รายงานผลการไปประชุม/การอบรม ปีการศกึ ษา 2562 นางสาวนะดา ขนั ธศักดิ์ ตำแหนง่ ครู คศ.๑ โรงเรยี นวดั พชื นิมิต (คำสวสั ด์ิราษฎร์บำรงุ ) สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 1
บนั ทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรยี นวัดพืชนิมิต (คำสวสั ดร์ิ าษฎร์บำรุง) ท่ี................................................................................................................................................................. เรื่อง รายงานผลการไปประชุม/การอบรม/การสมั มนา/การศกึ ษาดูงาน เรยี น ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนวัดพืชนิมิต(คำสวสั ดริ์ าษฎร์บำรุง) ตามที่ข้าพเจ้านางสาวนะดา ขันธศักดิ์ ตำแหน่ง ครู ได้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ coding ในการ จัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการคำนวณ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ปีการศึกษา 2562 ใน วันที่ 8-9 เดือน สิงหาคม 2562 ที่ผ่านมา จำนวน 12 ชั่วโมง ณ ห้องประชมุ สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 บัดนี้ การปฏิบัติหน้าที่ราชการที่ได้รับมอบหมายได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าขอรายงานผลการไป ราชการ/การอบรมสมั มนา/การศึกษาดงู าน ดงั ต่อไปนี้ ๑. สรปุ สาระสำคัญการฝกึ อบรม/ศกึ ษาดูงาน วิทยาการคำนวณ(coding) เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาผู้เรยี นให้มคี วามรู้ความเข้าใจมีทักษะ การคิดเชิงคำนวณการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและเป็นระบบประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการ คอมพวิ เตอร์เทคโนโลยสี ารสนเทศสอ่ื สารในการแก้ปัญหาท่ีพบในชวี ิตจรงิ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ความสำคญั ของวชิ าวทิ ยาการคำนวณ 1. การคิดคำนวณและการให้เหตุผล 2. เรียบเรยี งความคดิ ให้คดิ เป็นขั้นเปน็ ตอน 3. หาวธิ ีท่ดี ที ี่สุดเชน่ ใชเ้ วลาส้ันทสี่ ดุ ใช้คำส่งั นอ้ ยทสี่ ุด 4. หาวิธีการจัดการที่สะดวกที่สุดเช่น การปรับค่าตัวแปรแทนที่จะป้อนคำสั่งแบบ Manual การ แกไ้ ขคา่ ของตัวแปร การใชส้ ตู รทางคณติ ศาสตร์ 5. กระบวนการคิดเชิงสรา้ งสรรค์ 6. ประโยชน์ของขั้นตอนที่คิดขึน้ โปรแกรมทพี่ ัฒนาขึน้ Coding คอื อะไร Code คือ ระบบของคำอักษรหรือสัญลักษณ์ในการแทนข้อความในรูปแบบหนึ่งหรืออาจเป็นระบบ จำนวน/ตัวเลข หรือสัญญาณที่ใช้แทนอะไรบางอย่างในลักษณะที่สั้นกระชับหรืออยู่ในรูปแบบที่เข้าใจได้ สะดวกขึน้ ดงั นนั้ พวก รหสั เลขฐาน ต่างๆนบั วา่ เปน็ โคด้ ในลักษณะหนึ่ง เพราะอยูใ่ นระบบของคำสัญลักษณ์มี สนั้ กระชบั ชดั เจนสะดวกต่อการทำความเข้าใจและการแปลงไปสหู่ นว่ ยอนื่ ๆได้ อัลกอริทมึ อัลกอริทึมวิธีการกระบวนการขั้นตอนหรือชุดคำสั่งที่ชัดเจนและมีการเรียงลำดับขั้นตอนตาม ความสำคัญซงึ่ จะถูกนำไปใช้สั่งงานหรอื แกป้ ัญหาตา่ งๆได้ ขั้นตอนการออกแบบอัลกอริทึม เป็นการคิดวิธีการแก้ปัญหาซึ่งอาจมีหลายวิธีการและเลือกวิธีการที่ ให้ผลลพั ธด์ ีท่ีสดุ เพือ่ นำไปใช้ทำงานตามวัตถปุ ระสงค์หรือใช้แก้ปญั หาต่างๆโดยข้นั ตอนการออกแบบอัลกอริทึม มขี น้ั ตอนดงั นี้ 1. ทำความเขา้ ใจวัตถปุ ระสงคห์ รอื ปญั หา
2. คิดวธิ กี ารแก้ปัญหา 3. เรียงลำดบั ข้ันตอนก่อนและหลัง 4. หาขั้นตอนและวิธกี ารอกี ครง้ั 5. ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของผลลัพธจ์ ากขั้นตอน 6. เลอื กวิธีการทผ่ี ลลพั ธ์ดีที่สุดเพอื่ นำไปใชแ้ กป้ ัญหา โปรแกรม scratch โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นในปีพศ 2007 โดยห้องปฏิบัติการสือ่ สารสถาบันเทคโนโลยี แมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมรกิ า โปรแกรมสแคสสามารถนำมาใช้พัฒนาซอฟต์แวร์เชิงสร้างสรรค์เช่นการ สร้างนทิ านทโ่ี ต้ตอบกบั ผอู้ ่านการสร้างเกมการสรา้ งสอ่ื นำเสนอขอ้ มูลการสรา้ งหุน่ ยนต์ โปรแกรม scratch มีลักษณะเป็นบล็อกโปรแกรมนำมาต่อกันเพื่อสร้างรหัสคำสั่งเพื่อสั่งให้โปรแกรม scratch ทำงานตามทโ่ี ปรแกรมวางไว้ โปรแกรมscratch กบั การจดั การเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมภาษา Scratch สามารถเพิ่มเติมทักษะและความรู้ ให้กับผู้เรียนด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเตรียมความพร้อมสําหรับการเรียนในระดับที่สูงขึ้น ซึ่งผู้เรียนต้อง เรียนรู้เชิงลึกต้องมีกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ เป็นผู้สร้างมากกว่าเป็นผู้ใช้เพียงอย่างเดียว การเขียน โปรแกรมเป็นกจิ กรรม ที่ส่งเสรมิ การใชค้ วามคิดวิเคราะห์อย่างเป็นเหตุเปน็ ผล และคดิ อยา่ งเป็นระบบ เพ่ือแก้ โจทย์ปญหาที่ซับซ้อน ส่งเสริมการใช้ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการในการออกแบบและการสร้าง โปรแกรมผลงาน นอกจากนั้นการนําเสนอผลงานและการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้เรียน ยังเป็นการ เพิ่มพนู ความรู้ประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆ รวมทั้งทักษะทีใ่ ช้ในการสื่อสารกับผูอ้ ่ืนดว้ ย การสร้างโปรแกรม ผลงานเป็นการฝึกผู้เรียนให้เลือกใช้สื่อที่มีอยู่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม สามารถเชื่อมโยงความรู้ในศาสตร์ อน่ื ๆ เขา้ กับโปรแกรมผลงานในลักษณะของสือ่ รูปแบบผสม ทําใหเ้ พม่ิ มิติและขีดความสามารถในการเรียนการ สอนได้เป็นอย่างดี ๒. ประโยชน์ท่ไี ด้รบั และนำมาประยกุ ต์ใช้ในหนว่ ยงาน คอื 1. เพ่ือใหค้ รูมคี วามรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับวชิ าวิทยาการคำนวณ (Coding) 2. เพื่อให้ครูนำโปรแกรม Scratch ไปใช้ในการจดั การเรียนการสอน ๓. เอกสารทไ่ี ดร้ ับจากการไปราชการ/การอบรมสัมมนา/การศึกษาดงู าน มีดังต่อไปน้ี ๓.1. พาวเวอร์พอยต์ “การใช้เทคโนลียีในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาการคำนวณ computing science”
๔. เกยี รติบตั รรปู ภาพ/ไฟลร์ ปู ภาพประกอบ
จึงเรียนมาเพอื่ โปรดทราบ ลงชอ่ื .....................................................ผูร้ ายงาน (นางสาวนะดา ขันธศกั ด์ิ) ตำแหนง่ ครู ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารงานบุคลากร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื .................................................................. (.................................................) หัวหนา้ ฝา่ ยบคุ ลากร ความคิดเหน็ ของผ้อู ำนวยการโรงเรียน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.................................................................. (นางสาวกนั ยาภทั ร ภัทรโสตถิ)
บนั ทึกข้อความ สว่ นราชการ โรงเรยี นวดั พืชนิมิต (คำสวสั ดริ์ าษฎรบ์ ำรงุ ) ท่.ี ................................................................................................................................................................ เร่ือง รายงานผลการไปประชมุ /การอบรม/การสมั มนา/การศกึ ษาดงู าน เรยี น ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวัดพืชนมิ ติ (คำสวสั ดริ์ าษฎรบ์ ำรุง) ตามที่ ข้าพเจ้านางสาวนะดา ขันธศักดิ์ ตำแหน่ง ครู ได้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนว ทางการจดั การเรียนรู้ Coding ดว้ ยสถานการณ์ PM2.5 ระหว่างวันท่ี 22-24 พฤศจกิ ายน 2562 ท่ีผ่านมา จำนวน 15 ชั่วโมง ณ ห้องออดิทอเรียม บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย จงั หวดั ปทุมธานี บัดนี้ การปฏิบัติหน้าที่ราชการที่ได้รับมอบหมายได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าขอรายงานผลการไป ราชการ/การอบรมสัมมนา/การศกึ ษาดงู าน ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. สรปุ สาระสำคญั การฝกึ อบรม/ศึกษาดงู าน AI กับการศกึ ษา การเรียนการสอนโดยใช้ปัญญาประดิษฐ์หรือ AI เป็นการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน และเนื้อหา ทางการเรียนให้เหมาะกับความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน นอกจากนี้ยัง ช่วยเหลือผู้เรียนในการจัดสื่อเพ่ือ การเรียนรู้ ติดตามและประเมินกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยความสามารถ ทางปัญญาประดิษฐ์ การ จัดการเรียนรู้ด้วยปัญญาประดิษฐ์ นับว่ามีประโยชน์หลายอย่างทีเดียว เพราะปัญญาประดิษฐ์เปลี่ยนวิธีเรียน และ เปลี่ยนวิธีสอน บางอย่างที่แม้อาจจะยังไม่เห็นในระบบการศึกษาของประเทศไทย มีการคาดการณ์กันว่า การใช้ ปัญญาประดิษฐ์ ในกิจกรรมทางการศึกษาจะเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 48 จนกระทั่งถึงปี 2021 ผลกระทบ เชิงบวกของ ปัญญาประดิษฐ์ จะปรากฏใหเ้ ห็นตั้งแตก่ ารเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น ชน้ั ปฐมวัยจนถึงการศกึ ษาข้นั สูง ทั้ง จะมีการสร้างสรรค์เครื่องมือเพื่อการเรียนรู้อีกหลายอย่าง และบางอย่างจะสามารถปรับให้เข้ากับผู้เรียนเป็น รายบุคคลได้ (Personalized Tool) เพอื่ ให้ได้ผลด้านการเรียนสงู สุด ปัญญาประดิษฐ์จะชว่ ยผู้สอนและผู้เรียน ในการจัดการเรียนรดู้ ังน้ี 1. ปัญญาประดิษฐ์ในการจัดการเรียนรู้ ช่วยลดเวลาทำงานซ้ำ ๆ สำหรับคุณครู เช่น การตรวจ การบ้าน ให้คะแนน และให้คำปรึกษาแก่นักเรียน ปัญญาประดิษฐ์ เพื่อให้ผู้สอนมีเวลาไปให้ คำปรกึ ษาแบบตวั ตอ่ ตัวกบั นกั เรยี นมาก 2. ปัญญาประดิษฐ์ ช่วยครูสร้างสรรค์เนื้อหาสำหรับสอน ปัจจุบันปัญญาประดิษฐ์สร้างเนื้อหาการ สอน ที่ใช้ไวยากรณ์ถูกต้องได้อย่างยอดเยี่ยมเมื่อเทียบกับครูที่เป็นมนุษย์ปกติ อีกทั้งยังช่วยทำ หนังสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะแกน่ ักเรยี นในชว่ งอายุต่าง ๆ การพัฒนาของปัญญาประดิษฐ์ทำให้ มแี อพพลเิ คชั่นท่ีชว่ ยให้นกั เรยี นไมต่ ้องเดินทางมาถึงหอ้ งเรียน เพยี งแค่มคี อมพิวเตอร์หรือสมาร์ต โฟนกส็ ามารถเรยี นไดจ้ ากทกุ ที่ทกุ เวลา 3. ปัญญาประดิษฐ์ ช่วยเป็นติวเตอร์ประสิทธิภาพสูง มีความสามารถช่วยติวนักเรียนโดยคำนึงถึง ปญั หาของผ้เู รียนเปน็ รายบุคคลได้ ช่วยลดข้อจำกัดหลายอยา่ งในการไปติวหรอื ขอความชว่ ยเหลอื จากอาจารย์ เพื่อช่วยเหลือนักเรียนนักศึกษาให้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น จากการ วิเคราะห์ขอ้ มลู ส่วนตัวของเดก็ ๆ แตล่ ะคน
4. ปัญญาประดิษฐ์ เปน็ ผ้สู อนเสมือนจรงิ การใช้ kid bright ในการจัดการเรยี นการสอนในวชิ าวิทยาการคำนวณ บอร์ด KidBright เป็นบอร์ดสมองกลฝังตัว หรือบอร์ดพัฒนาไมโครคอนโทรลเลอร์ ที่ออกแบบมา เพื่อให้ง่ายตอ่ การศึกษาใช้งาน ใช้ฝึกขบวนการคิดเชิงระบบ และคิดเป็นตรรกะ เพื่อเตรยี มกำลังคนรุน่ ใหม่เข้า สู่ยุค Thailand 4.0 ที่ขบั เคล่ือนประเทศดว้ ยนวตั กรรม KidBright เป็นโปรแกรมที่ใช้งานร่วมกับบอร์ด KidBright32 เขียนโปรแกรมควบคุมสั่งงานได้ด้วย ภาษาบล็อก โดยใช้ไลบารี่ Blockly จาก Google เพื่อให้ง่ายต่อการเขียนโปรแกรม และไม่ต้องกังวลเรื่อง ไวยากรณ์ของภาษา ทำให้ผู้ใช้สนใจเพียงขบวนการคิดเพื่อให้ได้ผลงานออกมาเท่านั้น นอกจากนี้ตัวโปรแรกม ยังรองรับการติดตั้งปลั๊กอินเสริม ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถเชื่อมต่อบอร์ด KidBright32 เข้ากับอุปกรณ์ได้ หลากหลาย โดยเขยี นโปรแกรมเชื่อมต่ออุปกรณเ์ หล่านั้นไดด้ ้วยภาษาบล็อก การใช้ kid bright และ gogo bright ในการวดั ค่าและเกบ็ ข้อมลู ฝนุ่ PM2.5 1. เขยี นโคด้ ดว้ ย kid bright แล้วเชือ่ มต่อกบั อุปกรณ์บอรด์ 2. เชือ่ มต่อบอรด์ kid bright , gogo bright และเซน็ เซอรว์ ดั ค่า PM2.5 เข้าด้วยกัน 3. เกบ็ ขอ้ มลู จากกราฟ แล้วนำผลที่ไดม้ าวิเคราะห์เพ่อื สรุปผลการทดลอง ๒. ประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับและนำมาประยุกต์ใชใ้ นหนว่ ยงาน คอื 1. เพ่ือใหค้ รมู คี วามรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั การจัดการเรยี นการสอน Coding ด้วย kid bright และ gogo bright 2. เพอื่ ให้ครูนำรปู แบบ Coding ด้วย kid bright และ gogo bright มาใช้ในการจัดการเรยี นการสอน ๓. เอกสารทไี่ ดร้ บั จากการไปราชการ/การอบรมสมั มนา/การศกึ ษาดงู าน มดี งั ตอ่ ไปนี้ ๓.1. powerpoint การใช้ kid bright และ gogo bright ๔. เกียรตบิ ัตรรปู ภาพ/ไฟลร์ ูปภาพประกอบ
