วารสารรายปักษ์ หนองนาคำ ฉบับปฐมฤกษ์ อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น ฉบับที่ 1 วันที่ 15 กันยายน 2564 เพื่อประชาสัมพันธ์ สร้างสรรค์ภูมิปัญญา พัฒนาคุณภาพชีวิต วารสาร NONGNAKHAM JOURNAL
NONGNAKHAM JOURNAL บทบรรณาธิการ วารสารหนองนาคำ วารสารหนองนาคำ (NONGNAKHAM JOURNAL) จัดทำขึ้นเพื่ อการสื่ อสาร ประชาสัมพันธ์ กิจกรรม ภารกิจ ฉบับที่ 1 วันที่ 15 กันยายน 2564 แผนงาน โครงการที่โดดเด่น ที่ภาคราชการ ภาคประชาชน จัดทำขึ้นโดยที่ทำการปกครองอำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น และภาคีเครือข่ายในพื้ นที่ได้ดำเนินการ ให้เป็นที่รับรู้ในวง เพื่อการประชาสัมพันธ์ สร้างสรรค์ภูมิปัญญา กว้าง สนับสนุนการอ่าน การเขียน การศึกษา การค้นคว้า พัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน การพัฒนาองค์ความรู้ ทักษะ นวัตกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม เพื่ อนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิด คณะที่ปรึกษา รองผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น ประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม พร้อมทั้งส่งเสริมให้มีเครือข่าย นายอำเภอหนองนาคำ การประสานงาน บูรณาการ การแก้ไขปัญหาและการพัฒนา นายจารึก เหล่าประเสริฐ ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอหนองนาคำ ในด้านต่างๆ เพื่ อเสริมสร้างและสนับสุนแผนงานพัฒนา นายปิยะพงษ์ คลังทอง พัฒนาการอำเภอหนองนาคำ คุ ณ ภ า พ ชีวิ ต ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ใ ห้มี ป ร ะ สิ ท ธิภ า พ เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น นายวิลาศ วันชัย ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองนาคำวิทยาคม นายรังสรรค์ เชื้อสาวะถี ศิลปินมรดกอีสานสาขาวรรณศิลป์ปี2554/นักเขียน โดยจัดทำเป็นวารสารรายปักษ์ ออกทุกวันที่ 1 และวันที่ นายวสันต์ จันทรพิสิษฐ์ ประธานสโมสรนักเขียนภาคอีสานฯ/นักเขียน 15 ของเดือน ไม่จัดจำหน่าย (เผยแพร่ฟรี) ซึ่งได้เชิญชวน นายสมคิด สิงสง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านมูลนาค/นักเขียน ส่วนราชการ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ประธานกลุ่ม เครือข่าย นายสังคม เภสัชมาลา ประธานชมรมกำนัน ผู้ใหญ่บ้านอำเภอหนองนาคำ องค์กร ปราชญ์ชาวบ้าน นักเรียน นักศึกษา เยาวชน นายสรยุทธ วาระกูล ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนคอนสวรรค์ ประชาชนในพื้ นที่ ตลอดทั้งเครือข่ายศิลปิน นักคิด นักเขียน นายอารี พลดร ส่งงานเขียนและผลงานศิลปะร่วมตีพิมพ์ในวารสาร ด้วยจิต นายยุทธศักดิ์ ลุ่มใธสงค์ อาสาและความสมัครใจ กองบรรณาธิการ วารสารหนองนาคำ ( NONGNAKHAM JOURNAL) ฉบับปฐมฤกษ์เบิกทางนี้ จึงเกิดขึ้นจากความร่วมมือร่วมใจ นายปิยะพงษ์ คลังทอง นายอำเภอหนองนาคำ ของทีมงานบุคลากรของที่ทำการปกครองอำเภอหนองนาคำ นางบุษกร ชินอ้วน ปลัดอำเภออาวุโส ภาคส่วนราชการ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ประชาชน และมิ่งมิตรใน นายกำชัย หาจันดา ปลัดอำเภอ แวดวงนักคิด นักเขียน ผมขอขอบคุณทุกท่านไว้ ณ โอกาส นายวรชัย ธรรมชาติ ปลัดอำเภอ นี้ เราจะสร้างสรรค์วารสารหนองนาคำ (NONGNAKHAM นายสมบัติ โหมดขาว ปลัดอำเภอ JOURNAL) ด้วยความมุ่งมั่นและเปี่ ยมพลังต่อไป นางสาวรักษณาลี วงษาหาร ปลัดอำเภอ นางจันสุดา ชัยเลิศ เสมียนตราอำเภอ ปิยะพงษ์ คลังทอง นางสาวนวพร ไกรษร จนท.TST นายอำเภอหนองนาคำ นางสาวณัฐพร ศรีวิจารย์ จนท.TST นางสาววิชุดา อุ่นสา จนท.TST CONTACT นางสาวเกษร โพทิพยวงษ์ จนท.TST นางสาวอรสา จันสนิท จนท.TST 043-217-099 นายสราวุธ นามตะ จนท.TST [email protected] ออกแบบปกและรูปเล่ม : นางสาววิชุดา อุ่นสา พิมพ์ที่ อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น หมู่ที่ 8 ต.บ้านโคก อ.หนองนาคำ จ.ขอนแก่น 40150 https://sites.google.com/view/nkdopa ที่ทำการปกครองอำเภอหนองนาคำ
สารบัญ กิจกรรมเด่น 04 05 Smart Farm สมาร์ทฟาร์ม แผนปฏิบัติการ 4 มาตรการ 3 กลยุทธ 06 หยุดเชื้อ COVID-19 อำเภอหนองนาคำ รายงานจากหมู่บ้าน กำเนิดหมู่บ้าน/พิพิธภัณฑ์ชุมชน โดย ถนิต อุปละ เยือนท้องถิ่น 12 นวัตกรรม 07 ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านนาดี 08 อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่ องมาจากพระราชดำริ โดย วิไลวรรณ ห่มขวา 09 โดย อบต.กุดธาตุ ภูมิปัญญาชาวบ้าน 10 ตามฮอยบ้านนามเมือง ลายผ้า ลายชีวิต โดย พรนิภา กิจโป้ 11 แวดวงการศึกษา โดย วิลาศ วันชัย 13 ฝ่าโลกการศึกษา โดย สรยุทธ วาระกูล 24 คนหนองนาคำในตำนาน บทความพิเศษ 25 ลมหายใจแห่งเขตน้ำแดนดิน โดย สมคิด สิงสง ภาค ภาษาไทย 15 พื้ นที่ -วิถี -ศิ ลปะ 16 \"วัง หิน ซา\" โดย สมคิด สิงสง English Version โดย ณัฐพร ศรีวิจารย์ ซึมซาบกับกาพย์กลอน ลานศิลปะ ถิ่นภูผาทองหนองนาคำ โดย ปราโมทย์ ในจิต ปกหลัง/ภาพวาด นักเรียน กับ ศิลปะ โดย โรงเรียนหนองนาคำวิทยาคม 17 เรือนแพในลำพอง โดย ยุทธศักดิ์ ลุ่มไธสงค์ เรื่องสั้น เรือนแพในลำพอง โดย ปิยะพงษ์ คลังทอง 19-21 หน้าต่างความคิด ถวิลหาอดีต โดย สังคม เภสัชมาลา 22 ผญา-พาเพลิน-เจริญใจ 23 บ่าวหมอนกิ่ว
กิจกรรมเด่น กองบรรณาธิการ SMART FARM สมาร์ทฟาร์ม การจัดตั้งกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ ระบบ สมาร์ทฟาร์ม ควบคุมแปลงเพาะปลูกแบบอัจฉริยะ กลุ่มโนนนกทา-นาดี ผักอินทรีย์สมาร์ทฟาร์ม นอกเหนือจากการทำนาทำไร่ เพื่อเพิ่มรายได้ในครัวเรือน ชาวบ้านได้ ร่วมกลุ่มกันปลูกผักปลอดสารพิษในหมู่บ้าน ในนามกลุ่มโนนนกทา-นาดี จนเกิดการหมุนเวียนกำลังซื้อในชุมชนท้องถิ่น และต้องการเป็นต้นแบบ การทำระบบสมาร์ทฟาร์มในพื้นที่อำเภอหนองนาคำ เน้นการทำงานแบบมี ส่วนร่วมกับชุมชนและสร้างนวัตกรรมเทคโนโลยีในระบบสมาร์ทฟาร์ม ใน รูปแบบต่างๆ ทั้งแปลงปลูกระบบควบคุมแบบอัจฉริยะ ปัจจุบันพื้นที่สาธารณะประโยชน์บ้านนาดีได้ทำฟาร์มปลูกผักปลอด สารพิษ มีขนาด 400 ตารางเมตร ประกอบด้วยโรงเรือนเหล็กยกแปลง ปลูกสูง ขนาด 4x18 ตร.ม\" 2 โรงเรือนและโรงเรือนไม้ไผ่ ขนาด 4x18 ตร.ม. 2 โรงเรือน พร้อมด้วยระบบควบคุมการให้น้ำแบบสปริงเกอร์,แบบ หัวพ่นหมอก,แบบระบบน้ำหยดสามารถทำงานผ่านแอปพลิเคชัน และการ ปลูกผักหลายรูปแบบ ได้ดำเนินการอบรมให้ความรู้ ใช้ระยะเวลาปลูก ประมาณ 30 วันต่อหนึ่งรอบการปลูกก็สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ จากการดำเนินกิจกรรมครั้งนี้ได้มีการจัดตั้งกลุ่มอาชีพหลายกลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มผักโนนนกทานาดีผักปลอดสาร,กลุ่มดินสะอาด,กลุ่ม เพาะต้นกล้าปลอดสารศรีวิไล โดยทำข้อตกลงร่วมกันว่า ทุกกลุ่มจะเชื่อมโยงกิจกรรมและสั่งซื้อ ดินและต้นกล้ามาลงแปลงปลูกเป็นเวลา 3 ปี ซึ่งนอกจากจะทำให้เกิดการ หมุนเวียนของเศรษฐกิจแล้ว ยังเป็นการลดรายจ่าย สร้างรายได้เสริม ให้กับประชาชนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID – 19 04 NONGNAKHAM JOURNAL | กันยายน 2564
สมรภูมิการต่อสู้ ศัตรูที่มองไม่เห็น แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร 4 มาตรการ 3 กลยุทธ์ หยุดเชื้ อ COVID-19 อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น กลยุทธ์ 1 มี 2 นำ มาตรการ 4 ด้าน เป้าหมาย 1.มีเมตตา 1.ด้านการป้องกัน 1. ป้องกันและเฝ้าระวัง เชื้อ- เห็นอกเห็นใจ ไม่ทอดทิ้งกัน 1.1.กลุ่มเสี่ยง โควิด-19 (Covid-19) ไม่ให้แพร่ ช่วยเหลือแบ่งปันในยามยาก ผู้ที่เดินทางมาจากพื้ นที่เสี่ยง ระบาดในพื้ นที่อำเภอหนองนาคำ กลุ่มเปราะบาง เช่น ผู้สูงวัย ผู้ป่วยติด 2.นำพาความสามัคคี เตียง ผู้พิการ ผู้ยากไร้ คนเร่ร่อน 2. ช่วยเหลือรักษาผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อ- เสริมสร้างการมีส่วนร่วม เป็น 1.2.พื้ นที่เสี่ยง โควิด-19 (Covid-19) ให้ได้รับ แกนหลักในการดำเนินการ กิจกรรมที่มีการรวมคนจำนวนมาก การรักษาทันท่วงทีและมี ระดมสรรพกำลังทุกภาคส่วน สถานประกอบการ เช่น โรงแรม ประสิทธิภาพ รีสอร์ต,โรงงาน,ตลาดนัด ร้านค้า 3.นำภูมิปัญญาพื้นบ้าน มาผสาน ร้านอาหาร ฯลฯ 3. ควบคุมไม่ให้มีการแพร่ระบาดการ นวัตกรรม แหล่งมั่วสุม อบายมุข ติดเชื้อแบบกลุ่มก้อน (Cluster) อาคารสำนักงานส่วนราชการต่างๆ น้ำสมุนไพร อบสมุนไพร ให้ สถานศึกษา 4. ช่วยเหลือเยียวยาผู้ที่ได้รับผล ความอุ่นใจ สร้างเสริมกำลังใจ 1.3.การบริหารจัดการวัคซีน กระทบจากการแพร่ระบาดเชื้อ- และภูมิคุ้มกันให้แก่กลุ่มเสี่ยง/ โควิด-19 (Covid-19) ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วย 2.ด้านการช่วยเหลือรักษา จัดทำ QR Code เป็นช่องทาง 2.1.กลุ่มเสี่ยง (เสี่ยงสูง/เสี่ยงต่ำ) 5.บริหารจัดการให้มาตรการด้าน ติดต่อสื่อสาร ระหว่าง จนท.กับ สถานที่กักตัว (Home Quarantine) ต่างๆสัมฤทธิ์ผล กลุ่มเสี่ยง/ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วย 2.2.กลุ่มผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วย อาทิ ข้อมูลการปฏิบัติตน การ คัดแยกรักษาตามอาการ ดูแลสุขภาพ จิตวิทยา บันเทิง โรงพยาบาล/ศูนย์พักคอย ผ่อนคลาย (วรรณกรรม/ (Community Isolation) บทเพลง/ผญา) ส่งต่อโรงพยาบาลหลัก/โรงพยาบาล สนาม 3.ด้านการช่วยเหลือเยียวยา นโยบายของรัฐบาล ส่วนราชการ ภาคเอกชน ภาค ประชาชน 4.ด้านการบริหารจัดการ กลไกการบริหารจัดการ ศูนย์ข้อมูลฯ/ประชาสัมพันธ์ การสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ งบ ประมาณ กำลังคน การขนส่ง ฯลฯ กันยายน 2564| NONGNAKHAM JOURNAL 05
รายงานจากหมู่บ้าน พิพิธภัณฑ์ชุมชน ถนิต อุปละ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 10 ต.กุดธาตุ พิพิธภัณฑ์ชุมชน บ้านโคก หมู่ที่ 10 ตำบลกุดธาตุ อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น ได้มีการรวบรวม เอาสิ่งของเครื่องใช้ยุคโบราณซึ่งมีอายุ100-200 ปี มาเก็บไว้เป็นหมวดหมู่ และยังมีสิ่งของเครื่องใช้ที่ใช้ อยู่ในปัจจุบันนี้ ก็นำมาเก็บรวบรวมไว้มากมายหลาย ชิ้น ซึ่งในปัจจุบันกำลังจะกลายเป็นสิ่งของที่หาดูยาก แล้ว อาคารพิพิธภัณฑ์ชุมชนของเรา ตั้งอยู่ในบริเวณวัด โนนรัง บ้านโคก นอกจากจะมีสิ่งของเครื่องมือเครื่อง ใช้โบราณของชุมชนบ้านโคกนาฝายแล้ว เรายังมีวัตถุ โบราณจาก “โนนนกทา” มาเก็บรวมไว้ด้วย อาทิเช่น เครื่องปั้ นดินเผา ที่มีอายุหลายร้อยปี สำหรับวารสารหนองนาคำ ฉบับปฐมฤกษ์นี้ ผมขอ เสนอ พระพุทธรูปไม้และพระพุทธรูปหิน ซึ่งเป็นการ แกะสลักลวดลายพระพุทธรูปลงไปในเนื้อไม้ หรือเนื้อ หิน ด้วยคติความเชื่อ และภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้วยแรง ศรัทธาในพระพุทธศาสนาของผู้คนในยุดสมัยก่อน กำเนิดหมู่บ้าน ในปี พ.ศ.2427 ได้เสนอชื่อหมู่บ้าน เป็นบ้าน โคก หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านโคก อำเภอภูเวียง ประมาณปี พ.ศ.2400 นายสา สอนโคตร ซึ่ง จังหวัดขอนแก่น และมีคำสั่งให้เลือกตั้ง เป็นชาวบ้านภูเวียง ได้ออกมาหาปลาที่ลำน้ำ ผู้ใหญ่บ้าน คือ นายลอง พลเทพา ได้รับ พอง เห็นที่ดินริมฝั่ งลำน้ำพองทางทิศเหนือ เลือกเป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก ของบึงทุมทาม มีความอุดมสมบูรณ์ จึงได้ ชักชวนเพื่อนมาตั้งถิ่นฐาน บ้านเรือนอาศัย ในระหว่างปีพ.ศ.2508 ได้มีการแบ่ง อยู่ในบริเวณดังกล่าว เรียกว่า “บ้านนาฝาย” เขตการปกครองใหม่ บ้านโคกนาฝาย ซึ่งคำว่า “ฝาย” ก็เป็นแหล่งที่น้ำไหลผ่าน หมู่ที่2 ตำบลบ้านโคก อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น จึงเปลี่ยนเป็น บ้าน ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2420 นายกอง โคกนาฝาย หมู่ที่ 10 ตำบลกุดธาตุ พลเทพา ชาวบ้านนาฝาย จึงได้ชักชวน อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ต่อมา ญาติๆและพรรคพวกส่วนหนึ่งย้ายออก ประมาณปี2537-2550 ได้เปลี่ยนจาก จากบ้านนาฝาย ขึ้นไปตั้งบ้านอยู่ใหม่ทาง อำเภอภูเวียงมาเป็นกิ่งอำเภอหนอง- ด้านทิศตะวันตกของบ้านนาฝาย ละแวก นาคำและอำเภอหนองนาคำตามลำดับ นั้นจะเรียกว่า “โคกป่ารัง” แล้วตั้งชื่อ จนถึงปัจจุบัน หมู่บ้านใหม่ว่า “บ้านโคก” ตามลักษณะ ภูมิประเทศที่อยู่อาศัยซึ่งเป็นที่ราบสูง (อ่านต่อฉบับหน้า) กว่าบ้านนาฝาย 06 NONGNAKHAM JOURNAL | กันยายน 2564
นวัตกรรม วิไลวรรณ ห่มขวา ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนาดี ศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านนาดี ได้ดำเนินการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงจำนวน 4 ศูนย์ การเรียนรู้ ได้แก่ 1.ศูนย์ปลูกผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวัน 2.ศูนย์เลี้ยงปลานิล 3.ศูนย์เพาะเห็ด 4.ศูนย์เลี้ยงไก่ เพื่อเป็นการเสริมสร้างชีวิตตามวิถีอยู่อย่างพอเพียง เพื่อปลูกฝังและสร้างกระบวนการ เรียนรู้ให้แก่นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และลงมือปฏิบัติจริง เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน และในขณะนี้ได้มีผลผลิตออกมาเพื่อจำหน่ายให้กับท่านที่สนใจแล้ว สำหรับท่านที่สนใจติดต่อสั่งซื้อได้ที่ Facebook page : โรงเรียนบ้านนาดี กันยายน 2564| NONGNAKHAM JOURNAL 07
ภูมิปัญญาชาวบ้าน พรนิภา กิจโป้ ประธานกลุ่มแปรรูปผ้าฝ้ายบ้านหนองกุง ลายผ้า ลายชีวิต การทอผ้าฝ้าย ผ้ามัดหมี่ลายมัจฉาชาดราชพฤกษ์ อำเภอหนองนาคำ \" ล า ย มั จ ฉ า ช า ด ร า ช พ ฤ ก ษ์ \" เ ป็ น ล า ย เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ท้ อ ง ถิ่ น ข อ ง อำ เ ภ อ ห น อ ง น า คำ ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ ป็ น ม า “มัจฉาชาดราชพฤกษ์” ลายเอกลักษณ์ของท้อง ถิ่น อำเภอหนองนาคำ เมื่อปี พ.ศ. 2560 นางพรนิภา กิจโป้ ประธานกลุ่มแปรรูปผ้าฝ้ายบ้านหนองกุง หมู่ “สีม่วง”คือสีประจำวันเกิดของ อำเภอหนองนาคำ ที่ 3 ตำบลขนวน อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น ได้ออกแบบลายผ้าให้สมาชิก ซึ่งตรงกับวัน “วันเสาร์” จึงใช้สีม่วงเป็นสีประจำ กลุ่ม นำไปทอประดับตกแต่งบนผืนผ้าฝ้ายชื่อลาย \"มัจฉาชาดราชพฤกษ์\" โดยได้ อำเภอหนองนาคำ แรงบันดาลใจมาจาก \"ปลาน้ำแดง\" เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นอำเภอหนองนา- “ผ้าขาวม้าทรงเครื่อง” คือ ผลงาน สร้างชื่อเสียง คำเป็นประจำทุกปี เมื่อถึงช่วงฤดูน้ำหลาก จะมีปลาน้ำจืดหลากหลายสายพันธ์ุว่าย อำเภอหนองนาคำเป็นที่รู้จักรางวัลชมเชยลำดับที่ ทวนน้ำขึ้นมาวางไข่ พร้อมกับสายน้ำสีดินแดงที่ไหลหลากจากลำน้ำพองลงสู่เขื่อน 4 ของประเทศไทย การประกวด โครงการส่ง อุบลรัตน์ ชาวบ้านทั่วทุกสารทิศหลั่งไหลกันมาชื่นชม \"ปลาน้ำแดง\" และนี่คือที่มา เสริมเครือข่ายองค์ความรู้ KBO (Knowledge ของชื่องาน\"งมปลาน้ำแดงแงงผ้าฝ้ายไหว้พระพุทธนาคำ\" ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี Best OTOP) ประจำปี พ.ศ.2556 ที่เมืองทอง ในวันที่ 16 - 18 ธันวาคม ธานี โดย นางประจีน วิลาจันทร์ “ปลาน้ำแดง” เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น อำเภอหนองนาคำ เมื่อถึงช่วงฤดูน้ำหลาก จะมี ปลาน้ำจืดหลากหลายสายพันธ์ุว่ายทวนน้ำขึ้น มาวางไข่ พร้อมกับสายน้ำสีดินแดงที่ไหลหลาก จากลำน้ำพองลงสู่เขื่อนอุบลรัตน์ ชาวบ้านทั่ว สารทิศหลั่งไหลกันมาชื่นชม “ปลาน้ำแดง” และ นี่คือที่มาของงานประเพณี “งมปลาน้ำแดง แงงผ้าฝ้าย ไหว้พระพุทธนาคำ” ซึ่งจัดขึ้นเป็น ประจำทุกปี ในวันที่ 16 – 18 ธันวาคม “ดอกคูน” ดอกไม้ประจำจังหวัดขอนแก่น เมืองเสียงแคนดอกคูน เมื่อนำสองสิ่งสำคัญมา รวมกันกลายเป็น “ลายมัจฉาชาดราชพฤกษ์” ลายเอกลักษณ์ท้องถิ่นอำเภอหนองนาคำ 08 NONGNAKHAM JOURNAL | กันยายน 2564
แ ว ด ว ง ก า ร ศึ ก ษ า สรยุทธ วาระกูล ผู้ อำ น ว ย ก า ร โ ร ง เ รีย น บ้ า น มู ล น า ค / นั ก เ ขี ย น ผ่ า โ ล ก ก า ร ศึ ก ษ า คอลัมน์ผ่าโลกการศึกษา ซึ่งได้รับมอบหมายจาก นายอำเภอปิยะพงษ์ คลังทอง ซึ่งถือว่าเป็นฉบับปฐมฤกษ์เบิก โรง ทั้งของผู้เขียนและคณะผู้จัดทำ คงหนีไม่พ้นเรื่องสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ที่กำลังมีผลกระทบ ต่อแวดวงการศึกษา และสร้างความวิตกกังวลใจให้แก่ผู้ปกครองเป็นอย่างมาก ครับ จริง ๆ แล้ว ภาคเรียนที่ 1/2564 ที่ผ่าน 3.On-Line คือครูผู้สอนทำการสอนผ่าน แน่นอนสถานการณ์วิกฤติจากอันตรายของ มานั้น ต้องเปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ วันที่ 17 พฤษภาคม 2564 เป็นต้นมา แต่ โควิด-19 นั้น ย่อมสร้างความหวาดผวาให้กับ ด้วยสถานการณ์โควิด 19 รัฐมนตรีว่าการ 4.On-demand ผ่านระบบแอปพลิเคชัน กระทรวงศึกษาธิการ น.ส.ตรีนุช เทียนทอง 5.On- hand ครูผู้สอนเดินทางไปแจd ประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มครูและผู้ปกครองที่ จึงได้ประกาศให้เลื่อนการเปิดภาคเรียนออก ไปเป็นวันที่ 1 มิถุนายน 2564 แต่เนื่องจาก เอกสารใบงานให้กับนักเรียนที่บ้าน เป็นห่วงเรื่องความปลอดภัยของลูกศิษย์และ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด-19 ที่ปะทุขึ้น อย่างไรก็ตามการเรียนการสอนทั้ง 5 รูปแบบ บุตรหลาน ซึ่งหากเปิดเรียนตามปกติ ก็เกรง อีกเป็นรอบที่ 3 และยังไม่มีทีท่าว่าจะสามารถ จะต้องดูความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่และอยู่ ควบคุมการแพร่ระบาดให้ทุเลาเบาบางลงได้ บนพื้นฐานของความปลอดภัยทั้งครูผู้สอน ว่าจะเกิดเป็นคลัสเตอร์ขนาดใหญ่ขึ้นในสถาน ในห้วงระยะเวลาอันสั้น จึงทำให้ท่านรัฐมนตรี และนักเรียนเป็นอันดับแรก ว่าการกระทรวงศึกษาธิการต้องออกมา ศึกษา ส่งผลให้ลูกหลานติดโควิดกันทั้ง ประกาศเลื่อนการเปิดภาคเรียนที่1ประจำปี การศึกษา 2564 (ภ.1/2564) จากวันที่ 1 โรงเรียน และอาจลุกลามไปในชุมชน หรือจาก มิถุนายน 2564 ออกไปอีกครั้งเป็นวันที่ 14 มิถุนายน 2564 และจนกระทั่งปิดต้นฉบับใน ชุมชนแพร่มาเข้ามาในสถานศึกษาโดยมีบุตร วันที่ 10 กันยายน 2564 สถานศึกษาก็ยังไม่ สามารถเปิดเรียนตามปกติได้ตามที่ทราบกัน หลานเป็นพาหะนำโรค อยู่ในเวลานี้ จากรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ทั้ง 5 ช่วงนี้มีมาตรการผ่อนปรนในบางพื้นที่ ดังนั้นในห้วงที่ผ่านมา ทางกระทรวง รูปแบบ ส่วนใหญ่โรงเรียนหรือสถานศึกษามัก บางโรงเรียนเริ่มเปิดเรียน เริ่มมาเปิดเรียน ศึกษาธิการร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการ เลือกรูปแบบที่3.On-Lineคือครูผู้สอนทำการ แบบ On- site แต่โดยความเห็นส่วนตัว การศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.)จึงได้มอบหมาย สอนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ และรูปแบบที่ ผู้เขียนคิดว่า จำนวนผู้ติดเชื้อโควิด 19 ยังไม่ นโยบายให้สถานศึกษาสามารถเลือกใช้รูป 5.คือ On- hand ครูผู้สอนเดินทางไปแจก ลดลงแต่อย่างใด หากจะเปิดเรียนตามปกติ แบบในการจัดการเรียนการสอนได้ 5 รูปแบบ เอกสารใบงานให้กับนักเรียนที่บ้าน แต่ไม่ว่าจะ กันจริง ๆ ก็ควรจะมีการระดมฉีดวัคซีนให้เด็ก ด้วยกันดังนี้ ใช้การสอนรูปแบบใด เสียงสะท้อนที่ได้จากครู และบุคลากรทางการศึกษาให้ได้ 100% เสีย และผู้ปกครองก็คือ เด็กให้ความสนใจน้อย ส่ง ก่อน ซึ่งน่าจะปลอดภัยมากกว่า 1.On- site คือ การเดินทางมาเรียนที่ ผลต่อการวัดและประเมินผลของผู้เรียนซึ่ง โรงเรียน ซึ่งเหมาะสำหรับโรงเรียนที่มี เป็นปัญหาโลกแตกที่ทุกฝ่ายพยายามออกมา นักเรียนไม่มากนัก สามารถจัดพื้นที่แบบ หาทางแก้ปัญหาร่วมกัน ทั้งยกเลิกนำคะแนน เว้นระยะห่างและสามารถเข้มงวดการ โอเน็ต(o-net)ใช้ในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย สวมหน้ากากอนามัยตามมาตรการด้าน ปรับลดเกณฑ์เวลาเรียน ลดการบ้าน เน้นสาระ สาธารณสุขอย่างเข้มข้น วิชาหลัก 2.On-Air ผ่านระบบมูลนิธิการศึกษาทาง ในส่วนของการเยียวยาต่าง ๆ ที่ภาครัฐจัด ไกลผ่านดาวเทียม(ไกลกังวล) หรือ ให้แก่ผู้เรียน ล่าสุดก็ได้แก่แจกเงินลดภาระค่า DLTV ใช้จ่ายผู้ปกครอง ตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 ถึง ปวช./ปวส. รายละ 2,000 บาท ลดค่าเทอม สำหรับสถานศึกษาที่เก็บค่าเทอม และอื่นๆ กันยายน 2564| NONGNAKHAM JOURNAL 09
บทความพิเศษ ส่วนเรื่องน้ำดื่มน้ำกินไม่ต้องพกพาไปให้ยาก กินตามฝาย สมคิด สิงสง ตามหนองน้ำที่ไหนก็ได้แม้แต่ยามฝนตกมีน้ำขังอยู่ตามรอย ควาย ก็ยังเอามือกอบดื่มกินได้โดยไม่ต้องคิด นั่นสมัยที่ตา ประธานองค์กรเครือข่ายลุ่มน้ำห้วยสามหมอ เป็นเด็กเลี้ยงควาย ผ่านมาแล้ว 50-60 ปี แต่ภาพอดีตกึ่ง ศตวรรษที่ผ่านมายังติดตาตรึงใจ ยามฝนก็รองน้ำฝนใส่โอ่ง ไว้กิน หมดหน้าฝนพวกผู้หญิงมีหน้าที่ต้องหาบครุถังไปตัก น้ำซับ ระยะทางไปกลับราว 2 กิโลเมตร ใกล้สุดคือหนองน้ำ ลมหายใจ กิน ที่มีกฎกติการ่วมกันว่าห้ามนำวัวควายไปลงน้ำ และห้าม แห่งเขตน้ำแดนดิน คนลงอาบน้ำในหนอง อยากอาบน้ำในหนองน้ำกินต้องตักขึ้น มาอาบให้พ้นขอบคันคูหนองน้ำ ในยุคที่ตาอายุเท่าหลานในเวลานี้ ตายังจดจำชีวิตเด็กเลี้ยงควายได้ ดี ก่อนไปโรงเรียนต้องปล่อยฝูงควายออกจากคอกใต้ถุนเรือน ไปส่ง ตกมาถึงสมัยนี้ สถานการณ์เปลี่ยนไปราวหน้ามือเป็น ขึ้นโคกท้ายหมู่บ้าน และเมื่อถึงเวลาโรงเรียนเลิกตอนบ่ายคล้อย ก็ หลังมือทุกครัวเรือนต้องซื้อน้ำดื่ม น้ำกิน ที่มีมาแบบบรรจุ มีหน้าที่ไปลัดต้อนหมู่ควายกลับเข้าคอกเป็นประจำ สมัยก่อนโคกยัง ขวดหรือภาชนะพลาสติกน้อยใหญ่ แม้แต่น้ำฝนที่รองจาก กว้าง ป่ายังหนาทึบ ยังไม่มีไร่อ้อยหรือมันสำปะหลังเหมือนยุคนี้ วัว ชายคาบ้านเรือนก็ไม่มีใครกล้าดื่มกิน ด้วยหวาดกลัวสิ่งที่เป็น ควายสนุกหาเล็มหญ้าตามทำเลสาธารณะ ไม่ต้องห่วงว่าจะไปทำความ พิษที่ปนเปื้ อนมากับน้ำ แสดงว่าสารพิษที่ปนเปื้ อนน้ำนี้มีมา เสียหายแก่เรือกสวนไร่นาผู้ใด ตาโชคดีได้โอกาสไปเรียนหนังสือต่อใน ทั้งภาคพื้นดินและในบรรยากาศ อันเป็นผลโดยตรงที่เกิดขึ้น เมืองหลวงหลังจบชั้นประชาบาล ป.4 ที่โรงเรียนบ้านเกิด ถึงกระนั้นใน จากกระแสการเร่งรัดพัฒนาในช่วงระยะเวลาประมาณกึ่ง เวลาโรงเรียนในเมืองปิคภาคเรียน 2 เดือนในฤดูร้อน ตาก็ยังต้อง ศตวรรษที่ผ่านมาหรือนับแต่ประเทศไทยมีการประกาศใช้ กลับมาทำหน้าที่เด็กเลี้ยงควายให้พ่อแม่ตามเคยชีวิตเด็กเลี้ยงควาย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นต้นมา สมัยนั้นช่างหฤหรรษ์ยิ่งนัก เรื่องนี้มีรายละเอียดที่ค่อนข้างละเอียดอ่อน ตาจะยังไม่ หลังคาบข้าวเช้าพร้อมหน้าพร้อมตาพ่อแม่พี่น้องแล้วได้ห่อข้าว ลงลึกในรายละเอียดนั้น เอาไว้เล่าให้ฟังทีหลังก็แล้วกัน เอา เหนียวกับแจ่วปลาร้า ขอดด้วยผ้าขาวม้าคาดเคียนสะเอว ปล่อยหมู่ เป็นว่าเรื่องน้ำสะอาดเพื่อดื่มกินได้กลายเป็นประเด็นวิกฤต ควายออกจากคอก เดินเรียงแถวไปตามทางหลวงจนผ่านพ้นหมู่บ้าน หนึ่งของทรัพยากรน้ำ มุ่งหน้าสู่โคกทำเลแหล่งเลี้ยงควายที่แสนจะคุ้นเคยทั้งคนเลี้ยงและ ฝูงควาย อันนอกเหนือไปจากเรื่องวิกฤตภัยแล้ง วิกฤตอุทกภัย วิกฤตน้ำเค็ม วิกฤตน้ำเน่าเสียในแหล่งน้ำ ซึ่งประเทศไทยได้ ตราพ.ร.บ.ทรัพยากรน้ำแห่งชาติ พ.ศ.2561 ขึ้นมารับมือและ จัดการแก้ปัญหาวิกฤติการด้านทรัพยากรน้ำโดยรวมอัน ถือว่าเป็นอุบัติการณ์ใหม่ของไทย อาจจะยังไม่เห็นผลในระยะ เวลาอันสั้น เราคงต้องติดตามสถานการณ์นี้อย่างใกล้ชิดกัน ต่อไป (อ่านต่อฉบับหน้า) 10 NONGNAKHAM JOURNAL | กันยายน 2564
\"วัง หิน ซา\" พื้ นที่-วิถี-ศิลปะ ๏ \"วังหินซา\" นามนี้มีมนต์ขลัง สมคิด สิงสง เป็นเวินวังปลาชุมลุ่มน้ำใหญ่ แม่น้ำพองมีช่องภูหนีบรัดไว้ ศิลปินมรดกอีสานสาขาวรรณศิลป์ ประจำปี 2554 เขาขึงเขื่อนเก็บน้ำใช้ปั่ นไฟฟ้า WANG HIN SA ๏ \"อ่างเก็บน้ำพองหนีบ\" ทะเลสาบ ล้อมลุ่มราบด้วยภูเขาดูแน่นหนา เทิดพระนาม \"อุบลรัตน์ฯ\" ราชกัลยา เขื่อนพองหนีบจึงนามว่า \"อุบลรัตน์\" ๏ มีดเหล็กกล้า \"หินซา\" จึงควรคู่ วังจึงดูขรึมขลังพลังจัด เป็นแหล่งเลี้ยงลูกหลานมานานวรรษ แหล่งประมงใครถนัดทางหาปลา ๏ \"วังหินซา\" นามนี้มีเรื่องราว ถามหนุ่มสาว \"หนองนาคำ\" รู้ไหมว่า มีดเหล็กแกร่งลับฝนคมต้องหินซา มีเรื่องราวเป็นมาอย่างไรกัน? ๏ ชวนให้ขบ คิดหา ที่มาถิ่น นามที่ยินมานานช่างชวนฝัน ลำน้ำพองผองเราผ่านคืนวัน ดุจแม่เราแบ่งปันเอื้ ออาทร กันยายน 2564| NONGNAKHAM JOURNAL 11
เยือนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลกุดธาตุ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่ องมาจากพระราชดำริ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตน- ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งได้ทรงสืบสานพระราชปณิธานในการอนุรักษ์ ทรัพยากรของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่พระองค์ทรง มีสายพระเนตรยาวไกล ทรงเห็นความสำคัญในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ซึ่งใน ปัจจุบันทรัพยากรเหล่านั้นกำลังจะสูญหายไป หากไม่มีการอนุรักษ์ และรักษาไว้ ในคนรุ่นหลัง องค์การบริหารส่วนตำบลกุดธาตุ ได้เล็งเห็นความสำคัญในการอนุรักษ์ ทรัพยากรท้องถิ่น จึงน้อมนำแนวพระราชดำริฯที่ทรงห่วงใยทรัพยากรธรรมชาติ ที่จะสูญสิ้นไป โดยสมัครเป็นสมาชิก โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมา จากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี งานฐาน ทรัพยากรท้องถิ่น สมาชิกเลขที่ 8-6402302 โดยได้ดำเนินงานฐานทรัพยากร ท้องถิ่น 6 งาน ดังนี้ 1.งานปกปักพันธุกรรมพืช 2. งานสำรวจและรวบรวมทรัพยากรท้องถิ่น 3. งานปลูกรักษาทรัพยากรท้องถิ่น 4. งานอนุรักษ์และจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่น 5. งานศูนย์ข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น 6. งานอนุรักษ์และจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่น ซึ่งได้มุ่งหวังให้คนในชุมชน ไม่ว่าจะเป็น ผู้นำหมู่บ้าน สถานศึกษา นักเรียน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรท้องถิ่นโดยการจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็น ทรัพยากรพืช ทรัพยากรสัตว์ ทรัพยากรชีวภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งทรัพยากรธรรมชาติและโบราณคดี ที่กำลังสูญสิ้น หายจากความเจริญเข้า มาในพื้นที่โดยทำลายทรัพยากรธรรมชาติ จึงได้ทำการสำรวจข้อมูลเพื่อจัดทำ ฐานทรัพยากรท้องถิ่นที่มีอยู่พื้นที่เพื่อทำการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน พึ่งพาตนเองได้อย่างมั่นคง ภายใต้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่ง องค์การบริหารส่วนตำบล ได้ดำเนินงานจนมีผลการดำเนินงานเป็นที่ยอมรับ และผ่านเกณฑ์การประเมินได้รับป้ายสนองพระราชดำริในงานฐานทรัพยากร ท้องถิ่น 12 NONGNAKHAM JOURNAL | กันยายน 2564
หนองนาคำ เดิมนั้นเป็นดินแดนอารยธรรม และ จากรายงานของวิลเฮลม์ จี.โซลโฮม์ เรื่ องเออร์สี เป็นแหล่ งอุ ดมสมบู รณ์ที่ สุดแห่งหนึ่ งในแผ่นดิน บรอนซ์ อิ นนอร์ช อิ สเทิ ร์นไทยแลนด์ (นิตยสาร อี สานเหมาะเป็นแหล่ งอู่ ข้าวอู่ น้ำและเต็ มไปด้วย ศิ ลปากรปีที่ ๑๑ เล่ ม ๔ พ.ศ. ๒๕๑๐) ได้ขุ ดค้ นป่าข้า ทรัพยากรธรรมชาติ นานาชนิด และมีเศรษฐกิ จ โบราณดึกดำบรรพ์พบทั้งเครื่ องสำริดและเหล็ ก รุ่งเรืองตลอดมา ประชาชนมีความเป็นอยู่อย่าง โดยพิสูจน์คาร์บอน ๑๔ จากชั้นดินที่ ๑๙ ปรากฏว่า สงบสุขจึงได้ตั้งชื่ อชุ มชนแห่งนี้ว่า“หนองนาคำ” มีอายุ ๔๒๙๕+-๒๐๐ ปีมาแล้ ว (อาจคลาดเคลื่ อนได้ หมายถึ ง หมู่บ้านที่ รวมของแหล่ งน้ำ พื้ นนา และ ไม่มากไม่น้อยเกิ น ๒๐๐ ปี) มากกว่า ๑,๐๐๐ ปี ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ อุ ดมสมบู รณ์ อี กประการ ก่ อนเริ่มทำเครื่ องสำริดที่ ประเทศจีน ก่ อนที่ เจ้าของ หนึ่ งหมายความรวมถึ งบริเวณที่ ตั้งหมู่บ้าน วัฒนธรรมฮาร์ปปาในลุ่ มน้ำสินธุ ประเทศอิ นเดีย จะ หนองนาคำนั้น ไม่สามารถขุ ดบ่อน้ำเพื่ อใช้ดื่ มกิ น เริ่มทำเครื่ องสำริดเกื อบ ๑๐๐ ปี เครื่ องสำริดที่ ขุ ด ได้เพราะน้ำซึมออกมาจะเป็นสีเหลื องแดงเหมือน พบมีเครื่ องมือเครื่ องใช้เป็นขวาน แบบแม่พิมพ์ใช้ น้ำ ส นิ ม เ รี ย ก ว่ า น้ำ คำ หล่ อ กำไลแขนสำริด ปลายหอกภาชนะคล้ าย ตะเกี ยงหรือกาน้ำ และยังมีเครื่ องใช้ที่ ทำด้วยหินขัด ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิ ตยสถานพ.ศ. อี กหลายชิ้น ๒๔๙๓ ให้ความหมาย“ หนองนาคำ” ไว้ดังนี้ หนอง แปลว่า แอ่ งน้ำอยู่ตามป่าและทุ่ ง นา แปลว่าพื้ นที่ ราบทำเป็นคั นดินสำหรับปลูกข้าว คำ แปลว่า ทองคำ การตั้ งถิ่ นฐาน ตามฮอยบ้านนามเมือง เพียเมืองแพน ต้ นสกุลเสมอพระ บ้านชีโหล่ น วิลาศ วันชัย หลานเจ้าแก้ วบู ฮม ได้พาผู้คนมาตั้งอยู่ที่ บ้านบึง บอน(บ้านเมืองเก่ า) และสมัครขึ้ นอยู่กั บพระยา ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอหนองนาคำ นครราชสีมา และมีใบบอกมายังกรุงเทพฯเมื่ อปี พ.ศ.๒๓๔๐โปรดเกล้ าฯให้ยกบ้านบึงบอนขึ้ น ในการสำรวจปีที่ ๒ ได้ขุ ดตรวจบริเวณส่วน เป็น“เมืองขอนแก่ น”และตั้งเพียเมืองแพนเป็น \"พระนครบริรักษ์ ”เจ้าเมือง พ.ศ. ๒๓๖๙ ตั้งบ้าน ระดับดินตอนบนมีการเผาศพ(คงเป็นระยะที่ ศาสนา ภูเวียง (อ้ างจากเอกสาร ร. ๕.ม๒.๑๒ก / ๑ (๒) หอจดหมายเหตุแห่งชาติ ) พ.ศ. ๒๓๖๙ ตั้งบ้าน พุ ทธได้กำเนิดแล้ ว) ระดับต่ำลงไปเป็นการฝั งศพใน ภูเวียงซึ่ งเดิมเคยเป็นเมืองโบราณเป็น\"เมือง ภูเวียง \"ขึ้ นกั บเมืองขอนแก่ น ลั กษณะยาวเหยียดตรง และมีเครื่ องประดับที่ โครง กระดูกบางชิ้นเป็นประเภทหินรัตนชาติ มีหม้อดิน วางอยู่บนอก บนศรีษะ บางศพวางอยู่ระหว่างขา เป็นเครื่ องดินเผาที่ มีลายเชือกทาบและมีลายเส้นที่ แหล่ งชุ มชนโบราณ ทะแยงมุ ม บางใบมีปุ่มที่ คอคล้ ายเขาสัตว์จัดว่าเป็น ชุ มชนหนองนาคำ ได้ยกฐานะเป็นกิ่ งอำเภอ ลวดลายที่ เก่ าแก่ ที่ สุด เ พ ร า ะ ว่ า ส่ ว น ม า ก จ ะ เ ป็ น หนองนาคำในปีงบประมาณ ๒๕๓๗ แต่ ในด้าน วัฒนธรรมสมัยหินใหม่ รวมทั้งได้พบ “ แวเหล็ กไน” ประวัติ ศาสตร์และมนุษยวิทยา ปรากฏว่าอาณา แสดงว่ามีการปั่ นด้ายทอผ้าใช้ในยุ คนั้นแล้ ว บริเวณของกิ่ งอำเภอนี้ เคยเป็นดินแดนที่ มีคน นอกจากนั้นยังพบหัวขวานทองอายุ ประมาณ อาศั ยตั้งบ้านเรือน และมีความเจริญรุ่งเรืองมี ๔,๖๐๐-๔,๘๐๐ปี ซึ่ งเป็นหัวขวานเดียวที่ พบในพื้ นที่ อารยธรรมสูงส่งมาหลายพันปีตั้งแต่ สมัยก่ อน ประเทศไทยและเป็นหัวขวานที่ ทำจากทองแดงที่ ไม่ ประวัติ ศาสตร์หรือยุ คหิน ยุ คโลหะตอนต้ น ได้แก่ ได้ถลุงนำมาทุบใช้เป็นหัวขวาน มีอายุ เก่ าแก่ ที่ สุดใน ยุ คสำริด สืบเรื่ อยมาจนถึ งปั จจุ บัน ซึ่ งปรากฏ เอเชียอาคเนย์ ห่างจากที่ ขุ ดค้ นในป่าช้าบริเวณโนน หลั กฐานตามที่ นักโบราณคดีสำรวจบริเวณที่ ดิน นกทาไปประมาณ ๒ กิ โลเมตร มีบริเวณแห่งหนึ่ ง ที่ ถูกน้ำท่ วมเนื่ องจากสร้างเขื่ อนอุ บลรัตน์ โดย เรียกว่า“ โนนข่า \"มีลั กษณะเป็นเนินเป็นจุ ดที่ ตั้ง นักโบราณคดีจากต่ างประเทศ ได้ร่วมกั บนัก บ้านเรือน ซากเศษของเครื่ องปั้ นดินเผาลายเชือก โบราณคดีของไทย ปรากฏว่าพบเมืองโบราณคื อ ทาบเกลื่ อนกลาดเป็นอาณาเขตกว้างขวาง บริเวณโนนนกทา บ้านนาดี ตำบลกุดธาตุ อำเภอ สันนิษฐานว่าเป็นจุ ดที่ ตั้งบ้านเรือน ภูเวียง (ปั จจุ บันคื อบ้านโนนนกทาหมู่ ๑๖ ตำบล -เรียบเรียงและอ้ างอิ งจากหนังสือ \" สื บ ฮ อ ย บ้ า น . . . ตำ น า น เ มื อ ง \" กุดธาตุ อำเภอหนองนาคำ) (อ่ านต่ อฉบับหน้า) กันยายน 2564| NONGNAKHAM JOURNAL 13
คนหนองนาคำในตำนาน โนนนกทา บ้ า น โ น น น ก ท า ตำ บ ล กุ ด ธ า ตุ อำ เ ภ อ ห น อ ง น า คำ
คนหนองนาคำในตำนาน ณัฐพร ศรีวิจารย์ lจนท.TST/ แปล/เรียบเรียง “คนหนองนาคำในตำนาน”พวกเรา Tambon Smart Team ครั้งแรกที่ไปเยือนแผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TST) อ.หนองนาคำ ได้นำเนื้อหาจากหนังสือที่มีชื่อว่า “การขุด ซึ่งเป็นช่วง เดือนตุลาคม 2501 แล้วในระหว่างการเดินทาง ค้นทางโบราณคดีที่โนนนกทาภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ จากลอนดอนไปกูชิง รัฐซาราวัก ประเทศมาเลเซียและได้ไป ประเทศไทย (2508 – 2511)” เรียบเรียงโดย Don Bayard เยี่ยมชมที่พิพิธภัณฑ์ซาราวัก ได้เจอนักโบราณคดีไทยหลาย และ Wilhelm G. Solheim II นักโบราณคดีชาวอเมริกันที่ได้ คนในตอนนั้น รวมทั้งอ.ชิน อยู่ดี ผู้ซึ่งที่ล่วงลับไปแล้วตลอด ทำการสำรวจและค้นพบกับโบราณวัตถุที่น่าสนใจเป็นอย่างมาก ทั้งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการกอบกู้โบราณคดีใน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ร่วมทั้งการขุดค้น ประเทศไทยอีกด้วย ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2501 ได้เดิน ที่ โนนนกทา อำเภอหนองนาคำของเรา ซึ่งเป็นโอกาศที่ดีที่จะได้ ทางไปที่ไซง่อน ประเทศเวียดนาม 1 สัปดาห์และได้พบกับ โอ ศึกษาและเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของคนอำเภอหนองนาคำ โดย ลอฟ (ศาสตราจารย์ Robert Ture Olov Janse เป็นนัก พวกเรานำเนื้อหาที่มีเพียงภาษาอังกฤษมาทำการแปลเป็นภาษา โบราณคดีชาวสวีเดน เขามีชื่อเสียงจากงานขุดที่ด่องเซิน ที่ ไทยเพื่อความสะดวกและเข้าใจง่ายสำหรับท่านที่สนใจใฝ่รู้เรื่อง เวียดนาม) ซึ่งเขาได้ขุดที่ Dong Son (ด่องเซิน) ในช่วง ประวัติศาสตร์ แต่สำหรับท่านที่สนใจเนื้อหาภาษาอังกฤษเรายัง ปลายทศวรรษที่ 2473 ศาสตราจารย์โอลอฟ เขาเล่าให้ฉัน คงมีบทความภาษาอังกฤษให้ท่านได้อ่านด้วยค่ะ สุดท้ายนี้พวก ฟังเกี่ยวกับโครงการลุ่มน้ำโขง ซึ่งมีสำนักงานใหญ่ที่ดำเนิน เรา Tambon Smart Team (TST) หวังเป็นอย่างยิ่งว่าการ การเกี่ยวกับโครงการอยู่ที่กรุงเทพฯ ฉันกับศาสตราจารย์โอ แปลบทความชิ้นนี้จะเป็นประโยชน์แก่ทุกท่านที่ได้อ่านและศึกษา ลอฟ เห็นตรงกันว่าโครงการกอบกู้โบราณคดีลุ่มน้ำโขง ไปด้วยกัน ท่านสามารถติดตามบทความจาก คอลัมน์ “คน ต้องขยายพื้นที่ในการดำเนินโครงการให้กว้างขึ้นและขยาย หนองนาคำในตำนาน” ได้จากวารสารหนองนาคำฉบับรายปักษ์ ไปในพื้นที่ต่างๆ เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับคนในอดีต จนกว่าจะจบบทความค่ะ บทความแรกเริ่มทุกท่านจะได้ทราบถึง และปัจจุบันก่อนที่ข้อมูลเหล่านั้นจะสูญหาย การขุดค้นครั้งนี้ ความเป็นมาของโครงการ “การขุดค้นทางโบราณคดีที่โนนนก ฉันยื่นข้อเสนอต่อมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติของสหรัฐฯใน ทาภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย” ก่อนจะมีการเริ่ม ช่วงฤดูใบไม้ร่วงในปี 2505 โดยใช้เงินทุนสำหรับดำเนิน สำรวจและขุดค้นโบราณคดีที่โนนนกทา โครงการ 3 ปี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ซึ่งเป็นโครงการร่วมของกรมศิลปากรและภาควิชา ''ภาค ภาษาไทย\" มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยฮาวาย ซึ่ง ณ ตอนนั้นยังไม่มี หน่วยงานไหนที่สนับสนุนโครงการดังกล่าวเพราะไม่ โครงการกอบกู้โบราณคดีของกรมศิลปากรและภาควิชา มีใครรู้จักพื้นที่หรือพื้นที่ใกล้เคียงดีมากนัก พวกเขาแนะนำ ให้ฉันดำเนินโครงการแค่ 1 ปีไปก่อน และถ้าหากพบสิ่งที่น่า มานุษยวิทยาของมหาวิทยาลัยฮาวายได้เริ่มสาขาในภาคตะวัน- สนใจ จึงจะสามารถต่อโครงการได้ 2 หรือ 3 ปี ในเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2506 ที่ประเทศไทย หลังจากทำการสำรวจ ออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2506 ครั้งแรกและหลังจากนั้นก็ได้รับข่าวว่าข้อเสนอโครงการได้ รับการยอมรับและให้ดำเนินโครงการได้ ทั้งนี้การขุดค้น โดยได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกาเป็นหลักและได้รับการ โครงการกอบกู้โบราณคดีไทย-ฮาวาย และโนนนกทา จะเกิด ขึ้นเร็วๆนี้แน่นอน สนับสนุนทุนจากมูลนิธิวิทยาศาสตร์ ซึ่งการทำงานภาคสนาม (อ่านต่อฉบับหน้า) ของพวกเราได้สิ้นสุดลง ในเดือนมิถุนายนพ.ศ.2509 โครงการ ของเราเป็นการวิจัยครั้งแรกทางโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ ในบริเวณที่ราบสูงของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เราพบข้อมูลที่ น่าสนใจและคาดไม่ถึง ซึ่งจะนำไปสู่การแก้ไขข้อมูลที่เกือบจะ เสร็จสมบูรณ์ทั้งทางตรงและทางอ้อมเกี่ยวกับยุคก่อนประวัติ- ศาสตร์ รายงานฉบับสุดท้ายในสถานที่ที่ถูกค้นพบในช่วงปีแรก ของโครงการในประเทศไทยที่ถือว่ามีสิ่งที่ยืนยันได้ว่าเรามีสิ่งที่ เป็นองค์ประกอบที่น่าสนใจเป็นอย่างมากที่ค้นพบและยังเป็น การทำให้เห็นถึงการเติบโตของวัฒนธรรมในภาคตะวันออก เฉียงเหนือของประเทศไทยอีกด้วย กันยายน 2564| NONGNAKHAM JOURNAL 15
NON NOK THA English Version My first visit to Mainland Southeast Asia was in October 1958, when I stopped in Thailand and Cambodia on my way from London to Kuching, Sarawak, to take up a Fulbright Fellowship at the Sarawak Museum. I met The salvage archaeology program undertaken by several of the Thai archaeologists at that time, the Fine Arts Department of Thailand and the Department of Anthropology of the University of including the late Achan Chin You-di, who was Hawai`i began in the field I northeastern Thailand in August 1963 with its primary support from a U. S. associated with out program in Thailand National Science Foundation Grant (GS-288) followed by a second grant (GS-523 and GS-956). through all if its stages. In December 1958 Our work in the field came to an end in June 1966. Events leading up to this program go back I stopped in Saigon, Viet Nam for a week and to December 1958. The program evolved, and the first stage continued in the field until 1968. there met Olov R. T. Janse, who had excavated Our program was the first organized research in prehistoric archaeology in the plateau area of at Dong Son in the late 1930s. He told me northeastern Thailand. We found much exciting and unexpected data that led directly and indirectly to an about the Mekong Valley Project, with its almost complete revision of Southeast Asian prehistory. This final report on one site discovered headquarters in Bangkok, we agreed on the during the first year of our program in Thailand should support at least some of the claims we have need for a large-scale salvage program in the made for what were at the time several elements of an astonishingly early and high development of areas where various kinds of development culture in northeastern Thailand. would take place to rescue data on past and present peoples before these data were destroyed or irreparably disturbed. I submitted a proposal to the U.S. National Science Foundation in the fall if 2505 for the funds for a three-year salvage program in northeastern Thailand, to be a joint project of the Fine Arts Department of Thailand and the Department of Anthropology of the University of Hawai`i. The Program Director for Anthropology, They suggested I apply for a one- year project and if anything was found I could reapply for a second and third year. This I did. In August 2506, in Thailand, after making the first exploration of our project, I received word that my proposal had been accepted. 16 NONGNAKHAM JOURNAL | กันยายน 2564
ล า น ศิ ล ป ะ วสันต์ จันทรพิสิษฐ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองนาคำวิทยาคม นักเรียน กั บ ศิ ลปะ สิ่ ง เ ห ล่ า นี้ ล้ ว น เ ป็ น ตั ว ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้เ กิ ด ก า ร พั ฒ น า โรงเรียนหนองนาคำวิทยาคม เป็นโรงเรียนขนาดกลาง ส ม อ ง ข อ ง เ ด้ ก นั ก เ รีย น ทั้ง 2 ด้ า น นั่น ก็ คื อ ด้ า น สังกัดสำนักงานเขตพื้ นที่การศึกษามัธยมศึกษา25 ซึ่งขึ้น กับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้ นฐานกระทรวง อ า ร ม ณ์ แ ล ะ ค ว า ม เ ป็ น เ ห ตุ ผ ล แ ล ะ ร ว ม ไ ป ถึ ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร จั ด ตั้ ง ขึ้ น ต า ม ป ร ะ ก า ศ ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ - การเมื่ อวันที่20เมษายน พ.ศ. 2519 โดยนักเรียนของ พั ฒ น า ก า ร ด้ า น ร่า ง ก า ย อ า ร ม ณ์ สั ง ค ม ส ติ ปั ญ ญ า โ ร ง เ รีย น ห น อ ง น า คำ วิ ท ย า ค ม ไ ด้ ร่ว ม ส ร้า ง ผ ล ง า น ด้ า น ต่างๆมากมาย โดยเฉพาะด้านผลงานศิลปะ แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า โ ด ย โ ร ง เ รีย น มี ค รู ผู้ ส อ น ที่ มี ค ว า ม รู้ ความหมายของศิลปะ คือ การแสดงออกอย่างอิสระ ค ว า ม ส า ม า ร ถ อ ย่ า ง เ ช่ น อ า จ า ร ย์ ค น ป ก ร ณ์ อิ น ศ ร เ ส รีที่ เ ต็ ม ไ ป ด้ ว ย จิ น ต น า ก า ร แ ล ะ ค ว า ม คิ ด ส ร้า ง ส ร ร ค์ ใ น สิ่ ง ต่างๆ ความบริสุทธิ์ จริงใจ เปิดเผย ตรงไปตรงมา อ า จ า ร ย์ ก ลุ่ ม ส า ร ะ ฯ ศิ ล ป ะ ไ ด้ ส ร้า ง ส ร ร ค์ ผ ล ง า น ไ ว้ ม า ก ม า ย แ ล ะ นำ ค ว า ม รู้ค ว า ม ส า ม า ร ถ ที่ สั่ง ส ม ม า ม า ถ่ า ย ท อ ด แ น ว ท า ง ด้ า น ศิ ล ป ะ ใ ห้กั บ นั ก เ รีย น แ ม้ ว่ า ช่ ว ง ส ถ า น ก า ร ณ์ โ ค วิ ด - 1 9 จ ะ เ ป็ น ปั ญ ห า อุ ป ส ร ร ค ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ รีย น ก า ร ส อ น ม า ก ม า ย เ พี ย ง ใ ด ก็ ต า ม แ ต่ ค ณ ะ ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ท า ง โ ร ง เ รีย น ก็ ไ ด้ มี ก า ร จั ด ก า ร เ รีย น ก า ร ส อ น อ อ น ไ ล น์ ใ ห้กั บ นั ก เ รีย น ไ ด้ ศึ ก ษ า แ ล ะ พั ฒ น า ฝี มื อ อ ยู่ ต ล อ ด โ ด ย เ ฉ พ า ะ ภ า พ ว า ด ข อ ง นั ก เ รีย น ชั้น มั ธ ย ม ต้ น แ ล ะ มั ธ ย ม ป ล า ย เ ป็ น ภ า พ ว า ด ที่ โ ด ด เ ด่ น แ ล ะ ส ร้า ง ส ร ร ค์ อ ย่ า ง ม า ก นั ก เ รีย น ข อ ง โ ร ง เ รีย น ห น อ ง น า คำ วิ ท ย า ค ม ส ร้า ง ผ ล ง า น ที่ เ ป็ น เ อ ก ลั ก ษ ณ์ แ ล ะ โ ด ด เ ด่ น ค รู ใ ห้นั ก เ รีย น มี ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ คิ ด ส ร้า ง ส ร ร ค์ ภ า พ ว า ด ด้ ว ย ต น เ อ ง ส่ ว น ค ณ ะ ค รู นั้น เ ป็ น ผู้ ค อ ย ใ ห้คำ ป รึก ษ า แ ล ะ ใ ห้แ น ว ท า ง ใ น ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ส ร้า ง ส ร ร ค์ ผ ล ง า น เ ท่ า นั้น กันยายน 2564| NONGNAKHAM JOURNAL 17
เ รื่ อ ง สั้น เรื่อง:ปิยะพงษ์ คลังทอง ภาพ:ยุทธศักดิ์ ลุ่มไธสงค์ เรือนแพในลำพอง
\"เรือนแพในลำพอง” EP.1 เรือหางยาวลำหนึ่ง เร่งเครื่องเต็มพิกัดมาจากคุ้งน้ำด้าน โทนรีบเร่งเข้าประจำการที่ห้องเครื่อง เขาหมุนมู่เล่ย์วง รอบเป็นจังหวะช้าๆ เสากระโดงค่อยๆโน้มเอียงลงตามแรง เหนือ แหวกผืนน้ำแตกกระจายเป็นร่องลึก แรงคลื่น หนุน เคลื่อน ไม่นาน อวนผืนใหญ่ถูกหย่อนลงวางดักใต้ผิวน้ำ โทนเฝ้ารออย่างมีหวัง แพลำใหญ่ให้กระเพื่ อมเพียงเล็กน้อย แต่ระลอกคลื่ น ฤดูน้ำแดง อยู่ในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงกันยายน เป็น เดียวกันนี้ พุ่งผลักแพลำเล็กซึ่งจอดนิ่งในม่านหมอกจน ห้วงเวลาที่ปลาจากวังน้ำลึกในเขื่ อนขึ้นมาวางไข่ในลำน้ำตื้ น เป็นช่วงที่ชาวบ้านจับปลาอย่างเป็นล่ำเป็นสัน โดยเฉพาะ โคลงเคลง คนในหมู่บ้านของโทน ซึ่งส่วนใหญ่ไม่มีไร่นา จึงยึดการทำ ประมงเป็นอาชีพหลัก เสียงดังลั่น และแรงน้ำโถมซัดฉับพลัน สั่นสะเทือนร่าง ของโทน หนุ่มวัยกระทงให้ตื่นจากฝัน เขากำลังฝันว่าอยู่ใน เครื่องมือจับปลามีหลายชนิด แต่โทนชำนาญเพียงแพยก ชุดฟอร์มนักเรียนช่างกลใหม่เอี่ยม มือกระชับซองเอกสาร อวน พ่อของโทนคือครูถ่ายทอดวิชาพรานปลาให้เขา พ่อ เร่งฝีเท้าสู่รั้วสถาบัน เพื่อรายงานตัวเข้าเรียนเทอมแรก แต่ ของเขาเป็นคนรุ่นแรกๆที่ร่วมสร้างวิถีของลำน้ำสายนี้ เป็น เรือหางยาวลำนั้นกระชากฝันเขาวับหาย คนยุคแรกที่ต่อแพด้วยประสบการณ์ที่สั่งสม และเปี่ ยมด้วย ทักษะชั้นเยี่ยม โทนซึมซับชีวิตเรือนแพที่เหมือนมีมนต์ขลัง โทนรีบสวมกางเกง ปล่อยเปือยท่อนบน มุดออกจากมุ้ง มาตั้งแต่วัยเด็ก ยืนเด่นหน้าเรือนแพ ทอดมองลำน้ำล่องไหล แสงสีทอง ส่องผ่านเหลี่ยมเมฆยามรุ่งอรุณ ลงกระทบผืนน้ำสะท้อนวิบ ไผ่ตงหรือไผ่บ้าน มีขึ้นเป็นก่อใหญ่ๆรอบหมู่บ้าน โทน วับในเกลียวคลื่ น ได้ยินมาว่านอกจากปลูกไว้ใช้สอยด้วยประโยชน์มากมาย ของลำไผ่แล้ว ไผ่กอหนาๆ ที่มีลำไผ่แต่ละลำสูงชะลูดเทียม แสงเช้าจับใบหน้าคมสันของโทนให้โดดเด่น ผมเกรียน ลำ ฟ้านั้น ยังเป็นปราการป้องกันลมฝนที่จะโหมพัดหมู่บ้านได้ คออวบใหญ่ ไหล่ผ่ายกว้าง แผ่นหลังนูนลอนล่ำสัน แผงอก อย่างแข็งแกร่ง โทนเห็นจริงตามนั้น หลายครั้งที่เมฆฝน เต็มแน่นด้วยมัดกล้าม ก้อนสะโพกดันกางเกงฟิตเปรี๊ยะ นำพายุหมุนตั้งเค้ามา แต่ไม่อาจผ่านแนวไผ่เข้ากระหน่ำ แข้งขาแข็งแกร่ง ยืนร่างสูง รูปทรงเต็มส่วนสมวัย สง่างาม หมู่บ้านให้เสียหายได้มากนัก เหมือนนักกีฬาว่ายน้ำเหรียญทอง เลือกไผ่ตงที่ยาวและแก่จัด มัดรวมเข้าเป็นลูกบวบข้างละ โทนมองสายน้ำซึ่งปั่ นป่วนด้วยแรงเรือพุ่งทะยาน กระทั่ง สองร้อยลำเป็นอย่างน้อย ติดตั้งไม้เนื้อแกร่งเป็นโครงบน ผิวน้ำกลับมาราบเรียบ เหลือเพียงกระแสน้ำไหลเอื่อยๆ ไกว ลูกบวบ ต่อหลังคากันแดดฝน วางมู่เล่ย์แกนหมุนใน เรือนแพเนิบช้าเหมือนตอนที่เขาหลับ ตำแหน่งเหมาะสม ตั้งเสากระโดงสูง ต่อโครงไม้ไผ่ยื่นอวน ออกไปนอกแพ แดดเริ่มแรงขึ้น ยิ่งย้อมสีน้ำให้ขุ่นข้น จนกลายเป็นสีเขียว เข้มคล้ำ ออกแดง ฝนตกติดต่อกันหลายวัน ทลายหน้าดิน สองฝั่ งล่องลงลำน้ำ ใครๆก็รู้ว่าฤดูน้ำแดงเวียนมาถึงเมื่อ หลายวันแล้ว โทนเองก็รู้ เขาได้ปลาน้ำแดงหลายเที่ยวแพ เที่ยวล่าสุดก่อนฟ้าสางนี่เอง เสียงจากใต้น้ำแทรกผ่านเรือนแพขึ้นมาอีก ส่ำเสียงดังถี่ ขึ้น มากขึ้น ทั้งใต้ลำแพ รอบข้าง และห่างออกไป ใต้ผืนน้ำ ขุ่นโคลนแดงเข้ม ระงมด้วยเสียงหว่องๆอยู่ทั่วไป โทนล่วงรู้ เสียงร้องเหล่านั้นดี เขานึกกระหยิ่มในใจ เป็นเสียงที่เขาคุ้น เคย เสียงร้องของเหล่าปลาที่มาอออยู่รวมกันเป็นฝูง คน หาปลาเรียกว่า “ปลาบน” กันยายน 2564| NONGNAKHAM JOURNAL 19
ล่องแพตระเวนไปทั่วลำน้ำ ขยันตักตวงเอาสินในน้ำ หลายครั้งที่แพอวนของโทนพลันสะดุดหยุดลง และ ต่อ ตามต้องการ แพอวนลำหนึ่ง สามารถบรรทุกปลาได้ เคว้งหมุนกลางลำน้ำอย่างไม่คาดคิด แรกๆโทนแปลก หลายตัน ขึ้นอยู่กับขนาดของลำแพ แพยกอวนแต่ละ ใจและตื่นตระหนก แต่พ่อของโทนนั่นเองเป็นคนคลาย ลำใช้งานได้นานหลายปี ผู้ที่มีแพอวนหนึ่งลำ จึง สงสัยและแก้วิกฤติได้ทุกครั้ง รีบดำน้ำลงไปใต้ท้องแพ เหมือนมีผืนนาสิบไร่ กระชากตอไม้หลุดจากการเกาะเกี่ยว ปล่อยลำแพล่อง ลอยต่อไป แต่ก่อนจะกลายมาเป็นแพอวน สะดุ้งฝั่ งเป็นที่นิยม ของคนลุ่มน้ำ พวกพรานปลาเที่ยวหาวังน้ำที่มีปลา โทนรู้ว่าลำพองไหลมาจากช่องเขาทางตะวันตกเฉียง ชุกชุม เห็นแล้วเร่งตอกเสาคันโยงลงบนชายฝั่ ง ตรึง เหนือ ลำบองหลากลงมาจากเทือกเขาด้านตะวันตก ไม้คำ้ยันแกนหมุนจนมั่นคง ผูกผืนอวนเข้ากับโครงยก ส่วนลำพะเนียงคดโค้งมาจากด้านทิศเหนือ และลำเซิน ให้กางออก กว้างยาวตามขนาด จากนั้นหมุนคันแกน ยาวเหยียดมาจากขุนเขาด้านทิศใต้ ทุกลำน้ำไหลมา ให้หย่อนวางลง หรือยกตักขึ้นได้ตามต้องการ ต่างแต่ รวมกันในหุบอันกว้างใหญ่นี้ ว่าสะดุ้งฝั่ งไม่อาจเคลื่อนย้ายได้เหมือนแพอวน เมื่อ ปลาเลิกชุมบริเวณนั้น สะดุ้งฝั่ งก็หมดความหมาย พ่อของโทนเล่าให้ฟังว่า ก่อนทางการจะเลือกพื้นที่ ที่ราบลุ่มแห่งหุบเขาเป็นเขตเขื่อน สองฝั่ งน้ำทุกสาย มี ได้เวลาแล้วโทนจึงยกอวนขึ้น ทันทีที่พ้นน้ำ หมู่ปลา ยางนา ตะเคียน พะยูง มะค่า ขนาดสามสี่คนโอบขึ้น ต่างกระเด้งกระดอนอยู่บนผืนอวน แดดยามสายสาด เบียดแน่นตลอดแนวฝั่ ง แต่เพื่อให้กระแสน้ำทุกสาย กระทบเกล็ดใสแวววับทั่วลานอวน ก่อนเหล่าปลาจะ ไหลล่องลงเขื่อนได้สะดวกรวดเร็ว ไร้สิ่งกีดกั้น เหล่าไม้ ไหลรวมลงบนแพ โบราณบนสองฝั่ ง จึงถูกตัดโค่นเคลื่อนย้ายออกไป ก่อนจะเปิดเขื่อนเป็นทางการ แต่มีไม่น้อยถูกโค่นลงใน เก็บปลาเรียบร้อยแล้ว โทนหย่อนอวนวางลงใต้น้ำ ลำน้ำ ด้วยความมักง่ายของพวกคนงาน นั่นคือผล อีก เขาช่ำชองการวางอวน เช่นเดียวกับทุกคนใน พวงที่มีซากไม้ตกค้าง กลายเป็นสิ่งกีดขวางฝังแน่นใน หมู่บ้านที่เชี่ยวกรำทำประมงมาเนิ่นนาน พวกเขาล้วน ลำน้ำมาจนถึงปัจจุบัน เชี่ยวชาญการวางลอบและลงดางในห้วงน้ำ ทั้งจัดเจน เลือกเวิ้งน้ำที่มีปลาชุม พ่อเล่าให้โทนฟังอีกว่า เมื่อทางการเจาะจงเอาหุบ กว้างแถบนี้เป็นเขตเขื่ อนกั้นน้ำเพื่ อผลิตกระแสไฟฟ้า แพทุกลำในลำน้ำพอง จะมีเกลือหลายถุง และถัง ทางการเร่งเวนคืนพื้นที่ หลักขาวถูกปักลงเป็นแนว พาสติกหลายสิบใบเรียงซ้อนไว้บนแพ ปลาหลากชนิด เขตชัดเจน ผู้คนต่างรีบถอนเอาเสาเรือนเสาเล้าใส่ ที่ได้จากอวนยก จะถูกคัดแยกประเภท ปลาสดนำ เกวียนขึ้นล้อ อพยพออกจากพื้นที่เขื่อน เว้นแต่ผู้คน ทยอยขึ้นฝั่ งด้วยเรือพาย หรือไม่ก็เรือหางยาว เพื่อส่ง ในหมู่บ้านของโทน ยืนยันไม่ยอมโยกย้ายออกไป พ่อ ต่อให้พ่อค้า ส่วนปลาไม่เป็นที่นิยม หรือใกล้เน่า จะ ของโทนเป็นตัวแทนให้เหตุผลกับทางการอย่างองอาจ หมักเกลือทำปลาร้าไว้ในถังพลาสติก หรือเลือกตาก ว่าบรรพบุรุษอาศัยอยู่กับน้ำมานานนม ไม่เห็นมีภัยใด แดดผึ่งลมไว้บนชานแพ แปรรูปเป็นปลาแห้ง จากน้ำ ที่สำคัญกว่านั้น ผู้คนล้วนต้องพึ่งน้ำ เพราะน้ำ ให้ชีวิต พวกเขาจึงไม่เกรงกลัวน้ำ และหากหลากท่วม ในลำพองที่ยาวคดเคี้ยว จึงมีแพอวนหลายขนาด จริง คนทั้งหมู่บ้านยืนยันว่าพวกเขาหนีได้ทัน ลอยลำกระจายอยู่ทุกช่วง บนสองฝั่ งลำน้ำ ส่วนมาก รกด้วยพงออกอแขม บางช่วงมีดงหญ้าขึ้นปกคลุม แดดสายร้อนแรงขึ้นทุกขณะ อวนถูกยกขึ้นครั้งแล้ว บางห้วงน้ำซากไมยราบยักษ์โผล่พ้นขอบฝั่ งเป็นกลุ่มๆ ครั้งเล่า หมู่ปลาแหวกว่ายผ่านหน้าอวนไม่ลดละ คล้าย บางช่วงเรียบโล่งเพราะเป็นท่าจอดแพ แต่หลายแห่ง มีแหล่งอาหารอุดมสมบูรณ์ของพวกมันอยู่ในบริเวณ เป็นไร่อ้อยไร่มันสำปะหลัง ทอดยาวมาจนจรดฝั่ งน้ำ นั้น ยกอวนแต่ละครั้ง หมายถึงเงินที่โทนจะได้รับ 20 NONGNAKHAM JOURNAL | กันยายน 2564
ต่อ โทนคำนวณด้วยสายตาที่เจนจัด นำ้หนักปลาแต่ละรอบยก คือความฉ่ำหวานของชีวิต พ่อของโทน เคยบอกว่าเมื่อใดชีวิตยากไร้อับจน จงอย่าลืมลำน้ำที่ทอดยาวสายนี้ สินในน้ำจะเยียวยาช่วยเหลือเรา เพียงแต่ขยันขันแข็ง ลำน้ำจะตอบแทนทุกหยดเหงื่ ออย่างคุ้มค่าเสมอ โทนจำได้ พ่อเคี่ยวเข็ญให้ลงแพตั้งแต่เขาตัวกระเปี๊ ยก บนแพลำแรกที่เท้าสัมผัส เขากลัวจนตัวสั่น และตั้งหน้าร้องไห้เสียงหลง พ่อตะคอกให้เขาหยุดร้องไห้โฮ แต่เขากลับแผดเสียงดังลั่นยิ่งกว่าเดิม เขา ถูกจับโยนลงไปในน้ำด้วยมือของพ่อ พร้อมกับเสียงหัวเราะขบขันจนสะเทือนผืนน้ำ เขาตะกุยน้ำเหมือน ลูกแมวตกอ่าง ผ่านไปเนิ่นนานในความรู้สึกอันเลวร้าย มือพ่อนั่นเองจับขาเขาหยั่งลงบนพื้นดิน ระดับน้ำ ที่เขาถูกจับโยนลงไปลึกแค่เอวเขาเท่านั้นเอง (อ่านต่อฉบับหน้า) กันยายน 2564| NONGNAKHAM JOURNAL 21
ห น้ า ต่ า ง ค ว า ม คิ ด สังคม เภสัชมาลา ประธานสโมสนักเขียนภาคอีสานฯ/ นักเขียน ห นุ่ ม จี บ ส า ว เ รื่ อ ง เ ล่ า ใ น ห น ห ลั ง \" ถ วิล ห า อ ดี ต \" เสียงแคนเสียงพิณที่แว่วมาเป็นเสมือนการเอ่ยชวนให้ลงไป เดินเลาะบ้าน ผ่าซี,วันไหนไม่ได้ไปเดินให้สุนัขเหยียบรอยเท้าแล้ว มันนอนไม่หลับจริงๆ หลังรับประทานมื้อค่ำแล้วพวกเรารีบก้าว ลงบันไดไปหาเพื่อนๆ มีบางวันรีบร้อนหรือเร่งรีบจนลืมล้างมือ เช็ดมือกับหัวบันไดแม่บันไดขณะที่เดินลงบ้านเป็นอันเสร็จพิธี เมื่อสามสิบกว่าปีที่แล้ว โทรทัศน์ในหมู่บ้านของเรายังไม่มี มี อยู่บ้าง คือ วิทยุ ซึ่งพอค่ำลงจะได้ยินเสียงหมอลำเรื่องต่อกลอน หรือที่บ้านผมเรียกว่าหมอลำหมู่ ดังแว่วมาจากบ้านหลังนั้นหลังนี้ ที่พอหมดรายการหมอลำ หมู่บ้านจะเงียบงัน หากไม่มีเสียงพิณ เสียงแคนจากพวกอ้ายทิดสีคุ้มใต้ เลาะล่องไปตามคุ้มต่างๆ แล้ว หมู่บ้านจะเงียบยิ่งกว่าเงียบ เป็นที่รู้กันว่าพวกอ้ายทิดแกจะไปเที่ยวจีบหรือเกี้ยวสาวตามวง ลงข่วงเข็นฝ้ายของสาวเจ้า ปีนั้นผมเพิ่งจะแวงหนุ่ม(หนุ่มน้อย) เป็นไก่ที่เพิ่งจะสอนขัน ไม่ประสีประสาในการจีบเกี้ยวสาวใดๆ แต่ หากรู้สึกสนุก เป็นสุขนักที่ได้ลงไปร่วมขบวนกับหนุ่มใหญ่อย่างพี่ ทิดสี ทิดมี ทิดนวมฯลฯ จุดนัดหมาย คือ สี่แยกกลางบ้าน เมื่อ ขบวนทัพพร้อมแล้ว การรบในสนามรักก็เริ่มขึ้น ตราบที่โลกยังดำรงอยู่ ความรักของหนุ่มสาวจะคงอยู่ตราบ นั้นต่างเพียงพิธีการจีบเกี้ยวเท่านั้น สมัยก่อนมีขั้นตอนพิธีหรือ จารีตประเพณีที่แตกต่างจากสมัยนี้ลิบลับ กว่าจะได้รัก กว่าจะรัก กันได้มีหลากหลายขั้นตอน บางคนต้องเดินข้ามน้ำ ข้ามทุ่งเที่ยว ไล้เที่ยวขื่อสาวเจ้าอยู่ปีแล้วปีเล่า จึงสมหวัง ความรักของพวก เขาผ่านขั้นตอนบ่มเพาะจนสุกงอมดีแล้วนั้นดอก จึงจะยินยอม พร้อมใจกันรับประทาน (อ่านต่อฉบับหน้า)
ผญา-พาเพลิน-เจริญ บ่าวหมอนกิ่ว ผญากราบกล่าวเปิดวารสาร ข้าจักวันทาน้อม พุทธคุณองค์ประเสริฐ เทิงพระธรรมพร่ำพร้อม พระสงฆ์น้อมพร่ำกัน ขอจงมาโฮมตุ้ม บังเหตุโรคา อย่าให้มีภัยสัง แล่นกุมมาใกล้ สัพพะภัยให้ใกล้เสี่ยง อันตรายไกลห่าง โพยพยาธิ์ฮ้าย หนีให้ห่างไกล องค์กษัตริย์ธิราชไท้ ขอน้อมเกศเกศา ขอจงบารมีปก อย่ามียามฮ้อน กราบบิดามารดรเจ้า รวมปราชญ์ปางบรรพ์ พุ้นเด้อ ครูอาจารย์ ซืนซมแวซ้อง ข้าจักโฮมความฮู้ เขียนผญาเติมต่อ ขอให้ลุมาดแม้ง สมข้าปรารถนา ขอให้ความคิดผู้ข้า เร็วไวใสส่อง เป็นผญาค่องน่อง ให้คนได้ล่ำลือ พุ้นเด้อ สิงหาคม 2564| NONGNAKHAM JOURNAL 23
ซึมซาบกับกาพย์กลอน ปราโมทย์ ในจิต กวี/นักเขียน/นักแปล ถิ่นภูผาทอง หนองนาคำ หนองนาคำล้ำค่าสง่าเลิศ มิ่งประเสริฐภูผาค่าสูงส่ง ไร่นาห้วยหนองแซ่ซ้องยืนยง พงศาวดารล้ำลึกดึกดำบรรพ์ อู่ข้าวอู่น้ำค้ำชูอู่อารยธรรม หัตถกรรมงดงามล้ำสร้างสรรค์ น้ำใจผู้คนยินยลแบ่งปัน ตั้งแต่บรรพชนสืบทอดตลอดมา หนอง ผ่องตระการหว่านชุ่มฉ่ำ นา ทองคำค้ำจุนอุ่นภูผา คำ ถิ่นทองซ้องขจีปลี่ไร่นา ปู่ย่าลูกเต้าอบอุ่นอยู่คู่บ้านเมือง ออนซอนฮอยยุ่มแย้มแสนสง่าประทับใจ ใฝไปแวมาหา อุ่นตาเลิกเซิ้ง งามไฮ่นาหนองน้ำ วัฒนธรรมงามเด่น ประวัติศาสตร์เลิศล้ำ งามแท้ถิ่นนาคำ ท่านเอยฯ 24 NONGNAKHAM JOURNAL | กันยายน 2564
ภาพวาดโดย : สมคิด สิงสง
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: