Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore avajanapasa

avajanapasa

Published by Nureesa Hayeema, 2018-10-10 02:14:33

Description: avajanapasa

Search

Read the Text Version

บทความภาษาไทย อวจั นภาษาในภาษาหนังสอื พมิ พ์โดย :taeytatangอวัจนภาษาในภาษาหนังสือพมิ พ์ผศ.สุภิตร อนุศาสน์ ภาษาเปน็ เครือ่ งมือท่ใี ชส้ อื่ สารจะใช้เสยี ง ท่าทาง หรอื สัญลักษณก์ ็ได้ แตจ่ ะต้องมีระบบกฎเกณฑ์ทีเ่ ข้าใจตรงกนั ระหวา่ งผู้ส่งสารและผู้รับสาร ภาษาที่ใช้สื่อสารกันเป็นปกติในชวี ติ ประจาวนั แบ่งไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอืภาษาทใ่ี ช้ถอ้ ยคา หรอื วจั นภาษาและภาษาทีไ่ มใ่ ช้ถ้อยคาหรืออวัจนภาษา ถอ้ ยคาหรือวจั นภาษา เป็นภาษาท่มี นษุ ยก์ าหนดใชแ้ ละตกลงร่วมกันเพอ่ื แทนมโนภาพของส่งิ ต่าง ๆซงึ่ สามารถรบั รไู้ ดท้ างประสาทสมั ผสั ได้แก่ ตา หู จมกู ลิ้น กาย ภาษาทไี่ ม่ใชถ้ ้อยคาหรอื อวัจนภาษา คือ กิริยาอาการต่าง ๆ ทีม่ นุษยใ์ ชส้ อื่ อารมณ์ความรสู้ กึ ความตอ้ งการ ฯลฯ บางท่านเรียกภาษาประเภทนี้ว่าภาษากาย (body language) อวัจนภาษา ของผใู้ ดส่วนใหญ่จะบ่งบอกถงึ ความรู้สกึ และบุคลกิ ภาพของผนู้ ้นั วจั นภาษา และ อวัจนภาษา มีความสัมพันธก์ นั โดยเฉพาะในขณะทีบ่ ุคคลส่อื สารกันในลกั ษณะท่ีเหน็ หนา้ เห็นตากัน ยอ่ มต้องใชท้ ้งั วัจนภาษาและอวจั นภาษา เช่น ถา้ พดู วา่ \"ฉันตอ้ งการหนงั สือเล่มนน้ั \" และชี้มือไปทห่ี นังสอื เลม่ ท่ีต้องการ ผู้รบั สารก็สามารถหยิบหนังสอื ไดถ้ ูกตอ้ ง การสอื่ สารโดยใชว้ ัจนภาษาในรปู แบบการเขยี นน้ันหากสังเกตให้ดีจะพบว่าถอ้ ยคาที่เขียนน้ันมีอวจั นภาษาปนอยดู่ ้วย เชน่ \"เขยิบ เขยบิ เขยบิ เขยบิ เขา้ มาซิ กระแซะ กระแซะ กระแซะ เขา้ มาซ\"ิ \"ใกล้ ๆ เข้าไปอีกนิด ชดิ ๆ เขา้ ไปอีกหนอ่ ย สวรรคน์ ้อยน้อย อยใู่ นวงฟอ้ นรา\" คาวา่ เขยิบ กระแซะ หรือใกล้ ๆ ชดิ ๆ ช่วยให้ผู้รบั สารเห็นกิริยาอาการ หรอื บทชมปลาในกาพย์เห่เรอื ของเจ้าฟา้ ธรรมาธิเบศร์ \"ชะแวงแฝงฝั่งแนบ วาดแอบแปบปนปลอม เหมือนพ่แี อบแนบถนอม จอมสวาทนาฎบังอร\"

คาวา่ แฝง , แนบ , แอบ เป็นคาที่ชว่ ยผูอ้ ่านมองเห็นภาพตามที่กวบี รรยายได้อย่างชดั เจน อวจั นภาษาแบ่ง เปน็ 7 ประเภท (สวนิต ยมาภัย , 2538 : 36 - 41) ดงั นี้ 1. เทศภาษา (proxemics) เป็นภาษาท่ปี รากฎจากลักษณะของสถานทที่ ี่บคุ คลทาการส่อื สารกันอยู่รวมท้ังช่องระยะทีบ่ ุคคลทาการสอ่ื สารห่างจากกัน สถานท่แี ละช่วงระยะ จะส่ือความหมายทอ่ี ยู่ในจิตสานึกของผทู้ ่กี าลังสอื่ สารกนั ได้ เชน่ บุคคลตา่ งเพศสองคนนัง่ ชิดกันอยูบ่ นมา้ นงั่ ตวั เดียวกนั ย่อมเปน็ ท่ีเขา้ ใจวา่ บุคคลท้งั สองมีความสมั พันธ์เป็นพเิ ศษ 2. กาลภาษา (chonemics) การใช้เวลาเปน็ การสื่อสารเชิงอวัจนะ เพ่ือแสดงเจตนาของผรู้ บั สาร เช่นการ ไปตรงเวลานัดหมาย แสดงถงึ ความเคารพ การใหเ้ กยี รติ และเหน็ ความสาคญั ของผ้สู ง่ สาร หรือการรอคอยดว้ ยความอดทน แสดงวา่ ธรุ ะของผรู้ อคอยมีความสาคัญมาก 3. เนตรภาษา (oculesics) เป็นอวัจนภาษาทใ่ี ชด้ วงตาส่ืออารมณ์ ความรู้สึกนึกคดิ ความประสงค์และ ทศั นคตบิ างประการในตัวผู้สง่ สาร 4. สมั ผัสภาษา (haptics) หมายถึงอวัจนภาษาทีใ่ ช้อาการสัมผัส เพอ่ื สอื่ อารมณ์ความรสู้ กึ ตลอดจนความปรารถนาท่ีฝงั ลึกอย่ใู นใจของผู้สง่ สารไปยงั ผู้รับสาร 5. อาการภาษา (kinesics) เปน็ อวจั นภาษาทอ่ี ยใู่ นรปู ของการเคลอื่ นไหวรา่ งกายเพอ่ื การส่ือสาร เช่นศรี ษะ แขน ขา ลาตัว เป็นตน้ 6. วตั ถุภาษา (objectics) เปน็ อวจั นภาษาท่เี กดิ จากการใช้และการเลอื กวัตถุมาใช้เพ่อื แสดงความหมาย บางประการ เชน่ การแต่งกายของคน ก็สามารถสอ่ื สารบอกกิจกรรม ภารกจิ สถานภาพ รสนยิ มตลอดจนอปุ นิสัยของบุคคลนนั้ ๆ ได้ 7. ปรภิ าษา (vocalics) หมายถงึ อวจั นภาษา ท่ีเกิดจากการใชน้ า้ เสียงประกอบถอ้ ยคาทีพ่ ูดออกไปน้าเสียงจะมคี วามสาคัญมากในการสอ่ื ความหมายน้ัน

ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งวัจนภาษาและอวจั นภาษา นอกจากจะเกดิ ขึ้นในขณะทีบ่ คุ คลกระทาการสอื่ สารเฉพาะหน้ากนั แล้ว ในภาษาถอ้ ยคาหรอื ในวัจนภาษา เราจะสงั เกตเหน็ อวัจนภาษาแฝงอยูด่ ว้ ยตัวอย่างทเ่ี ห็นอย่างสมา่ เสมอคอื การพาดหัวขา่ วของหนังสือพิมพ์ ท้งั นีเ้ พราะนกั หนังสอื พิมพ์ใช้ กลวิธีเขียนข่าวใหม้ สี ีสันหรือวาดใหเ้ ห็นภาพ (illustration) ซ่ึงอาจเรยี กวา่ เปน็ การแสดงเรื่องให้ผอู้ ่านดูมากกว่า การเลา่ เรื่องหรือการรายงานขา่ ว การพาดหัวข่าวของหนงั สือพมิ พ์ จึงเป็นภาษาทเ่ี ขียนขนึ้ เพือ่ ให้ผลทางอารมณ์ แก่ผูอ้ ่าน ซ่ึงอาจเรียกวา่ เป็น speeial objects เชน่ \"สานกั งบฯ ตปี บ๊ี โครงการเงินก้เู จง๋ \" \"ฆา่ โหด 20 ศพ ฝงั ท้งั เป็น\" ถ้าเปล่ยี นเปน็ \"สานกั งบประมาณแถลงข่าวเรอ่ื งโครงการเงินกวู้ ่าประสบความสาเรจ็ \" \"ชาย 20 คน ถกู ฆา่ โดยวธิ กี ารฝงั ท้งั เป็น\" จะพบวา่ ภาษาเปน็ ทางการ ขาดสสี ัน ไม่เรา้ อารมณ์ ใหต้ ดิ ตามรายละเอยี ดในเนือ้ ข่าว เม่ือนาภาษาพาดหัวข่าวของหนงั สอื พิมพ์ มาพจิ ารณาความสมั พันธร์ ะหว่างวัจนภาษาและอวัจนภาษาแลว้ พบวา่อวจั นภาษาท่ีพบมากในภาษาพาดหัวขา่ วมี 3 ประเภท คือ1. อาการภาษา อวัจนภาษา ประเภทน้ีจะพบมากที่สดุ เพราะเป็นอวจั นภาษาท่เี สรมิ ให้วัจนภาษามีความหมายชดั เจน เช่น ให้ผู้อา่ นมองเหน็ ภาพ เช่น 3 โจรบกุ ปลน้ เรือนมยุรา รวบ คาโรงแรม โจม๋ ัธยมมั่วยา คนกรมศาสนาลุย ปิดแลว้ สานกั เพย้ี น สรุ ศักดไ์ิ ด้ประกนั หอบ 18 ลา้ นค้า 4 งเู ห่าซบ ชพ.คึก ยดึ นนท์ - ลยุ ปทุมฯ เปิดทมี หกั หาญสวัสด์ิ2. สัมผัสภาษา อวัจนภาษาประเภทน้พี บไมม่ ากนัก เปน็ กรยิ าท่ีคนสองคนร่วมกนั ทากิจกรรม หรือเป็นกจิ กรรมของคนคนเดยี วท่สี มั ผัสกับผู้อื่น เช่น กก แคชเชยี ร์ ผจก. ดบั บริศนา หลยุ ส์ ควง สนัน่ ไหว้ครรู ามฯ มีกรยิ าบางคาทีเ่ ปน็ สัมผัสภาษา แต่ส่ือมวลชน นามาใช้ในความหมายแฝง คาเหล่าน้ี ไมจ่ ัดเป็นสัมผสัภาษา เชน่ รัฐควัก 300 ล. เนน้ สิบล้อ คาว่า \"อมุ้ \" ในที่น้ีหมายถงึ ชว่ ยเหลอื จงึ ไม่จัดเป็นสมั ผสั ภาษา3. ปรภิ าษา อวัจนภาษา ประเภทนี้มีไมม่ ากนกั ส่วนใหญ่เปน็ การใชค้ าเลียนเสียง เพือ่ แสดงอารมณ์หรอืกระต้นุ ใหผ้ ู้อา่ นแปลความหมายจากเสยี งท่ีได้ยินวา่ เป็นอารมณอ์ ย่างไร เช่น แท็กซี่

ฮืม่ - ประมง ปิดอ่าว ครม. ไม่ลดแวต เสรีธรรม เฮ ลน่ั รับอดี ี้ คาว่า ฮ่ืม เป็นนา้ เสียงแสดงอารมณ์ไม่พอใจ เฮ แสดงอารมณ์พอใจ สว่ น บิม้ เป็นเสยี งวตั ถุระเบดิ สาหรบั อวจั นภาษาประเภท เทศภาษา กาลภาษา วตั ถภุ าษา เนตรภาษา เทา่ ท่ีศกึ ษายงั ไมพ่ บแต่อาจจะปรากฎใน ภาพข่าว หรือ การ์ตูน ซึ่งเปน็ อวจั นาภาษาที่ชว่ ยให้ผูร้ บั สารเข้าใจเนือ้ หาของสารมากขึน้เชน่ ภาษาหนงั สือพิมพ์เป็นภาษาท่มี ลี กั ษณะเฉพาะ และมอี ทิ ธิพลมากกวา่ สิง่ พมิ พ์อืน่ ๆ เพราะหนังสอื พิมพเ์ ปน็ สื่อท่ีเขา้ ถงึ ประชาชนทุกระดบั การท่หี นังสอื พิมพ์มีภาษาเฉพาะใชใ้ นวงการ และโดยเฉพาะการพาดหวั ข่าวและหัวข่าวรองที่มเี น้อื ทก่ี ระดาษ จากดั จาเปน็ ต้องใช้คากระชบั สะดดุ ตา สะดุดใจคนอ่านซง่ึนับเป็นการสรา้ งสรรคท์ างภาษาท่นี า่ สนใจ และนักศึกษาอยา่ งย่งิhttp://guru.sanook.com/