จึงเรียนมาเพอื่ โปรดทราบ ลงชอ่ื .....................................................ผูร้ ายงาน (นางสาวนะดา ขันธศกั ด์ิ) ตำแหนง่ ครู ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารงานบุคลากร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื .................................................................. (.................................................) หัวหนา้ ฝา่ ยบคุ ลากร ความคิดเหน็ ของผ้อู ำนวยการโรงเรียน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.................................................................. (นางสาวกนั ยาภทั ร ภัทรโสตถิ)
บันทกึ ข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนวัดพชื นมิ ิต (คำสวสั ดิ์ราษฎร์บำรุง) ท่ี................................................................................................................................................................. เรอื่ ง รายงานผลการไปประชุม/การอบรม/การสมั มนา/การศกึ ษาดูงาน เรยี น ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนวดั พืชนิมติ (คำสวัสดริ์ าษฎร์บำรุง) ตามท่ี ข้าพเจา้ นางสาวนะดา ขนั ธศกั ดิ์ ตำแหน่ง ครู ไดเ้ ข้ารว่ มอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง วิทยาการ คำนวณ องค์ความรู้และการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เชิงรุกแห่งศตวรรษที่ 21 สำหรับครูผู้สินชั้น ประถมศกึ ษา” โดยงานวิทยาศาสตรืในดรงเรียนชนบท สำนกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคดนดลยีแห่งชาติ ร่วมกับ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 วันที่ 7-8 กันยายน 2562 ที่ผ่านมา จำนวน 12 ชั่วโมง ณ ห้องออดิทอเรียม บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย จังหวดั ปทมุ ธานี บัดนี้ การปฏิบัติหน้าที่ราชการที่ได้รับมอบหมายได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าขอรายงานผลการไป ราชการ/การอบรมสัมมนา/การศกึ ษาดงู าน ดังตอ่ ไปน้ี ๑. สรปุ สาระสำคญั การฝกึ อบรม/ศึกษาดงู าน วทิ ยาการคำนวณ (Computing science) เป็นวิชาท่ีมงุ่ เนน้ การเรยี นการสอนให้เด็กสามารถคดิ เชิงคำนวณ (Computational thinking) มพี ้ืนฐานความรดู้ ้านเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Digital technology) และมี พนื้ ฐานการรู้เทา่ ทนั สอื่ และข่าวสาร (Media and information literacy) ซ่งึ การเรียนวชิ าการคำนวณ จะไม่ จำกดั อยเู่ พยี งแค่การคดิ ให้เหมือนคอมพวิ เตอร์เทา่ นั้น และไมไ่ ดจ้ ำกดั อย่เู พียงการคดิ ในศาสตรข์ องนกั วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ แตจ่ ะเปน็ กระบวนการความคิดเชงิ วเิ คราะห์เพื่อนำมาใช้แกป้ ัญหาของมนษุ ย์ โดยเป็น การสงั่ ให้คอมพิวเตอรท์ ำงานและช่วยแกไ้ ขปญั หาตามท่ีเราตอ้ งการไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการคำนวณ มีเป้าหมายที่สำคัญในการพัฒนาผู้เรียนกล่าวคื อ เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ มีทักษะในการค้นหาข้อมูลหรือสารสนเทศ ประเมิน จัดการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และนำ สารสนเทศไปใช้ในการแกป้ ัญหา เสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง การทำงานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์เพื่อประโยชน์ต่อ ตนเองหรือสังคม และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างปลอดภัย รู้เท่าทัน มีความ รบั ผดิ ชอบมจี ริยธรรม Coding สรุปได้ดงั นี้ 1. coding คือการใช้สัญลักษณ์เพื่อสื่อถึงลำดับขั้นตอนบางอย่าง เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โน้ต ดนตรี 2. coding มีหลายรปู แบบ ทัง้ กจิ กรรม unplugged (เชน่ บัตรคำสัง่ ), การใช้ block programming, และภาษาโปรแกรมต่าง ๆ เชน่ Python, Java, C 3. นยิ ามของ coding อาจแตกตา่ งกนั ในรายละเอยี ดบา้ ง แลว้ แต่บริบท
4. คำว่า coding ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายทั้งในและต่างประเทศเพื่อสอนทักษะการเขียนโปรแกรม รวมถึงทักษะพื้นฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การคิดอย่างเป็นขั้นตอน เป็นระบบ การใช้เหตุผล เชิงตรรกะ 5. คำแนะนำ: อาจไม่มปี ระโยชน์มากนักทจ่ี ะถกเถยี งกันในรายละเอียดปลกี ยอ่ ยของความหมายของ คำวา่ coding แต่ควรดเู จตนารมณข์ องหลกั สูตรดีกว่า 6. หลักสูตรวิทยาการคำนวนต้องการสอนให้เด็กมีทักษะการคิดเป็นระบบ เป็นขั้นตอน รู้จักใช้ เหตุผลเชงิ ตรรกะ โดย coding เป็นเครอ่ื งมือทจ่ี ะพาเราไปสูจ่ ดุ น้นั เรยี น Coding ไปเพอื่ อะไร 1. ความเชอ่ื เดมิ คอื เรียน coding เพอ่ื ประกอบอาชพี coding แล้วจะมีรายได้ดี 2. คา่ นิยมใหม่ คอื เรยี น coding เพอ่ื ฝกึ สมอง ใหค้ ิดไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ รจู้ กั ใชเ้ หตผุ ล 3. หัวใจของการสอน coding คือเพื่อฝึกทักษะพื้นฐานของชีวิต ให้นักเรียนเข้าใจ รู้ทัน และใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยไี ด้ ไม่วา่ จะประกอบอาชพี ใด 4. สิ่งที่นักเรียนสนใจมากที่สุด คือ ความสนุก โดย Code.org พบว่านักเรียนจะเรียน coding ได้ดี ท่สี ุดเมื่อเขามี project ทท่ี ้าทาย สนุก และสำคญั กบั ชวี ติ จรงิ 5. หลักสูตรวิทยาการคำนวณเป็นหลักสูตรภาคบังคับตั้งแต่ ป.1 - ม.6 โดยเร่ิมบังคับใช้บางชั้นปี ตั้งแต่ 2561 และจะบังคับทุกชั้นปีในปี 2563 มีผู้ที่ได้เรียนแล้วทั้งในโรงเรียนใหญ่ เล็ก รร. ตามชายแดน รร. เอกชน และ รร. ทางศาสนา เพ่อื สรา้ งโอกาสและความเทา่ เทียมในสงั คม 6. ไมม่ ีใครหนโี ลกดจิ ิทัลไดพ้ ้น ไม่ว่าจะประกอบอาชพี ใด การสอน coding ไมค่ วรเลือกสอนเฉพาะ นกั เรยี นทสี่ นใจ แตค่ วรครอบคลมุ ถงึ ทุกคน เช่นเดยี วกับสขุ ศกึ ษา จรยิ ธรรม และคณติ ศาสตร์ Coding โดยไม่ใชค้ อมพิวเตอร์เป็นอยา่ งไร Coding เป็นวิธีการคิดเชิงคำนวณ (computational thinking) ซึ่งเป็นกระบวนการคิดแก้ปัญหา รูปแบบหนึ่ง ไม่จำเป็นต้องเขียนโค้ดหรือใช้คอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหา และเป็นทักษะที่ทุกคนสามารถมีได้ โดยไม่ตอ้ งเขียนโปรแกรมเป็น การคิดเชิงคำนวณ เป็นวิธีคิดที่มองวิธีการแก้ปัญหาเป็นลำดับขั้นตอน (algorithmic thinking) ที่ทำ ให้เราสามารถอธิบายปัญหาในรูปแบบที่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยแก้ปัญหาได้ ซึ่งใช้ทักษะหลาย ส่วนประกอบกัน เช่นการจัดเรียงและวิเคราะห์ข้อมูลที่มี การวิเคราะห์ปัญหาและหาวิธีที่มีประสิทธิภาพสูง ที่สุด และการประยุกต์ข้อมลู วิธกี ารแก้ปัญหานีไ้ ปใชก้ บั ปญั หาอน่ื ๆ ๒. ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับและนำมาประยกุ ต์ใช้ในหน่วยงาน คือ 1. เพอ่ื ให้ครูมีความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกับการจดั การเรียนการสอน Coding แบบ Unplug 2. เพอื่ ให้ครูนำรปู แบบ Coding แบบ Unplug มาใช้ในการจดั การเรียนการสอน ๓. เอกสารที่ได้รับจากการไปราชการ/การอบรมสัมมนา/การศึกษาดงู าน มดี งั ตอ่ ไปนี้ ๓.1. ชุดกจิ กรรม coding unplug
๔. เกยี รติบตั รรปู ภาพ/ไฟลร์ ปู ภาพประกอบ
จึงเรียนมาเพือ่ โปรดทราบ ลงชอ่ื .....................................................ผรู้ ายงาน (นางสาวนะดา ขันธศักด์ิ) ตำแหน่ง ครู ความคดิ เห็นของฝ่ายบรหิ ารงานบคุ ลากร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.................................................................. (.................................................) หัวหน้าฝา่ ยบุคลากร ความคดิ เหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี น .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.................................................................. (นางสาวกันยาภัทร ภทั รโสตถิ)
บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนวดั พืชนมิ ติ (คำสวัสดร์ิ าษฎร์บำรุง) ท่ี................................................................................................................................................................. เรอ่ื ง รายงานผลการไปประชมุ /การอบรม/การสมั มนา/การศกึ ษาดูงาน เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวัดพชื นิมติ (คำสวัสดร์ิ าษฎรบ์ ำรุง) ตามที่ ข้าพเจ้านางสาวนะดา ขันธศักดิ์ ตำแหน่ง ครู ได้เข้าร่วมอบรมการจัดการเรียนรู้ Active Learning เพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียนด้วย Mind Map” ปีการศึกษา 2562 ใน วันท่ี 29 เดือน ตุลาคม 2562 ที่ผ่านมา จำนวน 6 ชั่วโมง หน่วยงานผู้จัดฝึกอบรมโดย กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสทิ ธิภาพ การจดั การศึกษา กลุ่มที่ 4 ณ หอ้ งประชมุ โรงเรยี นสามโคก จ.ปทุมธานี บัดนี้ การปฏิบัติหน้าที่ราชการที่ได้รับมอบหมายได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าขอรายงานผลการไป ราชการ/การอบรมสัมมนา/การศกึ ษาดูงาน ดงั ต่อไปนี้ ๑. สรุปสาระสำคญั การฝึกอบรม/ศึกษาดูงาน แผนผังความคิด (Mind Mapping) เป็นการแสดงโครงสร้างของการคิด กระบวนการคิด ความสัมพันธ์ของกระบวนการคิดตั้งต้นจนจบ เป็นแผนผังหรือแผนภาพที่แสดงความสัมพันธ์ของสาระหรือ ความคิดต่างๆ จากความคิดหลักไปสู่ความคิดรองและความคิดย่อย ให้เห็นเป็นโครงสร้างในภาพรวม โดยใช้ เส้น คำ สี เครื่องหมาย สัญลักษณ์และภาพแสดงความหมายและความเชื่อมโยงของความคิดหรือสาระนั้นๆ ทำใหม้ องเห็นความสมั พัน์ของความคดิ นน้ั ได้ชัดเจน ประโยชน์ของการใช้แผนผงั ความคดิ ในการจดั การเรียนรู้ มดี ังนี้ 1. การแยกแยะข้อมูลเพื่อให้เห็นองค์ประกอบหลักที่เชื่อมโยงกันอยู่อย่างชัดเจน สามารถช่วยให้ ผู้เรียนเกดิ การเรียนรมู้ โนทัศนไ์ ดง้ ่ายขน้ึ 2. หากสมองมีการจัดโครงสร้างความรู้ไว้อย่างเป็นระบบระเบียบ จะช่วยเรียกความรู้เดิมที่มีอยู่ใน โครงสรา้ งทางปญั ญาออกมาใช้เชือ่ มโยงกับความรูใ้ หมไ่ ด้งา่ ยขนึ้ 3. แผนผังความคิดที่แสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบหลักของเรื่อง มีลักษณะเป็นภาพซึ่งง่ายต่อการที่ สมองจะจดจำมากกว่าข้อความท่ยี ืดยาวต่อกัน 4. การใช้แผนผังความคดิ ซึ่งมีลักษณะเป็นทั้งภาพและข้อความ สามารถช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่าง ตื่นตัว (Active learning) เนื่องจากผู้เรียนจะต้องมีทั้งการฟัง พูด อ่าน เขียน คิด จึงจะสามารถทำแผนผัง ความคิดออกมาได้ เป็นการชว่ ยให้ผู้เรยี นได้เรยี นร้อู ยา่ งมีความหมาย ขน้ั ตอนการเขียนแผนผงั ความคิดมดี ังนี้ 1. เขียนความคิดหลกั หรอื หัวขอ้ เร่ืองตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ 2. เขียนความคิดรองทสี่ มั พันธก์ ับความคดิ หลกั หรือหวั ขอ้ เร่ืองกระจายออกไปรอบ ๆ ความคิดหลกั 3. เขยี นความคิดย่อยท่ีสัมพนั ธก์ บั ความคดิ รองแตกออกไปเรอ่ื ย ๆ โดยเขียนขอ้ ความไวบ้ นเส้นแต่ละ เสน้ เสน้ ท่ีใช้อาจเปน็ เสน้ ตรงหรอื เสน้ โค้งกไ็ ด้แตเ่ ส้นท่ีใช้กับความคดิ รองจะเป็นเส้นที่ใหญ่กวา่ ความคดิ ย่อย
๒. ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั และนำมาประยกุ ต์ใช้ในหน่วยงาน คือ 1. เพอ่ื ให้ครมู คี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการใช้ Mind Map ในการพัฒนาทักษะการคิดของผูเ้ รยี น 2. เพื่อให้ครูนำรูปแบบของ Mind Map ไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอน ๓. เอกสารท่ีได้รบั จากการไปราชการ/การอบรมสมั มนา/การศึกษาดงู าน มีดงั ตอ่ ไปนี้ ๓.๑ เอกสารรปู แบบของ Mind Map ๔. เกยี รตบิ ตั รรูปภาพ/ไฟล์รูปภาพประกอบ
จึงเรียนมาเพอื่ โปรดทราบ ลงชอื่ .....................................................ผูร้ ายงาน (นางสาวนะดา ขนั ธศกั ด์ิ) ตำแหนง่ ครู ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารงานบุคลากร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.................................................................. (.................................................) หัวหนา้ ฝา่ ยบคุ ลากร ความคิดเหน็ ของผ้อู ำนวยการโรงเรียน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.................................................................. (นางสาวกนั ยาภทั ร ภทั รโสตถิ)
บันทกึ ข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนวดั พชื นิมิต (คำสวสั ด์ริ าษฎร์บำรุง) ท่ี................................................................................................................................................................. เรื่อง รายงานผลการไปประชุม/การอบรม/การสมั มนา/การศกึ ษาดงู าน เรยี น ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวัดพชื นิมิต(คำสวสั ดริ์ าษฎร์บำรงุ ) ตามที่ ข้าพเจ้านางสาวนะดา ขันธศักดิ์ ตำแหน่ง ครู ได้เข้าร่วมอบรมหลักสูตรออนไลน์ เรื่องการ พฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา ประจำปี 2562 หลกั สูตร “การพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา:การพฒั นาการเรียนรู้ รูปแบบ E-Learning เพื่อพัฒนาสมรรถนะครูผู้สอนในสถานศึกษา” ปีการศึกษา 2562 ซึ่งเป็นหลักสูตร ออนไลน์ ในวันที่ 3 เดือน พฤศจิกายน 2562 ที่ผ่านมา จำนวน 6 ชั่วโมง หน่วยงานผู้จัดฝึกอบรมโดย ชมรมนกั วิจยั ทางหลกั สูตรและการสอนแห่งประเทศไทย บัดนี้ การปฏิบัติหน้าที่ราชการที่ได้รับมอบหมายได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าขอรายงานผลการไป ราชการ/การอบรมสัมมนา/การศกึ ษาดงู าน ดงั ต่อไปนี้ ๑. สรุปสาระสำคัญการฝกึ อบรม/ศึกษาดูงาน บทเรียนท่ี 1 การออกแบบวิสัยทัศน์ หลกั สูตรสถานศึกษา รายละเอยี ดดังน้ี 1. มีมุมมองแห่งอนาคต (Future perspective) สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทาง เศรษฐกิจ สงั คมวัฒนธรรม และคา่ นิยมขององค์กร รวมทงั้ วัตถปุ ระสงค์และภารกจิ ขององค์กรนน้ั ๆ 2. ริเรม่ิ โดยผู้นำและสมาชิกมีสว่ นร่วมคิดและให้การสนับสนุน (Share and Supported) มีความ นา่ เชื่อถอื ทุกคนเต็มใจท่ีจะปฏิบัตติ าม การมีสว่ นรว่ มของสมาชกิ จะก่อใหเ้ กิดความผกู พัน (Commitment) รว่ มกนั และทกุ คนพร้อมทีจ่ ะให้การสนบั สนนุ 3. มีสาระครบถ้วนและชัดเจน (Comprehensive & Clear) สะท้อนให้เหน็ ถงึ จุดหมายปลายทาง และทิศทางที่จะก้าวไปในอนาคตที่ทุกคนเข้าใจง่าย สามารถทำให้สำเร็จได้ตรงตามเป้าหมาย สาระต่างๆ จะช่วยกระตุน้ ทา้ ทายความสามารถและความรู้สกึ นึกคิดของบคุ ลากรทีจ่ ะปฏิบตั ิงาน 4. ให้ความฝันและพลังดลใจ (Positive & Inspiring) ท้าทา้ ย ทะเยอทะยาน สามารถปลุกเร้า และ สร้างความคาดหวังทเี่ ปน็ ส่งิ พึงปรารถนาทีม่ องเหน็ ได้ นัน่ คือ มีเสน้ ทางทท่ี ้าทา้ ยความสามารถ 5. มีแผนปฏิบัติที่แสดงให้เห็นวิธีการที่มุ่งสู่จุดหมายชัดเจน และเมื่อปฏิบัติตามแล้วจะให้ผล คุ้มค่า ในอนาคต ทั้งในด้านบุคคลและองค์กร ทั้งนี้ จะต้องมีความสอดคล้องกับจุดหมายปลายทางท่ี กำหนดเปน็ วสิ ัยทศั น์ บทเรียนท่ี 2 การเชื่อมโยงวิสัยทัศน์ ไปสู่การเรยี นการสอน รายละเอยี ดดงั นี้ หลักสูตรของสถานศึกษาจะประสบความสำเร็จได้ขึ้นอยู่กับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ี สอดคล้องและสอดรับกับวิสัยทัศน์ จุดหมายของหลักสูตรควรพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความสนุกและความ เพลิดเพลินในการเรียนรู้ เปรียบเสมือนเป็นวิธีการสร้างกำลังใจและเร้าใจให้เกิดความก้าวหน้าแก่ผู้เรียนให้ ได้มากที่สุด ให้ผู้เรียนทุกคนมีความรู้สูงสุดตามศกั ยภาพของแต่ละคน โดยควรสร้างความเข้มแข็ง ความสนใจ และประสบการณ์ให้ผู้เรียน และพัฒนาความมั่นใจให้เรียนและทำงานอย่างเป็นอิสระและร่วมใจกัน ควรให้
ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้สำคัญ ๆ ในการอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น ได้ข้อมูลสารสนเทศและใช้เทคโนโลยี สื่อสาร ส่งเสริมจิตใจที่อยากรู้อยากเห็น และมีกระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล ควรส่งเสริมการพัฒนาด้านจิต วิญญาณ จริยธรรม สังคมและวัฒนธรรม โดยเฉพาะพัฒนาหลักการในการจำแนกระหว่างถูกและผิด ความ เข้าใจและศรทั ธาในความเช่ือของตน ความเชอื่ และวฒั นธรรมทแ่ี ตกต่างกันว่า สิ่งเหลา่ นี้มีอิทธิพลต่อตัวบุคคล และสังคม หลักสูตรสถานศึกษาต้องพัฒนาหลักคุณธรรมและความอิสระของผู้เรียน และช่วยพัฒนาให้เป็น พลเมืองที่มีความรับผิดชอบ สามารถพัฒนาสังคมให้เป็นธรรม มีความเสมอภาค ควรพัฒนาความตระหนัก เข้าใจ และยอมรับสภาพแวดลอ้ มที่ตนดำรงชีวิตอยู่ ยึดมั่นในข้อตกลงร่วมกันต่อการพัฒนาที่ย่ังยืนท้ังในระดับ ส่วนตน ระดับท้องถิ่น ระดับชาติและระดับโลก หลักสูตรสถานศึกษาควรสร้างให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการ เปน็ ผูบ้ รโิ ภคท่ตี ดั สนิ ใจแบบมีข้อมลู เปน็ อสิ ระและเขา้ ใจในความรับผิดชอบของตน บทเรยี นท่ี 3 การออกแบบคำอธบิ ายรายวชิ า รายละเอียดดังนี้ 1. มงุ่ เน้นพัฒนาผเู้ รยี นตามวสิ ยั ทศั น์ 2. แสดงกระบวนการสร้างสรรคผ์ ลงานร่วมกนั ของนักเรียนอยา่ งชดั เจน 3. มีการนำองคค์ วามร้ไู ปใช้ในชวี ิตประจำวนั 4. กลยทุ ธข์ องรายวิชาไมค่ วรซ้ำซอ้ นกนั โดยเฉพาะวชิ าในกล่มุ สาระเดยี วกนั 5. ควรเน้นการทำงานแบบกล่มุ ร่วมมือ มกี ระบวนการคิดสร้างสรรค์แบบกลุ่มทีช่ ัดเจน 6. กระบวนการเรยี นรคู้ วรระบุกจิ กรรมที่ชดั เจน เช่น ประเด็นโครงงาน 7. คำอธบิ ายรายวิชาควรระบทุ งั้ เนอ้ื หาท่จี ะเรยี นและกระบวนการในการเรียนรู้ด้วย 8. ควรกำหนดเปา้ หมายผลงานของนกั เรยี นอย่างชัดเจนไว้ในคำอธิบายรายวิชา 9. ควรเขียนระบุภารกิจทสี่ ำคัญเพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รยี นปฏิบัติไว้ในคำอธิบายรายวชิ าอยา่ งชัดเจน 10. รายวิชาโครงงานควรมีประเด็นโครงงานกำหนดตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน เช่น โครงงาน เศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสืบสานวัฒนธรรม โครงงานตลาดอาเซียน การจัดทำคำอธิบายรายวิชา ให้พิจารณาคำสำคัญจากมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ซึ่งจะพบใน ลกั ษณะของเน้ือหาสาระ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะของนกั เรยี น คำสำคญั ของเน้อื หาสาระบ่งบอก ให้ทราบว่า นักเรียนจะต้องเรียนรู้เนื้อหาสาระใดบ้าง ส่วนคำสำคัญในลักษณะของทักษะกระบวนการน้ัน มงุ่ เนน้ การฝึกปฏบิ ตั ิ รวมทั้งคณุ ลักษณะท่ตี ้องการปลูกฝงั ให้เกดิ แกน่ กั เรียนเพอ่ื ให้บรรลุมาตรฐานทกี่ ำหนด ๒. ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั และนำมาประยุกตใ์ ชใ้ นหน่วยงาน คอื 1. เพอ่ื ให้ครูและผ้สู นใจมีความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา 2. เพอ่ื ให้ครูและผูส้ นใจสามารถออกแบบวสิ ยั ทัศน์ โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษา และคำอธิบายรายวชิ า. ๓. เอกสารที่ไดร้ ับจากการไปราชการ/การอบรมสัมมนา/การศึกษาดงู าน มดี งั ต่อไปน้ี ๓.๑ หนังสือคู่มือโดยหลักสูตรสถานศึกษา (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนตรี วงษ์สะพาน ภาควิชา หลักสตู รและการสอน คณะศกึ ษาศาสตรม์ หาวิทยาลยั มหาสารคาม) ๓.๒ PowerPoint
๔. เกียรติบัตรรูปภาพ/ไฟล์รปู ภาพประกอบ จงึ เรยี นมาเพอื่ โปรดทราบ ลงชื่อ.....................................................ผรู้ ายงาน (นางสาวนะดา ขันธศักด์ิ) ตำแหนง่ ครู ความคิดเห็นของฝา่ ยบรหิ ารงานบคุ ลากร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ .................................................................. (.................................................) หัวหนา้ ฝา่ ยบคุ ลากร ความคดิ เหน็ ของผ้อู ำนวยการโรงเรียน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื .................................................................. (นางสาวกันยาภัทร ภัทรโสตถิ)
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: