TECHNOLOGY พื้ นฐาน การถ่ายภาพ
ภาพถ่ายคืองานศิลปะอย่างหนึ่งและเป็น ที่นิยมในสมัยปัจจุบัน กล้องถ่ายรูปเป็น ปัจจัยหนึ่งที่สมัยนี้หาได้ง่ายมีหลายราคา ตั้งแต่หลักพั นเป็นต้นไปจนถึงหลักหลาย แสนบาท ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของกล้อง ถ่ายภาพชนิดนั้น ๆ การถ่ายภาพและ กล้องถ่ายรูปเป็นเทคโนโลยีหรือ นวัตกรรมอย่างหนึ่งที่มีพั ฒนาการมา อย่างเป็นขั้นตอน
สร้างแรงบันดาลใจเล็กน้อย การถ่ายภาพเป็นเรื่องราวที่ฉันล้ม เหลวในการบรรยายออกมาเป็นคำพู ด เดสติน สปาร์คส์
ความหมายและ การถ่ายภาพมาจากภาษาอังกฤษว่า \"Photography\" ความเป็นมา มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คำ คือ \"Phos\" และ \"Graphein\"คำว่า \"Phos\" หมายถึง แสงสว่าง และ \"Graphein\" หมายถึง การเขียน เมื่อรวมคำทั้งสองแล้ว จึงมีความหมายว่า การเขียนด้วยแสงสว่าง การถ่ายภาพเป็นเรื่องที่ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการผลิต ภาพ โดยอาศัยองค์ประกอบพื้ นฐาน 3 ประการ ได้แก่ กล้องถ่ายภาพ วัสดุไวแสง และแสงสว่าง ฉะนั้นในการ ผลิตภาพถ่าย จะต้องมีความรู้และทักษะการใช้กล้องถ่าย ภาพ และอุปกรณ์ประกอบ หลักการในการถ่ายภาพรวมทั้ง ความรู้ด้านศิลปะ แสง สี การจัดองค์ประกอบของภาพ เป็นต้น
ตามประวัติการสื่อความหมายของมนุษย์ พบว่า มนุษย์รู้จักการใช้ภาพในการติดต่อสื่อสาร ทำความเข้าใจระหว่างกันและกันได้ก่อนที่มนุษย์ จะรู้จักการใช้ภาษาพู ดและภาษาเขียน โจฮันน์ อะมอส คอมินิอุส (Johann Amos Comenius)เป็นบุคคลคนแรกที่ได้นำภาพมาประกอบบทเรียน ในหนังสือ Orbis Picture ซึ่งถือได้ว่าเป็นหนังสือเล่มแรก ของโลกที่มีภาพประกอบ จุดประสงค์ก็คือ เพื่ อให้ผู้อ่านได้ มองเห็นภาพที่เป็นรูปธรรม เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ถูกต้อง และรวดเร็วยิ่งขึ้น ดังคำกล่าวที่ว่า \"ภาพหนึ่งภาพมี ความหมายมากกว่าคำพู ดหรือการเขียนนับพั นคำ\"
ทำไม 1. เป็นส่วนหนึ่งของสังคมออนไลน์ ต้องถ่ายภาพ ทุกวันนี้คือยุคโซเชียล เมื่อเราอัปโหลดภาพถ่ายลง ในเว็บไซต์ชุมชนการถ่ายภาพ ทั่วโลกจะเห็นภาพของ เราได้ง่ายและรวดเร็ว 2. ความทรงจำตลอดกาล ไม่ว่าจะแชร์ภาพลงบนเว็บไซต์หรือปริ้นต์ ก็ช่วยเก็บ ภาพความทรงจำไว้ทั้งในอดีตและอนาคต ให้กลายเป็น ของขวัญล้ำค่าเพี ยงชิ้นเดียวในโลก และการที่สามารถ กลับมาชมภาพถ่ายเก่า ๆ ก็ทำให้มีความสุขเมื่อนึกถึง โมเมนต์ในอดีตที่น่าประทับใจ ยิ่งตอนนี้อยู่ในยุค ดิจิตอล การสร้างความทรงจำมากมายไว้ดูภายหลัง ยิ่งง่ายนิดเดียว
ทำไม 3. มองโลกด้วยมุมมองใหม่ ๆ ต้องถ่ายภาพ ขณะถ่ายภาพเราจะต้องมองโลกผ่านเฟรมภาพสี่เหลี่ยม ถ้าตั้งใจมองหารายละเอียดอันงดงามรอบตัว มุมมองที่มีต่อ สิ่งต่าง ๆ ก็จะเปลี่ยนไป จากที่มองในมุมปกติ ก็กลายเป็นมอง ผ่านมุมมองของกล้อง ดังนั้นเมื่อช่างภาพแชร์ภาพถ่ายบนโลก ออนไลน์ ก็มักจะได้เห็นรายละเอียดเล็ก ๆ ที่ทำให้โลกแตกต่างไป จากเดิม จนหลาย ๆ คนคาดไม่ถึง 4. เชื่อมั่นในตนเอง เทคโนโลยีในกล้องดิจิตอลถูกพั ฒนาอยู่ตลอด ดังนั้นภาพถ่าย ของจึงมีโอกาสสวยงามขึ้น เมื่อได้สร้างสรรค์ภาพถ่ายที่โดดเด่น ก็ย่อมเกิดความภาคภูมิใจ พร้อมที่จะนำไปแชร์และอัปโหลดลงบน โลกออนไลน์ ซึ่งสามารถวัดผลหรือสำรวจความชื่นชอบได้ง่ายและ รวดเร็ว และนำฟีดแบคที่ได้รับกลับมาพั ฒนาฝีมือ จนมีความเชื่อ มั่นในตนเองเพิ่ มขึ้น และมีแรงบันดาลใจในการถ่ายภาพ
ทำไม 5. สร้างโอกาสใหม่ ๆ ในด้านอาชีพ ต้องถ่ายภาพ หากพบว่าตัวเองมีทักษะการถ่ายภาพที่ดี ภาพถ่ายได้รับการ ยอมรับจากคนอื่น จนเกิดแรงผลักดันและความชอบในการถ่าย ภาพ ทำไมไม่ยึดการถ่ายภาพเป็นอาชีพไปเลยล่ะ ? ไม่ว่าจะรับจ็อบ ถ่ายภาพตามงานรับปริญญา งานแต่งงาน หรืองานอื่น ๆ ก็มี โอกาสที่จะได้ก้าวหน้าในอาชีพการงาน และยังได้พั ฒนาฝีมือการ ถ่ายภาพอีก 6. สื่ออารมณ์ลงในภาพถ่าย การถ่ายภาพก็เหมือนการเขียนหนังสือ ที่สามารถบรรยาย อารมณ์ ความรู้สึกลงไปในนั้น แต่ต่างกันตรงที่ภาพถ่ายสามารถ สร้างสิ่งที่ตามองเห็นได้ ผ่านการใช้สี หรือบอกเล่าเรื่องราวเพื่ อ สื่ออารมณ์ต่าง ๆ ลงในภาพถ่ายได้ เช่น อารมณ์ dramatic หรือสีสันที่สดใส
ลักษณะของภาพดิจิตอล ภาพแว็กเตอร์ (Vecter) ภาพบิตแมป (Bitmap) เป็นภาพประเภท Resolution Independent เป็นภาพแบบ Resolution Dependent ประกอบ มีลักษณะของการสร้างให้แต่ละส่วนเป็นอิสระต่อกัน ขึ้นด้วยจุดสีต่างๆ ที่มีจำนวนคงที่ตายตัวตาม โดยแยกชิ้นส่วนของภาพทั้งหมดออกเป็นเส้นตรง การสร้างภาพที่มี Resolution หรือความละเอียด รูปทรงหรือส่วนโค้ง โดยอ้างอิงตามความสัมพั นธ์ทาง ของภาพต่างกันไป หากขยายภาพ Bitmap จะเห็น คณิตศาสตร์หรือการคำนวณเป็นตัวสร้างภาพ เป็นการ ว่ามีลักษณะเป็นตารางเล็กๆ รวมเอา Object (เช่น วงกลม เส้นตรง ทรงกลม ลูกบาศก์และอื่นๆ เรียกว่ารูปทรงพื้ นฐาน) ต่างชนิดมา ผสมกัน มีทิศทางการลากเส้นไปในแนวต่างๆ เพื่ อสร้าง ภาพที่แตกต่างกันโดยใช้คำสั่งง่ายๆ จึงเรียกภาพ ประเภทนี้ว่า Vector Graphic
ความแตกต่างระหว่างกราฟิกแบบ Bitmap และ Vector ภาพบิตแมป (Bitmap) ภาพแว็กเตอร์ (Vecter) 1. ลักษณะภาพประกอบขึ้นด้วยจุดต่างๆ มากมาย 1. ใช้สมการทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ 2. ภาพมีจำนานพิ กเซลคงที่จึงต้องการค่าความ โดยรวมเอา Object (เช่น วงกลม เส้นตรง) ละเอียดมากขึ้นเมื่อขยายภาพ โดยจะคำนวณค่าสี ต่างชนิดมาผสมกัน ทีละ pixels ทำให้ภาพแตกเมื่อขยายภาพให้ใหญ่ 2. สามารถย่อและขยายขนาดได้มากกว่า 3. เหมาะสำหรับงานกราฟิก ในแบบต้องการให้ โดยสัดส่วนและลักษณะของภาพยังเหมือนเดิม แสงเงาในรายละเอียด ความละเอียดของภาพไม่เปลี่ยนแปลง 4. แสดงภาพบนจอทันที เมื่อรับคำสั่งย้ายข้อมูล 3. เหมาะสำหรับงานแบบวาง Layout งานพิ มพ์ จากหน่วยความจำที่เก็บภาพไปยังหน่วยความจำ ตัวอักษร Line Art หรือ Illustration ของจอภาพ 4. คอมพิ วเตอร์จะใช้เวลาในการแสดงภาพมากกว่า เนื่องจากต้องทำตามคำสั่งที่มีจำนวนมากกว่า
ประเภทของไฟล์ภาพดิจิตอล .JPG .GIF .TIF เป็นไฟล์ที่มีการบันทึก เป็นไฟล์ที่มีการบีบอัด เป็นไฟล์ที่ใช้สำหรับงาน ข้อมูลแบบสูญเสียข้อมูล ข้อมูลสูง แต่จะให้ความ สิ่งพิ มพ์ เป็นส่วนใหญ่ ภาพที่ได้นำมาใช้งานทั่วๆ ไป ละเอียดของภาพมากกว่า สามารถแสดงผลความ ไฟล์ประเภทนี้จะตัดราย ทำให้ไฟล์มีขนาดเล็กมาก ละเอียดของภาพได้ทุก ละเอียดของภาพบางส่วน มักนำมาใช้งานบนอินเทอร์ ระดับตั้งแต่ภาพขาวดำไป ออก ซึ่งเป็นรายละเอียดที่ไม่ เน็ตมากที่สุด เพราะไฟล์ที่มี จนถึงภาพสี ซึ่งจะนำไปใช้ สามารถมองเห็นได้มากนัก ขนาดเล็ทำให้ไม่เยเวลาใน กับงานทางด้านการพิ มพ์ เหมะสำหรับเก็บไว้ดูหรือนำ การเปิดหน้าเว็บไชที่มี สามารถใช้ได้กับทั้งเครื่อง ไปลงอินเทอร์เน็ต รูปภาพประกอบได้ในเวลา MC และ PC โปรแกรมที่ อันรวดเร็ว ใช้ตัวอย่างเช่น PageMaker
ประเภทของไฟล์ภาพดิจิตอล .PSD .PNG เป็นไฟส์ที่เกิดจากโปรแกรม ย่อมาจาก Portable Network ตกแต่งรูปภาพคือ Photoshop Graphics ซึ่งเป็นรูปแบบของไฟล์ ไฟล์ประเภทสามารถแก้ไขได้ง่าย รูปภาพที่ถูกพั ฒนามาเพื่ อใช้สำหรับ เพราะมีการทำงานเป็นเลเยอร์ การแสดงผล บนเว็บใชต์โดยเฉพาะ มีข้อจำกัดคือมีไฟล์ขนาดใหญ่ และเพื่ อใช้แทนรูปแบบของไฟล์ GIF และสามารถเปิดได้กับโปรแกรม เป็นไฟล์ที่มีความยีดหยุ่นสูง เป็น Photoshop อย่างเดียวเท่านั้น ภาพที่มีตัววัตถุและไม่มีภาพพื้ นหลัง ไม่สามารถนำไปเปิดกับโปรแกรม จัดการรูปภาพอื่น ๆ ได้ RPA ฤดู ร้ อน 2563
การถ่ายภาพระยะต่างๆ CU : Close up MS : Medium Shot LS : Long Shot (ภาพระยะใกล้) (ภาพระยะปานกลาง) (ภาพระยะไกล) ใช้สำหรับเจาะรายละเอียด ระยะปานกลางเห็นองค์ประกอบ เห็นรายละเอียดของสภาพ เน้นความสำคัญของราย ของมากเพิ่ มมากขึ้น แวดล้อมว่าใครทำอะไรที่ไหน ละเอียดของวัตถุนั้นๆ RPA ฤดู ร้ อน 2563
มุมมองภาพ มุมสูง (High Angle ภาพมุมระดับสายตา ภาพมุมต่ำ (Low Angle) (Eye Level Angle) การตั้งกล้องถ่ายให้สูง เป็นภาพที่ตั้งกล้องถ่ายใน กว่าวัตถุ ทำให้เห็นภาพ ภาพที่ตั้งกล้องในระดับ ระดับต่ำกว่าคนหรือวัตถุที่ ได้อย่างกว้างไกล สายตาของคนหรือวัตถุ ถูกถ่าย เป็นภาพที่แหงานดู ที่ถูกถ่าย ให้ความรู้สึกมีความสำคัญ มากกว่าปกติ
ให้นักเรียนถ่ายภาพ 4 ภาพ 1.CU : Close up (ภาพระยะใกล้) 2.MS : Medium Shot (ภาพระยะปานกลาง) 3.LS : Long Shot (ภาพระยะไกล) 4.ภาพสุดยอด : เลือกภาพถ่ายที่สวยที่สุดพร้อมบอก แรงบรรดาลใจในการถ่ายภาพ อัพโหลดส่งในแบบฟอร์มตาม QR CODE นี้
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: