมาจากรําโทน สามารถดัดแปลง สรางเพลง และทาราํ ใหมไ ด เพ่ือประยุกตท ารําวงมาตรฐานไปใชก ับเพลงอื่น ๆ ในโอกาสตา ง ๆ ขอ ท่ี 17 ใหผ ูเรียนเขียนชือ่ เพลงราํ วงมาตรฐานลงใตภ าพท่ีใชท า รํา\"สอดสรอ ยมาลา\" ไดถูกตอ ง (3 คะแนน) เฉลย *ภาพที่ 26 ช่ือเพลง \"งามแสงเดอื น\"

89 คาํ อธบิ าย: ช่ือเพลง งามแสงเดือน ทาท่ีใชในการรําวงมาตรฐานคือ ทาสอดสรอยมาลา โดยเมอ่ื รองเนอ้ื เพลงวา \"งามแสงเดือน\" มือซายจีบหงายท่ีชายพก(ระดับหัวเข็มขัด) มือขวา ต้ังวงสงู ระดับหางคว้ิ (ชายต้ังวงระดับศรีษะ) เอยี งซา ย \"มาเยือนสองหลา\" เลื่อนมือซายท่ีจีบใหหางออกจากลําตัวเล็กนอยแลวปลอยจีบเปนมือแบ หงาย มือขวาจบี คว่าํ \"งามใบหนาเม่ืออยวู งรํา (ซาํ้ )\" มอื ซา ยพลิกขอ มือข้ึนตั้งวง มือขวาเลื่อนวงลงขางลําตัวเล็กนอย แลว เปลีย่ นจากวงเปนจีบหงายที่ชายพก เปลี่ยนเปนเอียงขวา ทาํ เชนนสี้ ลบั กนั ซายขวา \"เราเลน เพอื่ สนุก\" หญงิ หมุนตัวไปทางดานซายแลวเปล่ียนมือชายหมุนตัวไปทางดานขวาแลว เปลยี่ นมือ คาํ วา \"เราเลนเพ่อื สนกุ \" มือขวาจบี ควํา่ มอื ซา ยแบมือหงาย \"เปลื้องทุกขวายระกํา\" ยกมือซายขึ้นตั้งวง มือขวาจีบหงายท่ีชายพกเดินไปครึ่งวงกลม 4 จังหวะ \"ขอใหเ ลน ฟอนราํ \" มือซายจบี คว่ํา มอื ขวาแบมือหงาย \"เพือ่ สามัคคเี อย\" ยกมือขวาขน้ึ ต้งั วง มอื ซา ยจบี หงายทชี่ ายพก (การกา วเทา เรม่ิ กา วเทา ซายกอนโดยเทาที่กาวกับมือจีบตองเปนขางเดียวกัน ใหนับการกาว เทา 8 ครงั้ จงึ เปลีย่ นมอื 1 ครั้ง และเอียงศรีษะขา งจีบเสมอ) ขอท่ี 18 ใหผูเรียนเขียนช่ือทารําวงมาตรฐาน ลงใตภาพที่ใชเพลงรําวงมาตรฐาน\" หญงิ ไทยใจงาม\"ไดถกู ตอ ง (3 คะแนน ) เฉลย *ภาพที่ 29 ชอ่ื ทา \"พรหมสห่ี นา,ยงู ฟอ นหาง\"

90 คาํ อธิบาย: เพลง\"หญงิ ไทยใจงาม\" มเี นื้อเพลงดงั นี้ \"เดอื นพราวดาวแวววาววบั ระยบั แสงดาวประดบั สองใหเ ดอื นงามเดน ดวงหนาโสภาเพยี งเดอื นเพญ็ คุณความดีที่เห็นเสรมิ ใหเดนเลิศงาม ขวัญใจหญงิ ไทยสง ศรีชาติ รปู งามวลิ าสใจกลากาจเรอื งนาม เกยี รติยศกองปรากฏทว่ั คาม หญงิ ไทยใจงามย่งิ เดือนดาวพราวแพรว\" ทา \"พรหมสีห่ นา ,ยงู ฟอ นหาง\" เร่ิมท่ีทา พรหมสี่หนา โดยจีบควํ่าสองมือขางตัวระดับเอว หมุนจีบขึ้นแลวปลอยจีบ เปนแบมอื หงายทั้งสองมือสูงระดับศรีษะ หันปลายนิ้วออกขางศรีษะ ตอดวยทา ยูงฟอนหาง โดยแทงปลายมือท่ีตั้งขางศรีษะลง สงมือไปขางหลัง แขนตึง ฝามือควํ่าปลายนิ้วเชิดข้ึน (การกาวเทา มี 4 จงั หวะใหกา วเทาตามจังหวะท่ี 1-4 ตอ เนอ่ื งกนั ไป)

91 เฉลยกจิ กรรมทายบทท่ี 4 4.1 นาฏศิลปไทย มแี นวทางในการประกอบอาชีพไดแก อาชีพการละเลนพื้นเมืองของแตละ ภาค เชน อาชีพการแสดงหนังตะลุง อาชีพการแสดงลเิ ก อาชีพการแสดงหมอลาํ ขอ ท่ี 19 ใหผูเรยี นเขียนชื่อ อาชีพการแสดงท่ีเปนการละเลนพื้นเมืองของแตละภาค ลงใตภ าพใหถูกตอง (3 คะแนน) *ภาพท่ี 31 ช่อื การแสดงหมอลํา เปนการละเลนพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉยี งเหนือหรือภาคอสี าน *ภาพท่ี 32 ช่ือการแสดงลเิ ก เปนการละเลน พน้ื เมอื งของภาคกลาง

92 *ภาพท่ี 33 ชื่อการแสดงหนังตะลุง เปนการละเลนพนื้ เมอื งของภาคใต

93 บรรณานกุ รม สาํ นกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย. ผงั การออกขอ สอบ สาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชีวิต หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : กระทรวงศึกษาธกิ าร, มปป. สาํ นักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั . หนงั สอื เรยี นสาระ ทักษะการดําเนนิ ชวี ติ รายวชิ าศิลปศกึ ษา (ทช 21003) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2554). กรงุ เทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2555. (เอกสารอัดสาํ เนา) http ://th.wikipedia.org. (เขาถึงเม่ือวันท่ี 13 มกราคม 2557) http ://www.gotoknow.org/posts/110808 (เขาถงึ เม่ือวนั ท่ี 15 มกราคม 2557) http ://www.donphutwitthaya.com/cai/supab/ (เขา ถงึ เมอื่ วนั ท่ี 15 มกราคม 2557) http ://thaimusicamp.wordpress.com/ (เขาถงึ เมอ่ื วนั ที่ 13 มกราคม 2557) http ://webcache.gooleusercontent.com/ (เขา ถึงเม่ือวันท่ี 13 มกราคม 2557) http ://www.trueplockpanya.com/ (เขาถึงเมอ่ื วันท่ี 13 มกราคม 2557)

94 คณะผจู ัดทํา ท่ปี รกึ ษา บุญเรอื ง เลขาธิการ กศน. 1. นายประเสริฐ ทับสพุ รรณ รองเลขาธกิ าร กศน. 2. นายชาญวิทย จําจด รองเลขาธิการ กศน. 3. นายสุรพงษ จนั ทรโ อกุล ผูเ ช่ียวชาญเฉพาะดานพฒั นาส่อื การเรยี นการสอน 4. นางวทั นี สวุ รรณพทิ ักษ ผเู ชี่ยวชาญเฉพาะดานการเผยแพรทางการศกึ ษา 5. นางกนกพรรณ งามเขตต ผูอํานวยการกลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 6. นางศทุ ธินี ผูเ ขียนและบรรณาธกิ าร สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก 1. นางชอทิพย ศิริพร สถาบัน กศน.ภาคกลาง 2. นางสาวจริ าภรณ ตันตถิ าวร คณะทํางาน กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 1. นายสรุ พงษ มัน่ มะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 2. นายศุภโชค ศรีรตั นศิลป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางสาวสลุ าง เพช็ รสวาง กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวเบญ็ จวรรณ อําไพศรี กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 5. นางสาวชมพนู ท สงั ขพชิ ยั ผพู มิ พต น ฉบับ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 1. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาํ ไพศรี 2. นางสาวฐิติมา วงศบ ณั ฑวรรณ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน ผอู อกแบบปก ศรีรตั นศิลป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน นายศภุ โชค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook