Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR ปี 2562 รร.บ้านแก้ง(รวมปก)

SAR ปี 2562 รร.บ้านแก้ง(รวมปก)

Published by Dison Namhung, 2021-05-07 01:28:31

Description: SAR ปี 2562 รร.บ้านแก้ง(รวมปก)

Keywords: 2562 รร.บ้านแก้ง

Search

Read the Text Version

คานา รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา 2562 โรงเรียนบ้านแก้งฉบับนี้ จัดทาข้ึนตาม กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ระบุให้สถานศึกษาจัดส่งรายงานผลการ ประเมินตนเองให้แก่หนว่ ยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจาทุกปีเพื่อรายงานผล การดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นผลสาเร็จจากการ บรหิ ารจัดการศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาในระดับปฐมวัย 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของเด็ก กระบวนการบริหารและการจัดการ การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ และระดับการศึกษาข้ัน พนื้ ฐาน 3 มาตรฐานได้แก่คุณภาพของผ้เู รียนกระบวนการบรหิ ารและการจัดการกระบวนการจัดการเรียนการ สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเพ่ือนาเสนรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รับทราบ และเตรียมความพร้อมในการรับการ ประเมินภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) ต่อไป ขอขอบคุณคณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา 2561 ฉบบั นี้ คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียนบา้ นแกง้ ในปกี ารศึกษา 2563 ตอ่ ไป (นายวสกุ ฤต สุวรรณเทน) ผ้อู านวยการโรงเรยี นบ้านแก้ง 1 พฤษภาคม 2563

สารบัญ หน้า ก เรือ่ ง ข คานา 1 สารบัญ สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลพ้ืนฐานของสถานศกึ ษา 1  ข้อมลู ทวั่ ไป  ขอ้ มลู ครูและบุคลากร 3  ขอ้ มูลนักเรียน  สรปุ ขอ้ มลู ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนระดบั สถานศกึ ษา 3  ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่าน (RT)  ผลการประเมนิ ความสามารถพืน้ ฐานของผ้เู รยี นระดบั ชาติ (NT) 4  ผลการทดสอบระดับชาตขิ ั้นพน้ื ฐาน (O-NET)  ผลการดาเนินงานตามคา่ เปา้ หมายชองมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบ้านแก้ง 7 ส่วนท่ี2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย ระดบั ปฐมวัย 7 ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั 8 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 9 มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ 11 ระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 11 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น 11 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 11 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ 14 ส่วนท่ี3สรุปผล และแนวทางการพฒั นา 17  ระดับปฐมวัย  ระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 19 ส่วนที่4ภาคผนวก 19 คาสง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการประเมินผลคุณภาพคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2561 19 คาสัง่ แต่งต้งั คณะกรรมการติดตามตรวจสอบและประเมินผลคณุ ภาพการศกึ ษา ปีการศกึ ษา 22 2561 25 รางวลั ความสาเรจ็ สถานศึกษา/ผู้บรหิ าร/คร/ู นักเรยี น 27 เอกสารหลกั ฐานข้อมูลสาคัญ เกียรตบิ ตั ร หรอื เอกสารอา้ งอิงตา่ งๆ 27 30 33

ส่วนท่ี 1 ข้อมลู พน้ื ฐานของสถานศึกษา 1.1 ข้อมูลทัว่ ไป  ช่ือสถานศกึ ษา : โรงเรยี นบา้ นแกง้ ที่อยู่: เลขท่ี 123 หมู่ท่ี 15 บ้านแก้ง ตาบลศรีวิชัย อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร รหัสไปรษณยี ์ 47120 สงั กดั : สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสกลนครเขต 3 โทรศัพท์: - โทรสาร : - E-Mail : - เปดิ สอน: ระดับชั้นอนุบาลปีท่ี 2 ถงึ ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 มเี ขตพ้ืนทบี่ ริการ 2 หมบู่ ้าน ไดแ้ ก่ บา้ นแกง้ หมู่ท่ี 3 และหมทู่ ี่ 15 ต.ศรีวชิ ยั อ.วานรนวิ าส จ.สกลนคร  ชื่อ-สกลุ ผ้บู ริหาร นายวสกุ ฤต สุวรรณเทน วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สุด ปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขา การบรหิ ารและพฒั นาการศึกษา ดารงตาแหน่งทโ่ี รงเรยี นนเ้ี ร่ิม 1 พ.ย. 25๖๑ จนถึงปัจจุบนั เปน็ เวลา ๑ ปี 6 เดือน  ประวัติโดยย่อ โรงเรียนบ้านแกง้ โรงเรียนบา้ นแก้ง สังกดั สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ประกาศจัดต้งั เมื่อวันที่ 28 พ.ค. 2482 โดย นายรอ้ ยตารวจโทถวลิ ธนะศรีรังกูล ไดใ้ ชศ้ าลาวดั เปน็ ทจ่ี ัดการเรยี นการสอน เปิดสอนในระดับชนั้ ป.1-ป.4 นายมี พรหมไพสนท์ เป็นครใู หญ่ ปจั จบุ ัน เปิดสอนตั้งแตช่ ้ันอนบุ าลปที ี่ ๒ ถงึ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3  คาขวญั ประจาโรงเรยี น เรยี นดี กฬี าเดน่ เนน้ วนิ ยั ใฝ่คณุ ธรรม  ปรัชญาโรงเรยี น สุวชิ าโน ภว โหติ ผู้รู้ดี เป็นผู้เจรญิ  สีประจาโรงเรียน สีชมพู – ขาว  อัตลักษณ์ของโรงเรียน ไหว้สวย รวยมารยาท  เอกลักษณ์ประจาโรงเรยี น ดนตรีพ้ืนเมือง  ตราสญั ลกั ษณ์ประจาโรงเรยี น

 โครงสรา้ งการบรหิ ารโรงเรียน 2 Ziผอู้ านวยการสถานศกึ ษา คคณะกรรมการ สถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน นายวสกุ ฤต สุวรรณเทน งานวชิ าการ งานงบประมาณ งานบคุ ลากร งานบรหิ ารท่ัวไป -นางสาวชไมพร เหาะเหิน -นายชาติชาย วารยี ์ -นายวสกุ ฤต สุวรรณเทน -นายนิพนธ์ ขันธแ์ ก้ว -นางมัลลกิ า สขุ เกษม -นางสุมจั ชา ศรีสาราญ -นางเพชรา เฒาสอุดม -นางสาวกลุ ณดา บญุ เฮ้า -นางสาวเมตตา ชาญฉลาด -นางชมพูนชุ นาชัยเวียง -นางประภาภรณ์ โฮมวงศ์ -นายนพรัตน์ เคนสี -นางพรรณวดี ผอ่ งเสยี ง -นางสาวจุฑาธิป บตุ รชาติ -นายชวลติ ศรสี าราญ -นางสาวจริยา แก้วบณั ฑติ  แผนที่โรงเรยี น

3 1.2 ข้อมลู บคุ ลากรของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2562 1) จานวนบุคลากร ขา้ ราชการครู พนกั งาน ครอู ตั ราจา้ ง เจ้าหนา้ ที่ รวมท้งั หมด บคุ ลากร ผูบ้ ริหาร 12 ราชการ 1 อ่นื ๆ 17 จานวน 1 1 2 2) วฒุ ิการศกึ ษาสูงสดุ ของบุคลากร บคุ ลากร ตา่ กว่า ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวมทั้งหมด ปริญญาตรี 7 1 17 จานวน 1 8 1.3 ข้อมูลนักเรยี น จานวนนักเรียน ปีการศึกษา 2562 รวม คน ระดบั ชน้ั เรยี น เพศ จานวนหอ้ ง ชาย หญิง รวม เฉลยี่ ต่อห้อง อ.2 1 4 8 12 12 อ.3 1 7 7 14 14 รวม 2 11 15 26 13 ป.1 1 10 6 16 16 ป.2 1 6 9 15 15 ป.3 1 54 9 9 ป.4 1 4 7 11 11 ป.5 1 6 7 13 13 ป.6 1 54 9 9 รวม 6 36 37 73 12 ม.1 1 3 10 13 13 ม.2 1 9 4 13 13 ม.3 1 10 3 13 13 รวม 3 22 17 39 13 รวมทั้งหมด 11 69 69 138 12

4 1.4 สรปุ ข้อมลู ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นระดับสถานศกึ ษาปกี ารศกึ ษา 2562 ระดับปฐมวัย ร้อยละของนกั เรยี นทม่ี ผี ลการประเมินพฒั นาการแตล่ ะดา้ นในระดับ 3 ขึ้นไป จานวนเด็กทมี่ ผี ลการประเมนิ พฒั นาการเด็ก รวมเฉล่ีย ทงั้ 4 ด้าน ระดบั ช้นั จานวนนกั เรยี น แต่ละดา้ นในระดับ 3 ข้นึ ไป (คน) (คน) ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม สติปญั ญา 11.25 อ.2 12 12 11 11 11 13 24.25 อ.3 14 13 13 13 13 93.27 รวม 26 25 24 24 24 รอ้ ยละ 96.4 92.23 92.23 92.23 ระดบั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน 1) รอ้ ยละของนกั เรียนที่มเี กรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นแต่ละรายวิชาในระดบั 3 ข้ึนไป ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ถงึ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 รายวิชา(พ้ืนฐาน) ระดบั ชั้น ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ิวทยาศาสต ์ร สังคม ึศกษาฯ ประ ัวติศาสต ์ร ภาษาอังกฤษ สุขศึกษาฯ ศิลปะ การงานอา ีชพฯ ป.1 50.00 25.00 43.75 43.75 28.75 75.00 87.50 56.25 62.6 ป.2 53.00 53.00 53.00 53.00 66.67 46.67 53.00 80.00 66.67 ป.3 66.60 55.50 55.50 66.60 88.80 33.30 100 100 100 ป.4 75.45 72.09 64.45 70.45 70.54 73.81 75.90 78.72 76.72 ป.5 61.54 76.92 46.15 84.61 61.54 53.85 92.39 92.31 100 ป.6 66.67 66.67 88.89 77.78 77.78 44.44 100 77.78 100 ม.1 74.42 52.88 72.12 61.54 75.00 53.84 100 80.84 100 ม.2 78.26 62.50 75.00 67.31 87.50 46.15 100 82.88 100 ม.3 78.80 60.58 74.03 79.81 81.73 46.15 100 80.50 100 เฉลี่ย 67.19 58.35 63.65 67.21 69.81 52.58 89.86 81.03 89.54 รอ้ ยละ

5 2) ร้อยละของนกั เรยี นที่มีผลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น ในระดับดีขึ้นไป ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ถงึ ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2562 ระดบั ช้นั จานวน ผลการประเมนิ ระดับดี ร้อยละ นกั เรียน ผา่ น ดี ขนึ้ ไป ไมผ่ ่าน ดเี ย่ียม 100 100 ป.1 13 - - 49 13 100 100 ป.2 11 - - - 11 11 100 100 ป.3 10 - - 46 10 100 100 ป.4 14 - - 10 4 14 100 ป.5 9 - - 4 5 9 100 ป.6 14 - - 68 14 ม.1 11 - - - 11 11 ม.2 13 - - - 13 13 ม.3 3 - - - 3 3 รวม 98 - - 28 70 98 3) รอ้ ยละของนักเรยี นท่ีมีผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ในระดบั ดีข้นึ ไป ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ถงึ ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 ระดบั ช้ัน จานวน ผลการประเมิน ระดับดี รอ้ ยละ นกั เรียน ดเี ย่ยี ม ขึน้ ไป ไม่ผา่ น ผ่าน ดี 100 ป.1 13 - -4 9 13 100 ป.2 11 - -4 7 11 100 ป.3 10 - -4 6 10 100 ป.4 14 - -6 8 14 100 ป.5 9 - -4 59 100 ป.6 14 - -8 6 14 100 ม.1 11 - -5 6 11 100 ม.2 13 - -6 7 13 100 ม.3 3 - -- 33 - - 41 100 รวม 98 57 98

6 4) รอ้ ยละของนกั เรยี นที่มีผลการประเมินสมรรถนะสาคญั ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551ปีการศึกษา 2560 ของผเู้ รียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ในระดบั ผ่านขึ้นไป สมรรถนะสาคญั ผลการประเมิน ระดับผ่าน ร้อยละ ขึน้ ไป ไมผ่ า่ น ผ่าน ดี 100 7 ดีเยี่ยม 100 1. ความสามารถ -3 6 4 14 100 8 100 ในการสอื่ สาร 8 4 14 100 7 2. ความสามารถ -4 7.2 3 14 ในการคดิ 4 14 3. ความสามารถ -3 5 14 ในการแก้ปญั หา 4 4. ความสามารถใน - 2 การใชท้ ักษะชวี ิต 5. ความสามารถใน - 2 การใช้เทคโนโลยี รวมเฉล่ีย - 2.8 รอ้ ยละ - 20 51.42 28.58 5) ร้อยละของนักเรียนท่ีมีผลการประเมนิ สมรรถนะสาคัญตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551ปีการศึกษา 2560 ของผูเ้ รียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี3ในระดบั ผ่านขึ้นไป สมรรถนะสาคัญ ผลการประเมิน ระดับผ่าน รอ้ ยละ ขน้ึ ไป ไม่ผา่ น ผา่ น ดี 100 3 ดีเยย่ี ม 100 1. ความสามารถ -- 3 -3 100 3 100 ในการสอื่ สาร 3 -3 100 3 2. ความสามารถ -- 3 -3 ในการคดิ -3 3. ความสามารถ -- -3 ในการแก้ปัญหา - 4. ความสามารถใน - - การใชท้ ักษะชีวติ 5. ความสามารถใน - - การใช้เทคโนโลยี รวมเฉลย่ี -- รอ้ ยละ - - 100 -

7 1.5 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่าน (Reading Test : RT) ระดบั ช้ัน ป.1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรยี นบ้านแกง้ สพป.สกลนคร เขต 3 1.6 ผลการประเมินทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ความสามารถ ระดับโรงเรยี น คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ ระดับประเทศ 64.80 ระดบั เขตพ้ืนที่ ระดับจังหวัด ด้านคณติ ศาสตร์ 44.94 ด้านภาษาไทย 69.60 43.57 45.60 รวมความสามารถทัง้ 2 ดา้ น 67.20 46.46 44.31 46.13 45.70 43.94 45.87

8 1.7 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พ้นื ฐาน (O-NET) ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

9 1.8 ผลการดาเนนิ งานตามคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา เพ่ือการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2562 1) ระดบั ปฐมวัย มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา คา่ เปา้ หมาย ผลการพัฒนาตาม มาตรฐาน/ เกณฑข์ อง มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก ประเดน็ การ สถานศึกษา ๑.๑ มกี ารพฒั นาด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มีสุขนิสยั ทด่ี ี และดูแลความปลอดภัย พิจารณา ของ ตนเองได้ ดเี ลิศ ๑.๒ มกี ารพัฒนาด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม แลและแสดงงอออกทางอารมณไ์ ด้ ดี ดเี ลิศ ๑.๓ มกี ารพฒั นาการดา้ นสงั คม ชว่ ยแหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ทีด่ ีของสงั คม ดี ๑.๔ มีพฒั นาการด้านสติปญั ญา สื่อสารได้ มที ักษะการคิดพ้นื ฐานและแสวงหา ดเี ลิศ ความรูไ้ ด้ ดี ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ ดี ดีเลศิ ๒.๑ มหี ลักสตู รครอบคลมุ พฒั นาการทัง้ ๔ ด้าน สอดคลอ้ งกับบรบิ ทขออง ดี ทอ้ งถิ่น ดีเลศิ ๒.๒ จัดครใุ หเ้ พยี งพอกับช้ันเรยี น ดี ดีเลศิ ๒.๓ สง่ เสรมิ ใหค้ รมู ีความเช่ียวชาญด้านกากรรจดั ประสบการณ์ ดี ๒.๔ จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพอ่ื การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ ดเี ลศิ ๒.๕ ใหบ้ รกิ ารสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่อื การเรยี นรูเ้ พือ่ สนับสนุนการจดั ดี ดีเลิศ ประสบการณ์ ดี ดีเลิศ ๒.๖ มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพทีเ่ ปดิ โอกาสใหผ้ ู้เก่ยี วข้องทกุ ฝา่ ยมสี ่วนรว่ ม ดี ดีเลิศ มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณท์ เ่ี น้นเด็กเปน็ สาคัญ ดี ๓.๑ จดั ประสบการณ์ทีส่ ง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มกี ารพฒั นาการทุกด้านอย่างสมดลุ เตม็ ดเี ลิศ ศักยภาพ ดี ดีเลิศ ๓.๒ สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบตั ิอยา่ งมีความสุข ดี ดเี ลศิ ๓.๓ จัดบรรยากาศทเี่ อ้อื ตอ่ การเรยี นรใู้ ชส้ อ่ื เทคโนโลยีท่เี หมาะสมกับวัย ดี ๓.๔ ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจริงแลละนาผลประเมนิ พฒั นาการเด็กไป ดีเลศิ ปรบั ปรุงการจดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก ดี ดเี ลศิ ดี ดเี ลศิ สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา ดี ดเี ลศิ ดี

10 2. ระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/ ผลการพฒั นาตาม ประเดน็ การพจิ ารณา เกณฑข์ องสถานศกึ ษา มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผูเ้ รียน ๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผ้เู รียน ดี ดีเลศิ ดี ดีเลิศ ๑) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิด ดี ดีเลิศ คานวณ ดี ดีเลศิ ๒) มคี วามสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา ดี ดีเลศิ ดี ดีเลิศ ๓) มคี วามสามารในการสรา้ งนวตั กรรม ดี ดีเลศิ ๔) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่อื สาร ดี ดเี ลศิ ๕) มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา ดี ดีเลิศ ๖) มคี วามรู้ ทักษะพ้ืนฐานและเจตคตทิ ดี่ ตี ่องานอาชีพ ดี ดเี ลศิ ๑.๒ คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น ดี ดีเลิศ ๑) การมีคุณลักษณะและคา่ นยิ มทด่ี ีตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด ดี ดีเลิศ ๒) ความภูมิใจในทอ้ งถิน่ และความเปน็ ไทย ดี ดีเลิศ ๓) การยอมรับทจี่ ะอยูร่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ดี ดีเลิศ ๔) สขุ ภาวะทางร่างกายและลักษณะจติ สงั คม ดี ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ ดี ดเี ลิศ ๒.๑ การมีเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ และพันธกจิ ทส่ี ถานศึกษากาหนดชดั เจน ดี ดีเลิศ ๒.๒ มรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา ๒.๓ ดาเนนิ งานพฒั นาวิชาการท่ีเน้นคณุ ภาพผ้เู รยี นรอบดา้ นตามหลักสุต ดี ดีเลศิ รสถานศึกษาและทุกกลมุ่ เป้าหมาย ดี ดีเลศิ ๒.๔ พัฒนาครแู ละบคุ ลกรใหม้ คี วามเชย่ี วชาญทางวิชาชพี ๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทีเ่ อ้ือต่อการจดั การเรยี นรู้ ดี ดีเลิศ อย่างมคี ูณภาพ ๒.๖ จดั ระบบเทคโนโบยีสารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและ ดี ดเี ลิศ การจัดการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ ดี ดีเลิศ สาคัญ ๓.๑ จดั การเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง และสามารถนาไป ดี ดีเลิศ ประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตได้ ดี ดีเลศิ ๓.๒ ใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ทีเ่ อ้อื ต่อการเรยี นรู้ ดี ดีเลิศ ๓.๓ มกี ารบริหารจดั การชน้ั เรียนเชงิ บวก ๔.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นา ดี ดีเลิศ ผูเ้ รยี น ๓.๕ มกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรู้และให้ขอ้ มูลสะท้อนกลับเพอื่ พัฒนาและ ดี ดเี ลศิ ปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้ สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา

11 สว่ นท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั ระดบั คณุ ภาพ ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวยั ดีเลิศ ดีเลศิ มาตรฐานการศึกษา: ดีเลศิ ดีเลิศ มาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ีเ่ นน้ เด็กเป็นสาคญั มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็ ระดับคุณภาพ : ดีเลศิ 1. กระบวนการพฒั นา 1.1 การดาเนนิ โครงการส่งเสรมิ พัฒนาการทง้ั 4 ด้านของเด็กปฐมวยั ตลอดปีการศกึ ษา ดว้ ยการ ดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA ซึ่งประกอบดว้ ยกิจกรรมสง่ เสริมพฒั นาการทางด้านรา่ งกาย กิจกรรม ส่งเสรมิ พัฒนาการทางด้านอารมณ์-จิตใจ กิจกรรมสง่ เสรมิ พัฒนาการดา้ นสงั คม และกจิ กรรมส่งเสริม พัฒนาการด้านสติปัญญา 1.2 การดาเนนิ งานโครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์น้อยเพือ่ สง่ เสริมความรพู้ ืน้ ฐานและเจคตทิ ่ีดีทางดา้ น วิทยาศาสตร์ ตลอดปีการศึกษา ดว้ ยการดาเนนิ งานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA 1.3 การกิจกรรมการเรยี นการสอนสะเตม็ ศึกษาสาหรบั เดก็ ปฐมวัยเพ่อื การเตรยี มความพร้อมให้ ผ้เู รียนในการก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ตลอดปีการศกึ ษา ดว้ ยการดาเนนิ งานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA 1.4 การดาเนินการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนตามแนวทางการจดั กจิ กรรมในหลักสตู รการศกึ ษา ปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560 ตลอดปีการศึกษา ด้วยการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA 2. ผลการดาเนินงาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ /ประเดน็ พจิ ารณา ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมนิ สรปุ ผลการประเมิน ดีเลศิ สงู กว่าค่าเป้าหมาย 1.1 มพี ฒั นาการด้านร่างกาย แขง็ แรง มสี ุขนิสัยท่ดี ี ดี ดีเลศิ สูงกว่าค่าเปา้ หมาย และดแู ลความปลอดภัยของตัวเองได้ ดีเลิศ สูงกว่าคา่ เป้าหมาย 1.2 มีพฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุมและ ดี ดเี ลศิ สูงกว่าคา่ เปา้ หมาย แสดงออกทางอารมณ์ได้ ดเี ลิศ สูงกว่าคา่ เปา้ หมาย 1.3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตัวเอง และ ดี เปน็ สมาชกิ ที่ดขี องสงั คม 1.4 มีพฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา สอ่ื สารได้ มที ักษะ ดี การคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 1 ดี

12 จากผลการดาเนินงานในมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ อธบิ ายเพ่มิ เตมิ ได้ดังน้ี 1. นกั เรยี นปฐมวัยโรงเรียนบ้านแกง้ มผี ลการประเมินพัฒนาการท้งั 4 ดา้ น ตามหลักสูตรการศกึ ษา ปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 อยใู่ นระดบั ดี คดิ เป็นรอ้ ยละ 92.89 ซ่งึ มีรายละเอยี ด ดงั นี้ 1.1 พัฒนาการด้านร่างกาย เดก็ มีน้าหนกั สว่ นสงู ตามเกณฑม์ าตรฐาน เคล่ือนไหวรา่ งกายคลอ่ งแคลว่ ทรงตัวไดด้ ี ใช้มือและตามประสานสัมพันธก์ นั ได้ดี ดแู ลรักษาสุขภาพอนามยั ส่วนตนและปฏิบตั จิ นเปน็ นสิ ยั ปฏิบตั ิตนตามข้อตกลงเกย่ี วกับความปลอดภยั หลกี เลีย่ งสภาวะที่เสยี่ งต่อโรค ส่ิงเสพติด และระวงั ภยั จาก บุคคล ส่งิ แวดลอ้ ม และสถานการณท์ ่ีเสยี่ งอันตราย 1.2 พัฒนาการดา้ นอารมณ์-จติ ใจ เดก็ รา่ เริง แจม่ ใส แสดงอารมณ์ความรู้สกึ ไดเ้ หมาะสม รู้จกั ยบั ย้ังชัง่ ใจ อดทนในการรอคอย ยอมรบั และพอใจในความสามารถและผลงานของตนเองและผอู้ ่ืน มจี ิตสานกึ และ ค่านยิ มท่ีดี มีความมน่ั ใจ กล้าพูด กลา้ แสดงออก ช่วยเหลอื แบ่งปัน เคารพสทิ ธิ ร้หู นา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ อดทนอด กลั้น ซ่อื สตั ยส์ จุ ริต มคี ุณธรรม จริยธรรมตามทโี่ รงเรียนกาหนด ช่ืนชมและมีความสขุ กบั ศิลปะ ดนตรี และการ เคล่ือนไหว 1.3 พัฒนาการด้านสงั คม เด็กชว่ ยเหลอื ตนเองในการปฏบิ ัติกิจวัตรประจาวนั มีวนิ ัยในตนเอง ประหยดั และพอเพยี ง มสี ว่ นรว่ มดแู ลรกั ษาสิง่ แวดล้อมในและนอกห้องเรยี น มีมารยาทตามวฒั นธรรมไทย เช่น การไหว้ การยมิ้ ทักทาย และมีสมั มาคารวะกบั ผใู้ หญ่ เป็นต้น ยอมรับหรอื เคารพความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล เลน่ และทางานรว่ มกับผู้อ่ืนได้ รจู้ กั แกไ้ ขความขดั แย้งโดยปราศจากความรนุ แรง 1.4 พัฒนาการด้านสติปัญญา เดก็ สนมนาโตต้ อบและเลา่ เรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ ตง้ั คาถามในสงิ่ ทต่ี นเอง สนใจหรอื สงสัย และพยายามคน้ หาคาตอบ อา่ นนิทานและเลา่ เรอื่ งที่ตนเองอ่านได้เหมาะสมกบั วัย มี ความสามารถในการคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตผุ ลทางคณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ การคิดแกป้ ัญหาและ สามารถตัดสินใจเร่ืองงา่ ยๆ ได้ สรา้ งสรรค์ผลงานตามความคิดและจนิ ตนาการ เช่น งานศลิ ปะ การเคล่อื นไหว ทา่ ทาง การเลน่ อสิ ระ เปน็ ตน้ และใชส้ อื่ เทคโนโลยี เช่น แวน่ ขยาย แม่เหลก็ กลอ้ งดจิ ิตอล เปน็ ต้น เป็น เครื่องมือในการแสวงหาความรู้ได้ 2. นกั เรยี นชน้ั อนบุ าล 3 มีความพร้อมในการเข้าเรยี นเขา้ เรียนช้นั ป.1 คิดเป็นรอ้ ยละ 100 3. จดุ เดน่ 3.1 เด็กมีพฒั นาการดา้ นร่างกายสมวัย มนี า้ หนกั ส่วนสงู ตามเกณฑส์ มวยั รา่ งกายแข็งแรง เคลื่อนไหว ได้อย่างคลอ่ งแคล่ว กลา้ มเนอ้ื ใหญ่และกล้ามเน้ือเล็ก ประสาทสมั พันธ์กันดี 3.2 เด็กมีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ –จิตใจ สมวยั สามารถแสดงออกทางอารมณ์ ได้อยา่ งเหมาะสมกับ กาละเทศ มีความรู้สึกที่ดตี ่อตนเองและผู้อ่ืน 3.3 เด็กมีพฒั นาการด้านสงั คมสมวยั มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง มวี นิ ัยใน ตนเอง รักธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อมและอนรุ ักษ์ส่งิ ท่เี ปน็ สาธารณะสมบตั สิ ว่ นรวม มีมารยาทตามวฒั นธรรมไทย ย้ิมง่าย ไหวส้ วย รูจ้ ักทักทายผ้มู าเยือน 3.4 เด็กมีพฒั นาการด้านสตปิ ัญญาสมวัย มคี วามกลา้ แสดงออก ทงั้ ทางดา้ นการใช้ท่าทาง คาพูด การ ปฏบิ ัตสิ มั พันธ์ การใช้สือ่ เทคโนโลยีในการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง 3.5 มกี ารจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสตู รสถานศึกษา และมีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเสรมิ ในการพัฒนาผเู้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ

13 4. จดุ ควรพัฒนา 4.1 สอื่ ท่ีสง่ เสริมพัฒนาการด้านรา่ งกาย ได้แก่ สนามเด็กเล่น อุปกรณ์ เคร่ืองเล่นสนามชารดุ ทรดุ โทรม บางอย่าง แตกหกั มสี ภาพท่ีไม่ปลอดภัย ควรไดร้ ับการปรับปรุง และจัดหามาเพมิ่ เตมิ 4.2 ควรเพ่ิมการมีสว่ นร่วมของพอ่ แม่ คอบครวั ชุมชน และทกุ ฝา่ ยทเ่ี ก่ียวขอ้ งในการส่งเสริม พฒั นาการเด็ก 4.3 ควรเพิ่มความต่อเนื่องของการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสตู รสถานศึกษา และการ ดาเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมเสริมในการพฒั นาผเู้ รยี น 5. แผนพัฒนาเพ่ือใหไ้ ดม้ าตรฐานทส่ี งู ข้ึน แผนปฏิบัติงานท่ี 1 โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาการท้งั 4 ด้านของเด็กปฐมวัย แผนปฏิบตั งิ านที่ 2 โครงการบ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อย แผนปฏิบัตงิ านท่ี 3 โครงการสง่ เสรมิ การจัดประสบการณ์การเรียนรทู้ ่เี น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ แผนปฏบิ ตั งิ านที่ 4 โครงการพฒั นาวิชาการที่เน้นคุณภาพผูเ้ รยี นอย่างรอบดา้ นตามหลกั สตู ร สถานศึกษา แผนปฏิบตั งิ านที่ 5 โครงการพฒั นาแหล่งเรียนรทู้ ัง้ ในและนอกสถานศึกษา แผนปฏบิ ัติงานท่ี 6 โครงการพัฒนาสภาพแวดล้อมทเี่ อื้อต่อการจัดการเรยี นรูอ้ ย่างมคี ุณภาพ แผนปฏิบตั งิ านท่ี 7 โครงการขบั เคล่ือนคณุ ภาพการศกึ ษาด้วยกระบวนการ PLC

14 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ระดบั คุณภาพ : ดีเลิศ 1. กระบวนการพฒั นา 1.1 การดาเนินงานโครงการพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนอยา่ งรอบด้านตามหลักสตู ร สถานศึกษา เพื่อพัฒนาและใช้หลกั สูตรสถานศึกษาท่ีครอบคลุมพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน เน้นการเตรียมความ พรอ้ มโดยไม่เร่งรดั วิชาการ เนน้ การเรียนรู้ผ่านการเล่นและปฏิบตั ิจริง สอดคล้องกับวิถีชีวติ ของครอบครวั และชุมชน 1.2 สถานศกึ ษาได้ดาเนนิ การจัดหาครใู หเ้ พยี งพอกบั ช้นั เรยี น ครจู บการศึกษาด้านปฐมวยั โดยตรงและ มคี วามรู้ความสามารถในการออกแบบการจัดกิกรรมและประเมนิ พฒั นาการเด็กและครอบครวั โดยส่งเสรมิ ให้ ครูพฒั นาตนเองให้มีความรู้ความสามารถในการจัดประสบการณส์ าหรับเด็กปฐมวยั อย่างเหมาะสมเพือ่ ความ พร้อมในการพัฒนาเด็กส่ศู ตวรรษที่ 21 อยา่ งครูมืออาชีพ 1.3 การดาเนินงานโครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มที่เอื้อต่อการจดั การเรยี นรู้อยา่ งมีคุณภาพ เพ่ือ สภาพแวดล้อมให้มีความปลอดภัย 1.4 การดาเนนิ งานโครงการพัฒนาแหลง่ เรยี นรทู้ ง้ั ในและนอกสถานศึกษา ดาเนนิ การจัด สภาพแวดล้อมท่ีมีความเหมาะสม และปลอดภัยในการสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย 1.5 สง่ เสรมิ การใช้สอื่ เทคโนโลยี โดยการใหบ้ ริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสอื่ การเรยี นรู้เพ่อื สนับสนุนการจัดประสบการณ์ท่ีเหมาะสมสาหรับเด็กปฐมวัย และสง่ เสรมิ ให้ครจู ัดมุมประสบการณ์ท่ี หลากหลายเพ่ือส่งเสรมิ การเรียนรู้และพฒั นาการของเด็ก ปฐมวยั 1.6 สถานศึกษาได้กาหนดมาตรฐาน แผนพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา สอดคลอ้ งกับมาตรฐานท่ี สถานศกึ ษากาหนด มีการติดผลตามการดาเนนิ งานและรายงานการประเมินตนเองประจาปี นาผลการ ประเมินไปปรับปรุงการพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา โดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทกุ ฝา่ ยมีส่วนรว่ ม และจดั สง่ รายงานการประเมนิ ตนเองให้ต้นสงั กัด โดยใช้กระบวนการ PLC เพ่ือขับเคลื่อนการดาเนินงานให้ครบวงจร คณุ ภาพ PDCA มีการนิเทศ กากับ ติดตาม การดาเนินงานอยา่ งตอ่ เน่ือง ตามรูปแบบการนเิ ทศภายในโรงเรยี น บา้ นแก้ง PSE Model เพือ่ ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียน 2. ผลการดาเนนิ งาน คา่ เป้าหมาย ผลการประเมิน สรปุ ผลการประเมนิ ดี ดีเลิศ สงู กวา่ คา่ เปา้ หมาย มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารแบะการจดั การ / ดี ดเี ลิศ สงู กวา่ ค่าเป้าหมาย ประเด็นพิจารณา ดี ดีเลศิ สงู กว่าค่าเป้าหมาย ดี ดีเลศิ สงู กว่าค่าเป้าหมาย 2.1 มหี ลกั สตู รพฒั นาพัฒนาการทง้ั 4 ด้าน สอดคล้องกับ ดี ดีเลศิ สูงกว่าค่าเปา้ หมาย บรบิ ทของท้องถิน่ ดี ดีเลศิ สงู กว่าคา่ เป้าหมาย ดี ดเี ลศิ สูงกวา่ คา่ เปา้ หมาย 2.2 จัดครูให้พอกับช้นั เรียน 2.3 สง่ เสริมใหค้ รมู คี วามเชี่ยวชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ 2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและสื่อเพอื่ การเรยี นรู้ อย่าง ปลอดภัยและเพยี งพอ 2.5 ใหบ้ รกิ ารสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและส่อื การเรยี นรู้ เพ่อื สนับสนุนการจัดประสบการณ์ 2.6 มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกย่ี วขอ้ งทุก ฝา่ ยมสี ่วนรว่ ม สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 2

15 จากผลการดาเนินงานในมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ อธบิ ายเพ่มิ เติมได้ดงั นี้ 1. สถานศกึ ษามหี ลกั สตู รสถานศกึ ษาระดับปฐมวัยฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2562 ตามหลกั สตู ร การศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 ของกระทรวงศึกษาธิการ ทสี่ อดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา 2. ครมู ีจานวนเพียงพอและเหมาะสมกบั ช้นั เรยี น ซ่ึงครผู สู้ อนจบปรญิ ญาตรีด้านการศกึ ษาปฐมวยั โดยตรง มกี ารสง่ เสริมใหค้ รูมีความเชย่ี วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ เพ่อื เพิ่มพูนศักยภาพดา้ นการจัด ประสบการณ์ทส่ี ่งผลต่อคุณภาพเด็กเป็นรายบุคคลตรงตามความต้องการของครูและสถานศึกษา 3. สถานศึกษาเขา้ รว่ มโครงการ”บา้ นนักวทิ ยาศาสตร์น้อย ในพระราชดาริสมเดจ็ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โรงเรียนคุณภาพมาตรฐานกจิ กรรมวิทยาศาสตร์สาหรบั เดก็ ปฐมวยั บ้าน นักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย” 4. สถานศึกษาจดั สภาพแวดล้อมอยา่ งปลอดภัย และมสี ื่อเพื่อการเรียนรอู้ ยา่ งเพียงพอและ หลากหลาย ให้บรกิ ารสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรียนรู้ เพอ่ื สนับสนนุ การจัดประสบการณ์ เหมาะสมกับบริบทของสถานศกึ ษา 5. สถานศกึ ษามรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษาทเ่ี ปิดโอกาสใหผ้ ู้เก่ยี วข้องมสี ่วนร่วม การปฏิบตั ิงานที่สง่ ผลต่อคุณภาพมาตรฐานของสถานศกึ ษา บรู ณาการการปฏิบตั ิงานและเปิดโอกาสให้ ผเู้ ก่ยี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมีสว่ นรว่ ม 3. จุดเดน่ 3.1 โรงเรียนมหี ลกั สูตรครอบคลมุ พฒั นาการท้ัง 4 ด้าน สอดคล้องกับบรบิ ทท้องถ่นิ และมกี ารประเมิน การใชห้ ลกั สูตรทกุ ปีการศึกษา 3.2 ครูมวี ฒุ กิ ารศึกษา จบการศกึ ษาปริญญาตรี สาขาอนบุ าล ทั้ง 2 คน ครบชน้ั เรยี น 3.3 ครไู ด้พฒั นาตนเองคือเขา้ รบั การอบรมพัฒนาคปู องครู เพื่อให้ครูได้พฒั นาศักยภาพท่ีจะนามาจัด ประสบการณส์ าหรับเด็กและเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการประกอบวชิ าชีพระดบั สงู ต่อไป 3.4 มกี ารจัดมุมประสบการณ์อย่างน้อย 4 มมุ ใชส้ ือ่ และเทคโนโลยี และเครอื ขา่ ยอินเตอรเ์ นต็ ในการ ทากิจกรรม สภาพแวดล้อมมีความปลอดภยั 3.5 โรงเรยี นเข้าโครงการบ้านนกั วทิ ยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทยต้งั แต่ปี 2550 ถงึ ปัจจุบันได้รับ ตราพระราชทานคงสภาพเป็นครง้ั ท่ี 2 ได้พัฒนาการจดั การเรยี นรูเ้ ปน็ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ เน้นการปฏิบัตสิ เู่ ด็ก นกั เรยี น 3.6 โรงเรียนประชุมผปู้ กครอง อยา่ งน้อย ปีละ 2 ครงั้ และใช้ ไลน์ กร้ปุ ผูป้ กครองแตล่ ะช้นั เพื่อ ตดิ ตอ่ สอื่ สารกบั ผปู้ กครอง มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษาที่เปิดโอกาสให้ผเู้ กย่ี วข้องมีสว่ นร่วม การปฏิบัติงานท่สี ง่ ผลต่อคณุ ภาพมาตรฐานของสถานศึกษา 4. จดุ ควรพัฒนา 4.1 ควรตรวจสอบ พฒั นา และปรบั ปรงุ สื่อตามมุมประสบการณแ์ ละสื่อในกจิ กรรมกลางแจ้งท่ีชารดุ และซ่อมแซมให้ใชใ้ นการงานไดแ้ ละมคี วามปลอดภัยกับนักเรียน 4.2 ควรพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษาใหส้ ่งผลต่อคุณภาพการจัดการศึกษา มากยงิ่ ขึ้น จนกลายเปน็ แบบอย่างทดี่ ี หรือนวตั กรรมการบรหิ ารของสถานศกึ ษาได้

16 5. แผนพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานทส่ี ูงขนึ้ แผนปฏบิ ตั งิ านที่ 1 โครงการส่งเสริมพฒั นาการทั้ง 4 ด้านของเด็กปฐมวัย แผนปฏบิ ตั งิ านที่ 2 โครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อย แผนปฏิบัตงิ านท่ี 3 โครงการสง่ เสริมการจัดประสบการณ์การเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ แผนปฏบิ ัติงานที่ 4 โครงการพฒั นาวชิ าการทีเ่ นน้ คุณภาพผเู้ รยี นอยา่ งรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษา แผนปฏิบัติงานท่ี 5 โครงการพัฒนาแหล่งเรยี นรูท้ งั้ ในและนอกสถานศึกษา แผนปฏิบตั ิงานท่ี 6 โครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มที่เอือ้ ต่อการจดั การเรยี นรู้อยา่ งมีคุณภาพ แผนปฏิบัติงานที่ 7 โครงการขบั เคล่อื นคณุ ภาพการศกึ ษาด้วยกระบวนการ PLC

17 มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ เ่ี น้นเด็กเปน็ สาคญั ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลิศ 1. กระบวนการพัฒนา การดาเนินงานโครงการสง่ เสริมการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ทเ่ี นน้ เดก็ เปน็ สาคัญ เพ่ือส่งเสริมใหค้ รู จดั ประสบการณท์ ี่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทกุ ด้านอย่างสมดุลเตม็ ศักยภาพ เพอ่ื สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กได้รบั ประสบการณ์ตรง เลน่ และทากจิ กรรมอยา่ งมีความสุข เพื่อจดั บรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ใชส้ ือ่ และ เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกบั วัย ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และนาผลไปปรบั ปรุงการจัดประสบการณ์ และพัฒนาเดก็ ร้จู กั เด็กเป็นรายบคุ คล จดั ทาแผนการจดั ประสบการณ์จากการวิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะ ทีพ่ งึ ประสงคใ์ นหลักสตู รสถานศกึ ษา จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ พัฒนาการของเดก็ ให้ครบทุกด้าน เดก็ ได้เลอื ก เล่นและเรียนรู้ ลงมือ กระทา และสรา้ งองค์ความรู้ด้วยตนเอง ครจู ัดห้องเรียนใหส้ ะอาด อากาศถา่ ยเท ปลอดภัย เดก็ มีส่วนรว่ มในการจดั สภาพแวดลอ้ ม เชน่ ปา้ ยนเิ ทศ การดแู ลต้นไม้ การทาความสะอาด ครูใช้ ส่อื ของเล่น และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกบั ช่วงวยั ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกจิ กรรมและกิจวตั รประจาวัน โดยไมใ่ ช้แบบทดสอบมีผปู้ กครองมีส่วนร่วมและนาผลการประเมินที่ไดไ้ ปพฒั นาคุณภาพเดก็ และใช้ กระบวนการ PLC เพ่อื ขับเคล่ือนการดาเนินงานใหค้ รบวงจรคณุ ภาพ PDCA 2. ผลการดาเนินงาน มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ่ีเน้นเด็กเป็น ค่าเป้าหมาย ผลการประเมนิ สรปุ ผลการประเมิน สาคัญ / ประเด็นพิจารณา ดีเลศิ สูงกวา่ ค่าเป้าหมาย ดีเลิศ สงู กวา่ คา่ เปา้ หมาย 2.1 จดั ประสบการณ์ทสี่ ง่ เสริมใหเ้ ด็กมพี ฒั นาการ ดี ดเี ลิศ สูงกวา่ ค่าเปา้ หมาย ดเี ลศิ สงู กว่าค่าเปา้ หมาย ทกุ ด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ ดีเลิศ สงู กวา่ ค่าเป้าหมาย 2.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณต์ รงเลน่ ดี และปฏิบตั ิอย่างมีความสุข 2.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรยี นรใู้ ชส้ อ่ื และ ดี เทคโนโลยเี หมาะสมกบั วยั 2.4 ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจริงและนา ดี ผลการประเมินพัฒนาการเด็กไป ปรับปรุงการจดั ประสบการณ์และพฒั นาเดก็ สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 3 ดี จากผลการดาเนนิ งานในมาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ีเ่ น้นเดก็ เปน็ สาคญั อธิบายเพม่ิ เติมได้ ดงั นี้ 1. ครวู ิเคราะห์ข้อมูลเด็กเปน็ รายบุคคล จัดทาแผนการจัดประสบการณ์ จากการวเิ คราะหม์ าตรฐาน คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ในหลกั สูตรสถานศกึ ษา โดยมกี ิจกรรมทส่ี ่งเสรมิ พัฒนาการเด็กครบทุกดา้ น ไมม่ ่งุ เน้น การพัฒนาดา้ นใดด้านหนงึ่ เพียงด้านเดียว 2. ครูจัดประสบการณท์ เ่ี ช่ือมโยงกบั ประสบการณเ์ ดิม ใหเ้ ด็กมโี อกาสได้เลือกทากจิ กรรมอยา่ งอิสระ ตามความสนใจ ความต้องการ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรยี นรู้ของเดก็ เป็นรายบุคคล หลากหลาย รปู แบบจากแหล่งเรยี นรู้ที่หลากหลาย เด็กได้เลือกเล่น ลงมือ กระทา และสร้างองค์ความรดู้ ้วยตนเอง

18 3. ครูจัดห้องเรียนไดส้ ะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภยั มีพ้ืนท่ีแสดงผลงานเดก็ พ้นื ทสี่ าหรับมมุ ประสบการณ์และการจัดกิจกรรม เด็กมสี ว่ นรว่ มในการจัดสภาพแวดลอ้ มในห้องเรยี น เช่น ปา้ ยนิเทศ การดูแล ต้นไม้ เปน็ ตน้ ครูใชส้ ่ือและเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกับชว่ งอายุ ระยะความสนใจและวิถีการเรียนรขู้ องเด็ก เชน่ กลอ้ งดจิ ิตอล คอมพวิ เตอร์ แว่นขยาย สอ่ื ของเลน่ ทีก่ ระดุน้ ใหค้ ดิ และหาคาตอบ เปน็ ต้น 4. ครปู ระเมนิ พัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวตั รประจาวนั ดว้ ยเคร่อื งมือและวธิ กี ารที่หลากหลาย ไม่ใชแ้ บบทดสอบ วิเคราะห์ผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ โดยผปู้ กครองและผู้เก่ยี วข้อง มสี ว่ นรว่ ม และนาผล การประเมินไปพัฒนาคุณภาพเดก็ และแลกเปลี่ยนเรียนร้กู ารจดั ประสบการณ์ทม่ี ีประสิทธิภาพ 3. จดุ เด่น 3.1 ครรู ้จู กั เด็กเป็นรายบคุ คลและจัดกจิ กรรมที่สาสามารถสง่ เริมพัฒนาการได้ครอบคลุมทั้ง 4 ดา้ น อย่างเปน็ องค์รวม และคานึงถึงความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลดว้ ย 3.2 ครูมกี ารจัดประสบการณ์ทีเ่ ช่อื มโยงกบั ประสบการณ์เดิม ให้เด็กมีโอกาสเลือกทากจิ กรรมอสิ ระ ตามความต้องการ เด็กไดเ้ รียนรอู้ ย่างมีความสขุ ผ่านการเลน่ จากกจิ กรรมทค่ี รูออกแบบ 3.3 จดั แหลง่ เรยี นร้ทู ห่ี ลากหลาย เดก็ ไดเ้ ลือกเล่น เรยี นรู้ ลงมอื และสรา้ งองค์ความรู้ด้วยตนเอง 3.4 ครูจดั หอ้ งสะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภยั มพี ืน้ ท่แี สดงผลงานเดก็ พืน้ ท่ีสาหรับมมุ ประสบการณแ์ ละครู ใช้ส่อื ห้องเรียนมปี ้ายนิเทศ มสี ือ่ และเทคโนโลยี มีคอมพวิ เตอร์ ทีวี สือ่ ของเลน่ ท่ีกระตุ้นใหค้ ิดและหาคาตอบ 3.5 ครปู ระเมินพฒั นาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจาวนั ด้วยเครอื่ งมือและวิธีการท่ี หลากหลาย ไม่ใชแ้ บบทดสอบ เน้นการประเมินจากสภาพจรงิ จากกจิ กรรมท่ีเด็กปฏิบัตใิ นกิจกรรมประจาวนั วเิ คราะห์ผล การประเมนิ พฒั นาการเด็ก โดยผู้ปกครองและผเู้ กี่ยวขอ้ งมสี ว่ นรว่ ม และนาผลการประเมนิ ไป พัฒนาเด็กและแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ 3.6 ครู จานวนรอ้ ยละ 100 เข้ารบั การพัฒนาตนเองและมีชวั่ โมงการพัฒนาตนเอง ผา่ นเกณฑ์ที่ กคศ. กาหนด และใช้กระบวนการ PLC มาดาเนินการพัฒนาขับเคล่ือนการแก้ไขปญั หาที่เกิดจากกจิ กรรมการเรยี น การสอนได้อย่างตอ่ เนื่อง 4. จดุ ควรพฒั นา 4.1 ควรเพม่ิ และพฒั นาส่ือทเี่ นน้ กระบวนการคดิ ท่ีมจี านวนยังไมเ่ พียงพอและสอดคล้องกบั การพฒั นา เดก็ มากเทา่ ท่ีควร 4.2 ครคู วรพัฒนารูปแบบการจดั ประสบการณ์ที่ส่งเสริมพฒั นาการเด็กทั้ง 4 ดา้ น ให้โดดเด่นและมี คุณภาพ สามารถเป็นนวัตกรรมหรือเปน็ อย่างท่ดี ีของครแู ละของโรงเรยี น 5. แผนพฒั นาเพ่ือให้ได้มาตรฐานท่ีสงู ข้นึ แผนปฏิบตั งิ านที่ 1 โครงการส่งเสริมพัฒนาการท้งั 4 ด้านของเด็กปฐมวัย แผนปฏิบัติงานท่ี 2 โครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย แผนปฏบิ ัติงานที่ 3 โครงการส่งเสริมการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ทีเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ แผนปฏบิ ตั งิ านที่ 4 โครงการพฒั นาวชิ าการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้านตามหลกั สตู ร สถานศกึ ษา แผนปฏบิ ัติงานที่ 5 โครงการพฒั นาแหลง่ เรียนรทู้ ้งั ในและนอกสถานศึกษา แผนปฏบิ ัติงานท่ี 6 โครงการพฒั นาสภาพแวดลอ้ มที่เอือ้ ต่อการจดั การเรียนรู้อยา่ งมคี ุณภาพ แผนปฏบิ ัติงานท่ี 7 โครงการขบั เคล่ือนคณุ ภาพการศึกษาด้วยกระบวนการ PLC

ระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 19 ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ มาตรฐานการศกึ ษา : ดีเลศิ ดีเลิศ ดีเลิศ มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี น มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รียน ระดบั คุณภาพ : ดีเลศิ 1. กระบวนการพฒั นา 1.1 การดาเนินงานโครงการพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรียน ตลอดปีการศึกษา ดว้ ยการ ดาเนนิ งานตามวงจรคุณภาพ PDCA เพือ่ สง่ เสริมความสามารถของผ้เู รียนในด้านการอา่ น การเขียน การส่ือสาร การคิดคานวณ ให้ผู้เรยี นมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ สามารถแลกเปล่ียนความ คิดเห็นและแกป้ ญั หา ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม มคี วามสามารถในการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ผเู้ รยี นมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐานและเจตคตทิ ่ดี ีต่ออาชีพ 1.2 การดาเนนิ งานโครงการส่งเสรมิ และพฒั นาคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผ้เู รียน ตลอดปกี ารศึกษา ดว้ ยการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA เพอื่ ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนมคี ณุ ลกั ษณะและคา่ นิยมที่ดีตามที่ สถานศึกษากาหนด มคี วามภาคภมู ใิ จในท้องถิ่นและความเป็นไทย การยอมรบั ทจี่ ะอย่รู ว่ มกันบนความแตกต่าง และหลากหลาย และการมีสขุ ภาวะทางร่างกายและจิตสงั คม 2. ผลการดาเนนิ งาน คา่ เปา้ หมาย ผลการประเมิน สรุปผลการประเมนิ ดี ดีเลิศ สงู กวา่ ค่าเป้าหมาย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ ประเด็นพิจารณา ดี ดีเลศิ สงู กว่าคา่ เป้าหมาย ดี ดเี ลิศ สงู กวา่ คา่ เป้าหมาย 1. ร้อยละของผู้เรียนผ่านเกณฑป์ ระเมนิ ผลสมั ฤทธิ์ทาง วิชาการ ดี ดเี ลศิ สูงกว่าคา่ เปา้ หมาย ดี ดเี ลิศ สูงกว่าค่าเป้าหมาย 1.1 ผูเ้ รยี นมคี วามสามรถในการอา่ น การเขียน การ ดี ดีเลิศ สงู กวา่ คา่ เปา้ หมาย ส่ือสาร และการคิดคานวณ ดี ดีเลิศ สงู กวา่ ค่าเปา้ หมาย ดี ดเี ลิศ สงู กว่าคา่ เป้าหมาย 1.2 ผูเ้ รียนมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ และคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ และแก้ปญั หา 1.3 ผู้เรยี นมีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม 1.4 เรยี นมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ และการส่อื สาร 1.5 ผู้เรียนมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนหลักสตู ร สถานศึกษา 1.6 ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติทีด่ ตี ่อ งานอาชพี 2. คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น

2.1 การมคี ณุ ลกั ษณะ และคา่ นิยมทด่ี ีตามสถานศกึ ษา ดี 20 กาหนด ดี ดีเลิศ สูงกวา่ คา่ เป้าหมาย 2.2 ความภมู ใิ จในท้องถิ่น และความเป็นไทย ดี ดเี ลิศ สูงกวา่ คา่ เป้าหมาย 2.3 การยอมรับที่จะอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ ง และ ดี ดเี ลศิ สงู กวา่ ค่าเป้าหมาย หลากหลาย ดี ดเี ลศิ สูงกว่าค่าเป้าหมาย 2.4 สุขภาวะทางรา่ งกาย และลกั ษณะจติ สังคม ดีเลศิ สูงกว่าคา่ เปา้ หมาย สรปุ ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 1 จากผลการดาเนินงานในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียน อธบิ ายเพมิ่ เติมได้ดงั น้ี 1. ผเู้ รียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคานวณตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากาหนด ในแตล่ ะระดบั ช้นั ทกุ ระดบั ช้ัน 2 ผ้เู รียนมีความสามารถในการคดิ จาแนกแยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พจิ ารณาอย่างรอบคอบ โดยใช้ เหตผุ ลประกอบการตดั สินใจ มกี ารอภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ และแกป้ ัญหาอย่างมีเหตุผล 3. ผู้เรยี นมีความสามารถในการรวบรวมความรไู้ ด้ทัง้ ดว้ ยตนเองและการทางานเปน็ ทีม เชือ่ มโยงองค์ ความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการสรา้ งสรรค์สิง่ ใหม่ๆ จากการทาโครงงาน โครงการ ตลอดจนการผลิต ชน้ิ งานใหมๆ่ 4. ผู้เรียนมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพ่อื การพฒั นาตนเองและ สังคมในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางานอยา่ งสรา้ งสรรค์ และมีคุณธรรม รจู้ กั นาสื่อโซเชียลมีเดียมาใช้ให้ เกิดประโยชน์ในการเรียนรู้และการส่ือสาร 5. ผู้เรยี นบรรลุและมคี วามก้าวหนา้ ในการเรียนรตู้ ามหลกั สูตรสถานศึกษาจากพ้นื ฐานเดิมในดา้ น ความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะกระบวนการตา่ งๆ และคะแนนเฉล่ยี รวมการสอบ O-net ของชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 มคี า่ เฉล่ียรวม 4 สาระ ร้อยละ 38.52 โดยสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลีย่ สูง กว่าระดับประเทศ และในระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 มีคา่ เฉล่ีย รวม 4 สาระ รอ้ ยละ 36.06 โดยสาระการ เรยี นรู้ภาษาไทย มีคะแนนเฉล่ียสงู กว่าระดับประเทศ นอกจากนี้ ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐาน (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 คะแนนเฉลี่ยรวมความสามารถทง้ั 2 ด้าน ไดร้ ้อยละ 67.20 ซึ่งเปน็ ค่าเฉล่ียทส่ี งู กวา่ ระดบั ประเทศ และเม่ือแยกเป็นรายดา้ น และผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านระดับชั้นประถมศึ กาปที ี่ 1 คะแนนเฉลีย่ รวม 2 สมรรถนะ ไดร้ ้อยละ 85.66 ซ่ึงเปน็ คา่ เฉลีย่ ทส่ี ูงกวา่ ระดบั ประเทศ 6. ผู้เรียนมีความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐานในการจดั การ มเี จตคติท่ดี ีพร้อมท่จี ะศกึ ษาในระดบั ชนั้ ที่สงู ขนึ้ และมี เจตคตทิ ดี่ ตี ่อการทางานและการประกอบอาชีพสจุ รติ โดยนกั เรียนชัน้ ป.6 และ ม. 3 เรยี นตอ่ ในชัน้ ทส่ี ูงข้นึ ครบร้อยละ 100 7. ผู้เรยี นมีพฤตกิ รรมท่เี ป็นผู้ทมี่ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎกตกิ า มีค่านิยมและจิตสานึกตามท่ี สถานศกึ ษากาหนด โดยไมข่ ดั กบั กฎหมายและวฒั นธรรมอันดีงามของสงั คม 8. ผเู้ รียนมคี วามภาคภมู ใิ จในทอ้ งถิ่น เห็นคณุ ค่าความเป็นไทย มีส่วนรว่ มในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรม ประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปญั ญาไทย เช่นการเข้าร่วมบญุ ประเพณีของหมบู่ า้ น การอนรุ กั ษ์วงดนตรีโปงลางของ โรงเรยี น การแสดงศลิ ปะการฟ้อนรา เป็นตน้ 9. ผู้เรียนยอมรับและอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคลในดา้ น เพศ วยั เช้ือชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม ประเพณี 10. ผเู้ รียนมีการรกั ษาสุขภาพกาน สขุ ภาพจติ อารมณ์และสงั คม และแสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ ละช่วงวยั สามารถอยูร่ ่วมกับคนอ่นื อยา่ งมีความสุข เข้าใจผู้อนื่ ไม่มีความขัดแยง้ กบั ผอู้ ื่น

21 3. จุดเดน่ 3.1 ผเู้ รียนมีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่อื สารและการคิดคานวณ สงู กว่าเป้าหมายท่ี สถานศึกษากาหนด 3.2 ผู้เรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษาสงู กวา่ เปา้ หมายท่ีสถานศึกษากาหนด มี ผลสอบ O-net สูงกว่าปีการศึกษาทีผ่ ่านมา และรายวชิ าคณติ ศาสตร์ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ของช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 มคี ะแนนเฉลย่ี สงู กว่าระดับประเทศ และในระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 รายวชิ าภาษาไทย มีคะแนนสงู กว่า ระดบั ประเทศ นอกจากนี้ ผลการทดสอบขั้นพน้ื ฐาน (NT) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 และการทดสอบ ความสามารถในการอ่าน (RT) ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 ล้วนแล้วแตม่ คี ะแนนเฉล่ยี สูงกวา่ ระดับประเทศ 3.3 ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณอภปิ รายแลกเปลี่ยนความ คดิ เห็น โดยใช้เหตุผลประกอบการาตดั สนิ ใจ และแก้ปัญหาได้ 3.4 ผเู้ รยี นมีความสนใจในการสร้างนวตั กรรมจากการทีไ่ ดเ้ รยี นรู้ในชั้นเรียน 3.5 ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพื่อพัฒนาตนเอง และสังคม ในดา้ นการเรียนรู้ การสื่อสารและการทางาน 3.6 ผู้เรียนมีความรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคติท่ีดีพร้อมที่จะศกึ ษาต่อในระดบั ท่สี ูงขึน้ และการทางาน หรืออาชพี สุจรติ 3.7 ผู้เรยี นมีคุณลักษณะและคา่ นิยมที่ดีสูงกวา่ เป้าหมายท่ีสถานศกึ ษากาหนด 4. จดุ ควรพฒั นา 4.1 ควรสง่ เสริมให้ผู้เรียนมีความรคู้ วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม โดยให้มกี ารนาไปใช้และ เผยแพรด่ ว้ ย 4.2 ควรพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นและผลการทดสอบระดับชาตใิ หม้ ีคา่ เฉล่ยี สงู ข้ึนหรือสูงกว่า ระดบั ประเทศทุกกลุ่มสาระ 5. แผนพฒั นาเพ่ือใหไ้ ด้มาตรฐานท่ีสูงข้นึ แผนปฏิบตั ิงานที่ 1 โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผู้เรียน แผนปฏิบตั งิ านที่ 2 โครงการส่งเสริมและพฒั นาคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผเู้ รยี น แผนปฏิบัตงิ านที่ 3 โครงการพฒั นาครูและบุคลากร แผนปฏิบัติงานที่ 4 โครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้ือต่อการจดั การเรยี นรูอ้ ย่างมีคุณภาพ แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 4 โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การบริหารจัดการและ การเรียนรู้ แผนปฏิบตั ิงานที่ 5 โครงการส่งเสริมและพฒั นากระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียนเป็น สาคัญ แผนปฏิบัตงิ านที่ 6 โครงการพฒั นาวิชาการที่เนน้ คุณภาพผู้เรยี นอย่างรอบด้านตามหลักสตู ร สถานศกึ ษา แผนปฏิบัตงิ านท่ี 7 โครงการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการ PLC แผนปฏิบตั งิ านที่ 8 โครงการพฒั นาแหล่งเรียนรูท้ ง้ั ในและนอกสถานศึกษา

22 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับคณุ ภาพ : ดีเลิศ 1. กระบวนการพัฒนา 1.1 การกาหนดเปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพันธกจิ กาหนดโครงสรา้ งการบริหารงาน กาหนด ผ้รู บั ผดิ ชอบงานอย่างชดั เจน มกี ารกาหนดแผนยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั นาการศกึ ษา แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี การศึกษาที่ผา่ นการเหน็ ชอบและได้รับการรบั รองจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน มกี ารดาเนนิ งาน ตามแผน การนเิ ทศ กากับติดตาม อยา่ งต่อเนื่อง กาหนดวิธีการและเคร่ืองมือประเมินการดาเนนิ งานอย่าง เหมาะสม ตลอดจนสรุปผล รายงานผลการดาเนินงานตามแผนทก่ี าหนดไว้ นาผลสรุปจากการดาเนินงานไป พัฒนาและปรบั ปรุงการดาเนินงานเพื่อประสิทธภิ าพทด่ี ขี องการดาเนินงานอยเู่ สมอ และทาการเผยแพร่ผลการ ดาเนนิ งานต่อสาธารณชนเป็นลาดับตอ่ ไป และมีการนาชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพมาใชใ้ นการพัฒนางาน พฒั นาระบบการบริหารงานด้วย 1.2 การนาระบบวงจรคุณภาพเดมม่ิง (PDCA) มาใชเ้ ป็นกระบวนการในการดาเนนิ งานโดยใช้โรงเรยี น เป็นฐาน โดยใช้รูปแบบการบรหิ ารงาน 3 ป. 4 รว่ ม เนน้ การมีส่วนร่วมของทุกภาคสว่ นที่มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ใน การจดั การศกึ ษาใหเ้ ข้ามา ร่วมคดิ ร่วมปฏิบัติ รว่ มประเมินผลและรว่ มชนื่ ชม โดยผา่ นการดาเนินงานโดยใช้กล ยทุ ธ์ 3 กลยุทธ์ ได้แก่ ปรบั ปรุงสถานศกึ ษาใหน้ ่าอยู่ ปรบั ปรุงครูสมู่ าตรฐาน และปรบั ปรุงคุณภาพการศึกษาสู่ คณุ ภาพ โดยมีเป้าหมายท่ี คูณภาพนักเรยี น คณุ ภาพครู คุณภาพผู้บรหิ าร และคุณภาพโรงเรียน 1.3 การดาเนนิ งานโครงการพัฒนาวชิ าการทเี่ น้นคณุ ภาพผู้เรียนอย่างรอบดา้ นตามหลักสตู ร สถานศึกษา เพอ่ื พฒั นาหลกั สูตรการจดั การเรียนการสอน กิจกรรมเสรมิ หลักสูตรท่เี นน้ ผู้เรียนอย่างรอบด้าน เชื่อมโยงวิถชี ีวิตจรงิ ครอบคลุมทุกกลมุ่ เป้าหมาย 1.4 การดาเนินงานโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในโรงเรียน เพื่อส่งเสริม สนบั สนุน พัฒนาครู บคุ ลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญในวชิ าชพี และจัดให้มีชมุ ชนการเรียนร้ทู างวชิ าชพี มาใชใ้ นการพัฒนา งานและการเรยี นรูข้ องผเู้ รียน 1.5 การดาเนินงานโครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคณุ ภาพ เพ่ือ พฒั นาสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้อื ต่อการจดั การเรียนรู้อยา่ งมีคุณภาพ และมีความปลอดภยั 1.6 การดาเนนิ งานโครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและ การเรยี นรู้ เพ่ือพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบริหารจัดการและการเรียนร้ทู ี่เหมาะสมกับ สภาพของสถานศึกษา 1.7 การดาเนนิ การนิเทศ กากับ ติดตาม การดาเนนิ งาน โดยใช้ รปู แบบการนิเทศภายในโรงเรียนบ้าน แก้ง PSE Model เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นบ้านแก้ง 2. ผลการดาเนินงาน ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการ จัดการ/ ประเด็นพจิ ารณา ดี ดีเลศิ สงู กว่าค่าเปา้ หมาย 1. การมีเปา้ หมาย วิสยั ทศั น์ และพันธกจิ ที่ ดี ดีเลศิ สูงกว่าค่าเปา้ หมาย สถานศึกษากาหนดชัดเจน ดี ดีเลิศ สงู กวา่ คา่ เปา้ หมาย 2.มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา 3. ดาเนนิ งานพฒั นาวิชาการที่เน้นคณุ ภาพผู้เรยี น รอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และ กล่มุ เปา้ หมาย

4. พัฒนาครู และบุคลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญทาง ดี 23 วชิ าชีพ ดี ดี ดเี ลศิ สูงกวา่ คา่ เปา้ หมาย 5. จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสังคมท่ีเอ้อื ดี ดีเลศิ สงู กวา่ คา่ เปา้ หมาย ต่อการจดั การเรยี นร้อู ย่างมีคุณภาพ ดีเลิศ สงู กว่าค่าเปา้ หมาย ดีเลศิ สูงกวา่ ค่าเปา้ หมาย 6. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการ บริหารจัดการ และการจดั การเรียนรู้ สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 2 จากผลการดาเนนิ งานในมาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ อธิบายเพิม่ เตมิ ได้ดงั น้ี 1. สถานศกึ ษากาหนดเปา้ หมาย วิสยั ทศั น์ และพันธกิจไว้อย่างชดั เจน สอดคล้องกบั บรบิ ทของ สถานศกึ ษา ความต้องการของชุมชน ท้องถ่นิ วัตถปุ ระสงค์ของแผนการศึกษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและตน้ สงั กดั รวมทง้ั การเปลย่ี นแปลงของสงั คม 2. สถานศึกษาสามารถบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบ ทั้งในสว่ นการวางแผน พฒั นาคุณภาพการศกึ ษามีการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่างตอ่ เนื่อง มีการ บริหารอตั รากาลัง ทรัพยากรทางการศกึ ษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น มรี ะบบการนเิ ทศภายใน การนา ข้อมูลมาใชพ้ ฒั นาบุคลากรและผูท้ เ่ี ก่ียวข้องทุกฝ่ายมีสว่ นร่วมในการวางแผน ปรบั ปรงุ และพฒั นา และร่วม รบั ผิดชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา 3. สถานศกึ ษาบริหารจดั การเกยี่ วกบั งานวชิ าการทั้งด้านการพัฒนาหลกั สูตร กจิ กรรมเสริมหลกั สตู รท่ี เนน้ คณุ ภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน ท่เี ชอ่ื มโยงกับวิถีชีวติ จรงิ และครอบคลมุ ผูเ้ รยี นทุกคนทุกกลมุ่ ทั้งเด็กปกติและ เด็กพเิ ศษ 4. สถานศกึ ษาส่งเสริม สนบั สนนุ พฒั นาครู บคุ ลากรให้มคี วามเชีย่ วชาญในวิชาชีพ และจดั ให้มชี มุ ชน การเรียนรทู้ างวชิ าชีพมาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยครูทุกคนผ่านการอบรมและมีชว่ั โมง การอบรมผ่านตามเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. กาหนด 5. สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทเ่ี อื้อต่อการจัดการเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ เพื่อพฒั นาสภาพแวดล้อม ทเ่ี อ้ือตอ่ การจดั การเรียนร้อู ย่างมคี ณุ ภาพ และมคี วามปลอดภัย 6. สถานศกึ ษาจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการเรียนรู้ เพ่ือ พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการเรยี นรู้ทเี่ หมาะสมกับสภาพของ สถานศกึ ษา 3. จุดเดน่ 3.1 สถานศกึ ษามเี ปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์และพันธกิจทีส่ ถานศึกษากาหนดทช่ี ดั เจน สอดคล้องกับบริบท ของสถานศกึ ษา ความต้องการของชมุ ชน นโยบายของรัฐบาล แผนการศึกษาชาติ และเป็นไปได้ในการปฏิบัติ 3.2 สถานศกึ ษามีระบบการจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษาท่ีชัดเจน มปี ระสทิ ธิภาพ สง่ ผลต่อคุณภาพ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยความร่วมมือของผเู้ กย่ี วข้องทุกฝ่าย และมีการนาขอ้ มูลมาพัฒนา งานอยเู่ สมอ 3.3 สถานศึกษาดาเนนิ การพัฒนาวชิ าการทีเ่ น้นคุณภาพผเู้ รียนรอบดา้ น เช่อื มโยงกับชวี ติ จรงิ ตาม หลกั สตู รสถานศึกษา ครอบคลมุ ผู้เรยี นทกุ กล่มุ

24 3.4 สถานศกึ ษาพฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพตรงกบั ความต้องการของครูและ สถานศกึ ษา และจัดใหม้ ชี ุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี มาใช้ในการพฒั นางานและการเรียนรขู้ องผ้เู รียน โดยครู ทุกคนผ่านการอบรมและมีชว่ั โมงการอบรมผ่านตามเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. กาหนด 3.5 สถานศกึ ษาจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคณุ ภาพ และมคี วามปลอดภัย 3.6 สถานศึกษาจัดระบบสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบริหารจัดการและการจดั การเรยี นรูท้ ี่เหมาะสม กับสภาพของสถานศึกษา 3.7 สถานศึกษาสง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รียนไดม้ ีโอกาสเลน่ ดนตรพี ้นื เมือง ซ่ึงเปน็ การส่งเสรมิ การอนุรกั ษ์ภมู ิ ปญั ญาท้องถนิ่ และพัฒนาผู้เรยี นดา้ นเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การเลน่ ดนตรีและศลิ ปวัฒนธรรมพื้นบ้านอสี าน 4. จดุ ควรพฒั นา 4.1 ควรพัฒนาระบบการจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษาทีช่ ัดเจน มปี ระสิทธิภาพ สง่ ผลต่อคณุ ภาพ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยความร่วมมือของผู้เก่ียวข้องทุกฝา่ ย และใหม้ ีการนาข้อมูลมาใช้ใน การปรับปรุง พัฒนางานอยา่ งตอ่ เนือ่ ง และสามารถพฒั นาใหเ้ ปน็ แบบอยา่ งทดี่ ีได้ 4.2 ควรพฒั นางานวิชาการให้มคี วามโดดเดน่ เพิม่ มากข้ึน จนสามารถเป็นแบบบอย่างท่ดี ีได้ 4.3 ควรพฒั นาสภาพแวดลอ้ มทงั้ ทางกายภาพและทางสงั คมให้หลากหลาย เพียงพอ เหมาะสม และ เปน็ ปจั จุบนั อย่างต่อเนอ่ื งเพ่ิมขนึ้ 5. แผนพัฒนาเพื่อใหไ้ ดม้ าตรฐานทสี่ ูงขึ้น แผนปฏบิ ตั งิ านที่ 1 โครงการพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผูเ้ รียน แผนปฏิบตั ิงานที่ 2 โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผู้เรยี น แผนปฏบิ ตั งิ านท่ี 3 โครงการพัฒนาครแู ละบคุ ลากร แผนปฏิบัตงิ านที่ 4 โครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรูอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ แผนปฏิบัติงานที่ 4 โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบรหิ ารจัดการและ การเรียนรู้ แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 5 โครงการสง่ เสริมและพัฒนากระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 6 โครงการพัฒนาวิชาการทเ่ี นน้ คุณภาพผู้เรยี นอยา่ งรอบดา้ นตามหลกั สตู ร สถานศึกษา แผนปฏิบตั งิ านท่ี 7 โครงการขบั เคลื่อนคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการ PLC แผนปฏิบตั งิ านท่ี 8 โครงการพฒั นาแหลง่ เรียนรูท้ ัง้ ในและนอกสถานศกึ ษา

25 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั ระดับคุณภาพ : ดีเลศิ 1. กระบวนการพัฒนา 1.1 การดาเนนิ โครงการส่งเสริมและพัฒนากระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ เพ่อื ส่งเสรมิ ใหค้ รจู ัดการเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริง และสามารถนาไปประยกุ ต์ ใชใ้ นชวี ิตได้ สง่ เสรมิ ใหค้ รใู ช้สอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ทเ่ี อ้ือต่อการเรยี นรู้ สง่ เสรมิ ให้ครใู ช้การบรหิ าร จดั การชั้นเรยี นเชงิ บวก มกี ารตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น มกี าร แลกเปลยี่ นเรยี บรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้ 2. ผลการดาเนินงาน มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนรู้ทเี่ นน้ ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมิน สรุปผลการประเมิน ดีเลิศ สูงกวา่ คา่ เปา้ หมาย ผู้เรียนเป็นสาคญั / ประเด็นพจิ ารณา ดีเลศิ สงู กว่าคา่ เปา้ หมาย ดีเลศิ สูงกว่าคา่ เปา้ หมาย 1. ครจู ัดการเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิ ดี ดเี ลิศ สูงกวา่ คา่ เป้าหมาย ดีเลศิ สงู กว่าค่าเป้าหมาย จริง และสามารถนาไปประยุคใชใ้ นชวี ิตได้ ดีเลิศ สงู กวา่ คา่ เปา้ หมาย 2. ครูใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ ดี ท่เี อ้ือตอ่ การเรียนรู้ 3. ครมู ีการบรหิ ารจดั การชั้นเรยี นเชงิ บวก ดี 4. ครูตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบ ดี และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน 5. ครมู ีการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และให้ข้อมูลสะทอ้ น ดี กลบั เพ่ือพฒั นา และปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้ สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 3 ดี จากผลการดาเนนิ งานในมาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ อธบิ าย เพม่ิ เติมได้ดังน้ี 1. ครูจดั กิจกรรมการเรยี นรูต้ ามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชีว้ ดั ของหลักสตู รสถานศึกษาท่ีเนน้ ผู้เรียนได้ เรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ รงิ มแี ผนการจดั การเรียนรู้ทีส่ ามารถนาไปจัดกจิ กรรมไดจ้ รงิ มีรูปแบบ การจัดการเรียนรูเ้ ฉพาะสาหรับเด็กพเิ ศษ ผูเ้ รียนได้ฝกึ ทักษะแสดงออก แสดงความคิดเห็น สรปุ องคค์ วามรู้ นาเสนอผลงาน และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ ได้ 2. ครูมกี ารใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรียนรู้ รวมทัง้ ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ มาใช้ในการจัดการ เรียนรู้ โดยสร้างโอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดแ้ สวงหาความรู้ดว้ ยตนเองจากส่ือที่หลากหลาย 3. ครผู สู้ อนมีการบรหิ ารจัดการช้นั เรียน โดยเน้นการปฏิสมั พันธเ์ ชงิ บวก ใหเ้ ด็กรักครู ครูรักเดก็ และ เด็กรักเด็ก เด็กรักที่จะเรียนรู้ สามารถเรยี นรู้รว่ มกนั ได้อย่างมีความสขุ 4. ครมู ีการตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพการจดั การเรยี นรอู้ ย่างเป็นระบบ มีข้ันตอนโดยใชเ้ ครอ่ื งมือ และวิธกี ารวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกบั เปา้ หมายในการจดั การเรยี นรู้ และให้ข้อมูลยอ้ นกลับแกผ่ ูเ้ รียนเพื่อ นาไปพัฒนาการเรยี นรู้ 5. ครูและผู้มสี ่วนเกย่ี วข้องร่วมกันแลกเปลี่ยนความร้แู ละประสบการณ์ รวมทั้งให้ข้อมลู ป้อนกลบั เพอ่ื นาไปใชป้ รบั ปรุงและพฒั นาการจดั การเรยี นรู้

26 3. จุดเดน่ 3.1 ผลจากการทีค่ รูผู้สอนใช้การบริหารจดั การช้นั เรยี นเชงิ บวก ทาให้เด็กรักท่จี ะเรียนรู้ สามารถ เรียนรู้ร่วมกันได้อยา่ งมีความสุข และเด็กมพี ฤตกิ รรมรกั ครู รักเพือ่ น รักโรงเรียน 3.2 มีชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี ครเู พ่ือพฒั นาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้ 4. จุดควรพฒั นา 4.1 ควรพัฒนาจดั กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้ีวดั ของหลกั สตู รสถานศกึ ษาทเ่ี น้น ผู้เรยี นได้เรียนรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบัติจรงิ ให้เป็นรูปแบบท่สี ามารถเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ี หรอื เป็น นวัตกรรมของครูหรือของโรงเรียนให้ได้ 4.2 ชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพครู ควรมกี ารเชิญผูเ้ ก่ียวข้องอ่นื ๆ เช่น ศึกษานิเทศก์ หรือ ผู้เชีย่ วชาญในดา้ นน้นั ๆ นอกโรงเรยี น มาเปน็ ส่วนหนึง่ ในชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวิชาชพี เพื่อการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ และให้ข้อมลู สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรูท้ ่มี ีความหลากหลายมากย่งิ ข้นึ 4.3 การนาเทคโนโลยี สอ่ื มัลตมิ เี ดยี การสอนแบบออนไลน์ การสร้างบทเรียนออนไลน์มาใช้ในการ พฒั นากระบวนการจดั การเรยี นการสอนให้มากขึน้ 5. แผนพฒั นาเพ่อื ใหไ้ ด้มาตรฐานทส่ี งู ขึ้น แผนปฏบิ ตั งิ านท่ี 1 โครงการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผ้เู รียน แผนปฏิบัติงานที่ 2 โครงการสง่ เสริมและพฒั นาคุณลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องผู้เรียน แผนปฏิบตั ิงานที่ 3 โครงการพฒั นาครแู ละบุคลากร แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 4 โครงการพฒั นาสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้อื ต่อการจัดการเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ แผนปฏิบัติงานท่ี 4 โครงการพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและ การเรียนรู้ แผนปฏิบตั ิงานท่ี 5 โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นากระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั แผนปฏิบัติงานท่ี 6 โครงการพฒั นาวิชาการทเ่ี นน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นอย่างรอบด้านตามหลกั สตู ร สถานศึกษา แผนปฏิบัติงานท่ี 7 โครงการขบั เคลอื่ นคณุ ภาพการศึกษาด้วยกระบวนการ PLC แผนปฏิบัติงานท่ี 8 โครงการพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ทงั้ ในและนอกสถานศึกษา

27 สว่ นที่ 3 สรปุ ผล และแนวทางการพัฒนา ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเปน็ ข้อมูลสารสนเทศสาคญั ทส่ี ถานศึกษาจะต้องนาไป วเิ คราะห์ สังเคราะห์ เพอื่ สรุปนาไปสู่การเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสาเร็จกบั แผนพฒั นาการจัด การศกึ ษาของสถานศกึ ษา(3-5 ปี) และนาไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ดังนั้น จากผลการดาเนนิ งานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของจุดเด่น จดุ ควร พฒั นาของแตล่ ะมาตรฐาน พรอ้ มทงั้ แนวทางการพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานท่ีสูงข้นึ ดงั น้ี ระดับปฐมวยั สรุปผล จดุ เด่น จดุ ควรพัฒนา คณุ ภาพของเดก็ คณุ ภาพของเด็ก 1) เดก็ มีพัฒนาการด้านรา่ งกายสมวยั มีน้าหนัก สว่ นสงู ตาม 1) สือ่ ทส่ี ่งเสรมิ พฒั นาการด้านรา่ งกาย ได้แก่ เกณฑส์ มวยั ร่างกายแข็งแรง เคลื่อนไหว ได้อยา่ ง สนามเดก็ เล่น อุปกรณ์ เครื่องเลน่ สนามชารุด คล่องแคล่ว กล้ามเนอ้ื ใหญ่และกล้ามเน้ือเล็ก ประสาท ทรุดโทรม บางอย่าง แตกหัก มสี ภาพทไี่ ม่ สมั พันธ์กนั ดี ปลอดภัย ควรได้รับการปรบั ปรงุ และจดั หามา 2) เดก็ มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ –จติ ใจ สมวัย สามารถ เพิม่ เติม แสดงออกทางอารมณ์ ได้อยา่ งเหมาะสมกับกาละเทศ มี 2) ควรเพิ่มการมสี ่วนร่วมของพ่อแม่ ความรสู้ กึ ที่ดตี ่อตนเองและผู้อื่น ครอบครัว ชมุ ชน และทุกฝ่ายท่ีเกย่ี วข้องใน 3) เด็กมีพฒั นาการด้านสังคมสมวัย มีทกั ษะชวี ติ และปฏิบัติ การสง่ เสริมพฒั นาการเด็ก ตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง มวี ินยั ในตนเอง รกั ธรรมชาติ 3) ควรเพิ่มความต่อเน่ืองของการจดั สงิ่ แวดลอ้ มและอนรุ ักษ์สิ่งทเี่ ปน็ สาธารณะสมบัติส่วนรวม มี ประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลกั สูตร มารยาทตามวัฒนธรรมไทย ยิ้มงา่ ย ไหวส้ วย รจู้ กั ทกั ทายผมู้ า สถานศกึ ษา และการดาเนนิ งานตามแผนงาน/ เยอื น โครงการ/กิจกรรมเสรมิ ในการพฒั นาผเู้ รียน 4) เดก็ มีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย มีความกล้า แสดงออก ทั้งทางดา้ นการใช้ทา่ ทาง คาพูด การปฏบิ ัติ สมั พันธ์ การใช้สื่อเทคโนโลยใี นการแสวงหาความร้ดู ว้ ย ตนเอง 5) มีการจดั ประสบการณ์การเรยี นรตู้ ามหลกั สูตรสถานศึกษา และมแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเสรมิ ในการพฒั นาผูเ้ รยี น อยา่ งเปน็ ระบบ กระบวนการบริหารและการจดั การ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 1) โรงเรยี นมหี ลกั สตู รครอบคลมุ พัฒนาการทง้ั 4 ดา้ น 1) ควรตรวจสอบ พัฒนา และปรับปรุงสือ่ ตาม สอดคล้องกบั บรบิ ททอ้ งถนิ่ และมกี ารประเมินการใช้ มุมประสบการณแ์ ละสอ่ื ในกจิ กรรมกลางแจง้ ท่ี หลักสูตรทุกปีการศกึ ษา ชารุด และซอ่ มแซมใหใ้ ช้ในการงานไดแ้ ละมี 2) ครูมีวฒุ กิ ารศกึ ษา จบการศกึ ษาปริญญาตรี สาขาปฐมวัย ความปลอดภยั กับนักเรียน ท้ัง 2 คน และมีครูครบช้ันเรียน

28 จุดเด่น จดุ ควรพฒั นา 3) ครูได้พัฒนาตนเองคือเข้ารับการอบรมพัฒนาคูปองครู 2) ควรพฒั นาระบบการบริหารจดั การคณุ ภาพ เพือ่ ให้ครูได้พฒั นาศกั ยภาพท่ีจะนามาจดั ของสถานศกึ ษาใหส้ ่งผลต่อคุณภาพการจัด ประสบการณส์ าหรบั เด็กและเพื่อเพิม่ สมรรถนะในการ การศึกษามากยง่ิ ขนึ้ จนกลายเปน็ แบบอยา่ งที่ ประกอบวิชาชีพระดบั สูงต่อไป ดี หรอื นวัตกรรมการบรหิ ารของสถานศกึ ษาได้ 4) มีการจัดมมุ ประสบการณ์อย่างน้อย 4 มุม ใช้ส่ือและ เทคโนโลยี และเครือขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตในการ ทากจิ กรรม สภาพแวดลอ้ มมีความปลอดภัย 5) โรงเรียนเขา้ โครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์น้อยแห่ง ประเทศไทยตั้งแตป่ ี 2550 ถงึ ปัจจุบนั ได้รบั ตรา พระราชทานคงสภาพเป็นครงั้ ท่ี 2 ไดพ้ ฒั นาการจัดการ เรยี นรู้เปน็ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญ เน้นการปฏิบตั ิสเู่ ด็กนักเรยี น 6) โรงเรยี นประชมุ ผู้ปกครอง อย่างน้อย ปลี ะ 2 ครั้ง และใช้ ไลน์ กรปุ้ ผู้ปกครองแต่ละช้นั เพื่อติดต่อสอ่ื สารกับผปู้ กครอง มีระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษาท่เี ปิดโอกาสให้ ผเู้ กีย่ วข้องมสี ่วนร่วม การปฏบิ ัตงิ านท่ีส่งผลตอ่ คุณภาพ มาตรฐานของสถานศึกษา การจัดประสบการณท์ ่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ การจดั ประสบการณท์ เ่ี นน้ เดก็ เปน็ สาคญั 1) ครรู ู้จกั เด็กเป็นรายบุคคลและจัดกจิ กรรมทสี่ าสามารถส่ง 1) ควรเพิม่ และพัฒนาส่ือท่เี น้นกระบวนการ เรมิ พัฒนาการได้ครอบคลมุ ทั้ง 4 ด้านอยา่ งเปน็ องค์รวม และ คิด ท่ีมีจานวนยังไม่เพยี งพอและสอดคล้องกับ คานงึ ถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคลด้วย การพัฒนาเด็กมากเท่าท่คี วร 2) ครมู ีการจัดประสบการณท์ ี่เชือ่ มโยงกบั ประสบการณ์เดมิ 2) ครคู วรพฒั นารูปแบบการจัดประสบการณ์ ให้เดก็ มโี อกาสเลอื กทากิจกรรมอิสระตามความตอ้ งการ เด็ก ทส่ี ง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กทง้ั 4 ดา้ น ใหโ้ ดดเด่น ได้เรียนรอู้ ยา่ งมคี วามสุขผ่านการเล่นจากกิจกรรมท่ีครู และมีคุณภาพ สามารถเป็นนวตั กรรมหรือเป็น ออกแบบ อย่างทดี่ ีของครูและของโรงเรียน 3) จดั แหล่งเรียนรูท้ ่ีหลากหลาย เด็กไดเ้ ลือกเล่น เรยี นรู้ ลง มือและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง 4) ครจู ดั หอ้ งสะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มพี ้ืนที่ แสดงผลงานเดก็ พนื้ ทสี่ าหรบั มุมประสบการณ์และครใู ชส้ อื่ หอ้ งเรียนมปี า้ ยนิเทศ มสี ่ือและเทคโนโลยี มคี อมพิวเตอร์ ทีวี สอื่ ของเลน่ ท่ีกระตุ้นให้คดิ และหาคาตอบ 5) ครปู ระเมินพัฒนาการเด็กจากกจิ กรรมและกิจวตั ร ประจาวนั ดว้ ยเครอ่ื งมือและวิธกี ารท่หี ลากหลาย ไม่ใช้ แบบทดสอบ เน้นการประเมินจากสภาพจรงิ จากกจิ กรรมท่ี เด็กปฏบิ ัตใิ นกิจกรรมประจาวนั วิเคราะห์ผล การประเมนิ พัฒนาการเด็ก โดยผู้ปกครองและผูเ้ กย่ี วข้องมสี ่วนร่วม และ นาผลการประเมินไปพฒั นาเด็กและแลกเปลย่ี นเรียนรู้

29 จุดเด่น จดุ ควรพฒั นา 6) ครู จานวนร้อยละ 100 เขา้ รบั การพัฒนาตนเองและมี ชั่วโมงการพัฒนาตนเอง ผา่ นเกณฑ์ท่ี กคศ. กาหนด และใช้ กระบวนการ PLC มาดาเนินการพฒั นาขับเคล่ือนการแกไ้ ข ปญั หาที่เกิดจากกิจกรรมการเรียนการสอนไดอ้ ย่างตอ่ เน่ือง แผนพัฒนาเพอ่ื ให้ได้มาตรฐานท่ีสงู ขึ้น แผนปฏบิ ัติงานที่ 1 โครงการสง่ เสรมิ พฒั นาการทัง้ 4 ดา้ นของเด็กปฐมวัย แผนปฏิบัติงานที่ 2 โครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย แผนปฏิบัติงานที่ 3 โครงการส่งเสรมิ การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ แผนปฏบิ ัตงิ านที่ 4 โครงการพัฒนาวิชาการทเ่ี น้นคุณภาพผเู้ รยี นอยา่ งรอบดา้ นตามหลักสูตร สถานศึกษา แผนปฏบิ ัติงานที่ 5 โครงการพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ท้งั ในและนอกสถานศกึ ษา แผนปฏิบัติงานที่ 6 โครงการพฒั นาสภาพแวดลอ้ มท่เี อ้อื ต่อการจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งมคี ุณภาพ แผนปฏิบัตงิ านที่ 7 โครงการขับเคล่ือนคุณภาพการศกึ ษาด้วยกระบวนการ PLC

30 ระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน สรปุ ผล จุดเด่น จดุ ควรพัฒนา คุณภาพของเด็ก คุณภาพของเด็ก 1) ผเู้ รยี นมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอ่ื สาร 1) ควรส่งเสริมให้ผู้เรยี นมีความรคู้ วามสามารถ และการคิดคานวณ สูงกว่าเป้าหมายทสี่ ถานศกึ ษากาหนด ในการสรา้ งนวตั กรรม โดยให้มีการนาไปใช้และ 2) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา เผยแพร่ดว้ ย สงู กว่าเป้าหมายท่สี ถานศึกษากาหนด มผี ลสอบ O-net สงู 2) ควรพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนและผล กว่าปกี ารศึกษาทผี่ ่านมา และรายวชิ าคณติ ศาสตร์ วชิ า การทดสอบระดับชาติให้มีค่าเฉลยี่ สูงขน้ึ หรือสูง วิทยาศาสตร์ ของชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 มคี ะแนนเฉลีย่ สงู กวา่ ระดบั ประเทศทกุ กล่มุ สาระ กว่าระดบั ประเทศ และในระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 รายวิชาภาษาไทย มีคะแนนสูงกว่าระดับประเทศ นอกจากนี้ ผลการทดสอบข้นั พน้ื ฐาน (NT) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 และ การทดสอบ 3) ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมี วจิ ารณญาณอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยใชเ้ หตผุ ล ประกอบการาตดั สินใจ และแกป้ ัญหาได้ 4) ผเู้ รียนมีความสนใจในการสร้างนวตั กรรมจากการท่ีได้ เรยี นร้ใู นช้นั เรยี น 5) ผู้เรยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สารเพื่อพฒั นาตนเอง และสังคมในดา้ นการเรยี นรู้ การสอ่ื สารและการทางาน 6) ผู้เรยี นมีความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน และเจตคติท่ีดีพร้อมท่จี ะ ศกึ ษาต่อในระดับท่ีสงู ข้นึ และการทางานหรอื อาชีพสจุ รติ 7) ผเู้ รียนมีคณุ ลักษณะและค่านยิ มท่ีดสี ูงกว่าเป้าหมายท่ี สถานศึกษากาหนด กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ กระบวนการบริหารและการจัดการ 1) สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพนั ธกจิ ที่ 1) ควรพฒั นาระบบการจัดการคณุ ภาพของ สถานศึกษากาหนดท่ีชดั เจน สอดคลอ้ งกบั บริบทของ สถานศกึ ษาที่ชัดเจน มีประสทิ ธิภาพ สง่ ผลตอ่ สถานศกึ ษา ความต้องการของชมุ ชน นโยบายของรัฐบาล คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ แผนการศกึ ษาชาติ และเป็นไปไดใ้ นการปฏบิ ัติ สถานศกึ ษา โดยความรว่ มมือของผ้เู กีย่ วขอ้ งทุก 2) สถานศึกษามีระบบการจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาที่ ฝา่ ย และให้มีการนาข้อมลู มาใชใ้ นการปรับปรุง ชดั เจน มปี ระสทิ ธภิ าพ สง่ ผลต่อคุณภาพตามมาตรฐาน พัฒนางานอย่างต่อเนอ่ื ง และสามารถพัฒนาให้ การศึกษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมอื ของผ้เู กยี่ วข้อง เป็นแบบอยา่ งท่ดี ีได้ ทุกฝ่าย และมีการนาขอ้ มูลมาพฒั นางานอยูเ่ สมอ 2) ควรพฒั นางานวชิ าการให้มีความโดดเด่นเพมิ่ 3) สถานศึกษาดาเนินการพฒั นาวชิ าการท่ีเน้นคุณภาพ มากขน้ึ จนสามารถเปน็ แบบบอย่างทีด่ ีได้ ผูเ้ รียนรอบด้าน เชือ่ มโยงกับชวี ิตจรงิ ตามหลักสูตร สถานศกึ ษา ครอบคลุมผู้เรียนทุกกลมุ่

31 จดุ เด่น จุดควรพฒั นา 4) สถานศึกษาพฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีความเชีย่ วชาญ 3) ควรพัฒนาสภาพแวดลอ้ มทั้งทางกายภาพ ทางวิชาชพี ตรงกับความต้องการของครแู ละสถานศึกษา และทางสังคมให้หลากหลาย เพยี งพอ และจัดใหม้ ีชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี มาใชใ้ นการพัฒนา เหมาะสม และเปน็ ปจั จุบัน อย่างต่อเนื่อง งานและการเรยี นรู้ของผู้เรียน โดยครทู ุกคนผ่านการอบรม เพม่ิ ข้นึ และมชี ัว่ โมงการอบรมผา่ นตามเกณฑท์ ่ี ก.ค.ศ. กาหนด 5) สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ี การจัดประสบการณท์ ่ีเน้นเดก็ เป็นสาคญั เอ้ือต่อการจัดการเรยี นรู้อยา่ งมคี ุณภาพและมคี วาม 1) ควรพัฒนาจดั กิจกรรมการเรียนรูต้ าม ปลอดภัย มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชวี้ ัดของหลักสูตร 6) สถานศึกษาจัดระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบรหิ าร สถานศึกษาทเี่ นน้ ผู้เรียนได้เรียนรผู้ า่ น จดั การและการจัดการเรยี นรทู้ ่เี หมาะสมกบั สภาพของ กระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ รงิ ให้เป็นรูปแบบที่ สถานศกึ ษา สามารถเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี หรือเปน็ นวตั กรรม 7) สถานศึกษาสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นได้มโี อกาสเล่นดนตรี ของครหู รือของโรงเรียนให้ได้ พ้นื เมือง ซงึ่ เปน็ การส่งเสรมิ การอนุรกั ษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น 2) ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี ครู ควรมี และพฒั นาผู้เรยี นด้านเจตคติท่ีดตี อ่ การเลน่ ดนตรแี ละ การเชญิ ผูเ้ กย่ี วขอ้ งอ่ืนๆ เช่น ศกึ ษานเิ ทศก์ หรือ ศลิ ปวัฒนธรรมพืน้ บ้านอีสาน ผเู้ ช่ียวชาญในดา้ นนน้ั ๆ นอกโรงเรยี น มาเปน็ การจัดประสบการณท์ ีเ่ นน้ เด็กเปน็ สาคญั สว่ นหน่งึ ในชุมชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี เพ่อื การ 1) ผลจากการทีค่ รูผสู้ อนใชก้ ารบริหารจัดการช้ันเรียนเชิง แลกเปล่ียนเรียนร้แู ละให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพ่ือ บวก ทาใหเ้ ดก็ รักทีจ่ ะเรยี นรู้ สามารถเรียนรู้รว่ มกันไดอ้ ย่าง พัฒนาและปรบั ปรงุ การจดั การเรียนร้ทู ม่ี คี วาม มคี วามสุข และเดก็ มพี ฤติกรรมรักครู รักเพ่ือน รักโรงเรียน หลากหลายมากยง่ิ ขน้ึ 2) มชี ุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพครเู พ่อื พัฒนาและ 3) การนาเทคโนโลยี ส่อื มลั ติมีเดีย การสอน ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ แบบออนไลน์ การสรา้ งบทเรียนออนไลน์มาใช้ ในการพัฒนากระบวนการจดั การเรยี นการสอน ให้มากขึน้

32 แผนพฒั นาเพื่อใหไ้ ดม้ าตรฐานที่สงู ขึ้น แผนปฏบิ ัติงานที่ 1 โครงการพัฒนาผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผ้เู รยี น แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 2 โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรยี น แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 3 โครงการพฒั นาครแู ละบคุ ลากร แผนปฏิบตั ิงานท่ี 4 โครงการพฒั นาสภาพแวดลอ้ มท่เี อือ้ ต่อการจดั การเรยี นรู้อยา่ งมคี ุณภาพ แผนปฏบิ ัตงิ านที่ 4 โครงการพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบริหารจัดการและ การเรยี นรู้ แผนปฏิบตั ิงานที่ 5 โครงการส่งเสริมและพัฒนากระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็น สาคญั แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 6 โครงการพฒั นาวิชาการที่เน้นคุณภาพผูเ้ รียนอย่างรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษา แผนปฏบิ ตั งิ านที่ 7 โครงการขบั เคลอ่ื นคณุ ภาพการศกึ ษาด้วยกระบวนการ PLC แผนปฏบิ ัตงิ านที่ 8 โครงการพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ทงั้ ในและนอกสถานศึกษา

33 ส่วนที่ 4 ภาคผนวก คาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการประเมนิ ผลคุณภาพคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2562 คาสั่งแต่งตงั้ คณะกรรมการติดตามตรวจสอบและประเมินผลคุณภาพการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2562 รางวัลความสาเรจ็ สถานศึกษา/ผู้บรหิ าร/ครู/นักเรียน เอกสารหลักฐานขอ้ มูลสาคัญ หรือเอกสารอ้างองิ ตา่ งๆ

34 ประกาศโรงเรยี นบา้ นแก้ง เร่ือง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษาเพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ------------------------------- โดยที่มีการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. ๒๕61 ที่ปรับปรุงใหม่ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาข้ัน พื้นฐาน เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประกาศคณะกรรมการการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เร่ืองกาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ี 21 ที่กาหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์อย่าง ชัดเจนในการพฒั นาคณุ ภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต รวมทั้งอตั ลกั ษณ์และจดุ เนน้ ของสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านแก้ง ได้กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา และการมีส่วนร่วมของผู้เก่ียวข้อง ทั้งบุคลากรทุกคน ใน โรงเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชน ให้เหมาะสมและสอดคล้องกันเพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานการศกึ ษา การประเมินคุณภาพภายในและเพอ่ื รองรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอก โรงเรียนบ้านแก้ง จึงประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษา ข้ันพนื้ ฐาน เพื่อสอดคล้องกบั ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ฉบับลงวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ดังมีรายละเอียดแนบท้ายประกาศฉบับน้ี ท้ังนี้ ได้ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้น พ้ืนฐานของโรงเรยี นแลว้ ทง้ั นี้ ใหม้ ผี ลตง้ั แต่ วนั ที่ 20 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ประกาศ ณ วันท่ี 20 เดือน กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2562 (นายวสุกฤต สวุ รรณเทน) ผ้อู านวยการโรงเรยี นบ้านแก้ง

35 แนบท้ายประกาศโรงเรยี นบ้านแกง้ ประกาศ ณ วนั ท่ี 20 เดอื น กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ………………………………………………………. มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖2 มีจานวน ๓ มาตรฐาน ไดแ้ ก่ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผ้เู รยี น ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผ้เู รียน ๑.๒ คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั แต่ละมาตรฐานมรี ายละเอียด ดังน้ี มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ๑.๑ ผลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการของผเู้ รยี น ๑) มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณ ๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกป้ ัญหา ๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม ๔) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร ๕) มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศกึ ษา 6) มคี วามรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคติทีด่ ีต่องานอาชีพ ๑.๒ คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผู้เรยี น ๑) การมคี ณุ ลกั ษณะและค่านยิ มทดี่ ีตามท่สี ถานศึกษากาหนด ๒) ความภมู ใิ จในทอ้ งถ่ินและความเปน็ ไทย ๓) การยอมรบั ท่จี ะอย่รู ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ๒.๑ มเี ปา้ หมายวิสยั ทศั น์และพนั ธกิจท่สี ถานศึกษากาหนดชัดเจน ๒.๒ มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ๒.๓ ดาเนนิ งานพัฒนาวชิ าการท่ีเน้นคุณภาพผ้เู รียนรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษาและทกุ กลุ่มเป้าหมาย ๒.๔ พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ ๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือต่อการจดั การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ๓.๑ จัดการเรียนรูผ้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจรงิ และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ได้ ๓.๒ ใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ท่เี อ้ือต่อการเรยี นรู้ ๓.๓ มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก ๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผู้เรียน ๓.๕ มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรูแ้ ละให้ข้อมลู สะทอ้ นกลบั เพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้

36 มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖2 มจี านวน ๓ มาตรฐาน ไดแ้ ก่ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณ์ทเ่ี น้นเด็กเปน็ สาคัญ แตล่ ะมาตรฐานมีรายละเอียด ดงั นี้ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเดก็ ๑.๑ มพี ัฒนาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนสิ ยั ท่ีดี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้ ๑.๒ มพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ๑.๓ มพี ัฒนาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกทด่ี ขี องสงั คม ๑.๔ มพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา ส่อื สารได้ มีทักษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ได้ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ๒.๑ มีหลักสูตรครอบคลมุ พัฒนาการท้งั ๔ ดา้ น สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน ๒.๒ จดั ครใู หเ้ พียงพอกับชัน้ เรียน ๒.๓ สง่ เสริมใหค้ รูมคี วามเชยี่ วชาญด้านการจัดประสบการณ์ ๒.๔ จดั สภาพแวดล้อมและสอื่ เพื่อการเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภัย และเพียงพอ ๒.๕ ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรยี นรเู้ พ่อื สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์ ๒.๖ มีระบบบริหารคุณภาพทเี่ ปิดโอกาสให้ผเู้ กยี่ วข้องทุกฝ่ายมสี ่วนร่วม มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณ์ท่ีเน้นเดก็ เป็นสาคัญ ๓.๑. จดั ประสบการณท์ ี่ส่งเสรมิ ให้เดก็ มีพฒั นาการทุกดา้ นอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ ๓.๒ สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ได้รบั ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบตั ิอยา่ งมีความสุข ๓.๓ จดั บรรยากาศทีเ่ อ้อื ต่อการเรียนรูใ้ ช้สอื่ และเทคโนโลยที ่เี หมาะสมกับวัย ๓.๔ ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการประเมินพฒั นาการเดก็ ไปปรับปรุงการจดั ประสบการณ์และพฒั นาเด็ก

37 ประกาศโรงเรียนบ้านแกง้ เร่อื ง กาหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน เพ่ือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ----------------------------------- โดยทมี่ ปี ระกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ นโยบาย การ และ ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง ที่กาหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและ การศึกษาไทยในอนาคต ประกอบกับมีนโยบายให้ปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพทั้งภายใน และภายนอกของทุกระดับก่อนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบต่อไป จาเป็นต้องปรับปรุงมาตรฐานการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานให้สอดคล้องกัน จึงให้ยกเลิกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับ ปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกาศ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง ให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน เพือ่ ประกนั คุณภาพภายใน ของสถานศึกษา ลง วันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา เพื่อการ ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวนั ท่ี ๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๐ โรงเรียนบา้ นแกง้ จงึ ขอปรบั มาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน จากการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ทั้งบุคลากร ทุกคนใน โรงเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชนให้เหมาะสมและสอดคล้องกัน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนา คุณภาพ การศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การประเมินคุณภาพภายในและรองรับการประเมิน คุณภาพ ภายนอก โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ในการประชุม คร้ังท่ี ๒/๒๕๖๒ เมื่อ วนั ท่ี ๑๘ เดอื นกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ เพ่ือให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบ้านแก้ง มีคุณภาพและ มาตรฐาน จึงกาหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐาน ตามเอกสารแนบท้ายประกาศน้ี ทัง้ น้ี ให้มผี ลตัง้ แต่ วันที่ ๒๐ เดือน กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๒ (นายวสุกฤต สวุ รรณเทน) ผ้อู านวยการโรงเรียนบ้านแกง้

38 การกาหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา เพ่อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2562 เร่ือง การกาหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/ ประเด็นการพจิ ารณา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ดี 1.1 รอ้ ยละของผูเ้ รียนผา่ นเกณฑป์ ระเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการ ดี 1) ผู้เรียนมคี วามสามรถในการอ่าน การเขยี น การสอื่ สาร และการคิดคานวณ ดี 2) ผ้เู รียนมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ และคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ อภปิ ราย ดี แลกเปลยี่ นความคดิ เห็น และแก้ปญั หา 3) ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ดี 4) เรียนมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสือ่ สาร ดี 5) ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นหลกั สูตรสถานศึกษา ดี 6) ผู้เรียนมคี วามรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ดี่ ตี ่องานอาชพี ดี 1.2 คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น ดี 1) การมคี ุณลกั ษณะ และค่านยิ มที่ดตี ามสถานศกึ ษากาหนด ดี 2) ความภูมใิ จในทอ้ งถ่นิ และความเปน็ ไทย ดี 3) การยอมรบั ที่จะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกตา่ ง และหลากหลาย ดี 4) สุขภาวะทางร่างกาย และลกั ษณะจติ สงั คม ดี มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหาร และจดั การ ดี 2.1 การมเี ปา้ หมาย วิสยั ทศั น์ และพันธกจิ ทสี่ ถานศึกษากาหนดชัดเจน ดี 2.2 มรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ดี 2.3 ดาเนินงานพฒั นาวิชาการท่เี น้นคณุ ภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา และ ดี กลุม่ เปา้ หมาย 2.4 พัฒนาครู และบุคลากรใหม้ คี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ ดี 2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสังคมที่เออื้ ต่อการจัดการเรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ ดี 2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบรหิ ารจดั การ และการจัดการเรยี นรู้ ดี มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ ดี 3.1 ครูจดั การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง และสามารถนาไปประยคุ ใช้ใน ดี ชีวิตได้ 3.2 ครใู ช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ ดี 3.3 ครมู ีการบรหิ ารจดั การช้ันเรียนเชิงบวก ดี 3.4 ครูตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผู้เรยี น ดี 3.5 ครมู ีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และให้ขอ้ มลู สะท้อนกลบั เพอ่ื พฒั นา และปรบั ปรงุ การ ดี จัดการเรียนรู้ สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา ดี

39 การกาหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพ่อื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2562 เร่ือง การกาหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน/ ประเด็นการพิจารณา มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก 1.1 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีพัฒนาการดา้ นรา่ งกายระดับดี แข็งแรง มีสุขนสิ ัยทด่ี ี ดี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ ดี 1.2 ร้อยละของผู้เรียนมีการพัฒนาการดา้ นอารมณ์ 1.3 ร้อยละของผู้เรียนมีการพัฒนาด้านสงั คม ชว่ ยเหลือตนเอง และเปน็ ดี สมาชิกท่ีดีของสงั คม ดี 1.4 รอ้ ยละของผู้เรียนมีพัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิด พ้ืนฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้ ดี มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหาร และจัดการ 2.1 มหี ลักสตู รครอบคลุมพฒั นาการทั้งสีด่ ้าน สอดคล้องกับบรบิ ทของท้องถนิ่ ดี 2.2 จัดครูให้เพยี งพอกับช้ันเรยี น ดี 2.3 สง่ เสริมใหค้ รมู ีความเชีย่ วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ ดี 2.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและส่ือเพ่ือการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ ดี 2.5 ให้บริการส่ือเทคนโลยสี ารสนเทศ และสอ่ื การเรียนรเู้ พื่อสนบั สนนุ การจัด ดี ประสบการณ์ ดี 2.6 มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพที่เปิดโอกาศใหผ้ ูเ้ กย่ี วข้องทุกฝา่ ยมสี ว่ นร่วม มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั ดี 3.1 รอ้ ยละของครูทสี่ ่งเสรมิ ให้เดก็ มีพฒั นาการทุกดา้ นอย่างสมดุ,เตม็ ศักยภาพ ดี 3.2 รอ้ ยละของครใู ห้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัตอิ ยา่ งมี ดี ความสขุ ดี 3.3 รอ้ ยละของครทู เี่ อื้อต่อการเรียนรู้ใช้สอ่ื เทคโนโลยที เี่ หมาะสมกบั วยั 3.4 รอ้ ยละของครูประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริง และนาผลประเมนิ ดี พฒั นาการเด็กไปปรบั ปรุงการจดประสบการณ์ และพฒั นาเดก็ ดี สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา ดี

คาสัง่ โรงเรียนบ้านแก้ง ที่ 8/2562 เร่อื ง แต่งตงั้ คณะกรรมการดาเนนิ งานจัดทามาตรฐานการศกึ ษา ********************************* ด้วย โรงเรียนบ้านแก้ง ได้กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา และการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ทั้งบุคลากรทุก คน ในโรงเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชน ให้เหมาะสมและสอดคล้องกันเพ่ือนาไปสู่การพัฒนา คณุ ภาพมาตรฐานการศกึ ษา การประเมินคุณภาพภายในและเพื่อรองรับการประเมนิ คุณภาพภายนอก เพื่อให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงขอแต่งตั้ง คณะดาเนนิ งาน ดงั ตอ่ ไปนี้ คณะกรรมการดาเนนิ งาน ประกอบดว้ ย 1. นายวสกุ ฤต สวุ รรณเทน ผอู้ านวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ กรรมการ 2. นางประภาภรณ์ โฮมวงศ์ ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ กรรมการ 3. นายชาตชิ าย วารีย์ ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ กรรมการ 4. นางพรรณวดี ผ่องเสียง ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ กรรมการ 5. นายนพิ นธ์ ขันธแ์ กว้ ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ กรรมการ 6. นางเพชรา เฒา่ อุดม ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ 7. นางสมุ จั ชา ศรีสาราญ ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ กรรมการ 8. นางขวญั สดุ า คชพล ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ กรรมการ 9. นางชมภนู ชุ นาชัยเวียง ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการและเลขานุการ 10. นายชวลิต ศรีสาราญ ครู ชานาญการพิเศษ 11. นางมลั ลิกา สุขเกษม ครู ชานาญการพิเศษ 12. นางสาวเมตตา ชาญฉลาด ครู ชานาญการ 13. นางสาวจรยิ า แก้วบัณฑติ ครอู ตั ราจ้าง 1๔. นางสาวจรยิ า มาบุญ ครูอตั ราจา้ ง 1๕. นายนพรัตน์ เคนสี ธรุ การโรงเรยี น 1๖. นางสาวชไมพร เหาะเหิน ครู ให้คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้ง ปฏิบัติงานหน้าท่ีตามที่ได้รับมอบหมายให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด หากมีอุปสรรค ปัญหาในการดาเนินงาน ให้รายงานผู้อานวยการ โรงเรียนทราบทนั ที เพื่อหาแนวทางแก้ไขตอ่ ไป ทั้งนี้ ตัง้ แต่บัดน้ี เปน็ ต้นไป ส่งั ณ วนั ที่ 20 เดือน กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2562 (นายวสุกฤต สวุ รรณเทน) ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นแก้ง

41 คาสง่ั โรงเรยี นบา้ นแก้ง ท่ี ๓/256๓ เร่อื ง แต่งต้ังคณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในโรงเรียนบ้านแกง้ ********************************* ด้วย โรงเรียนบ้านแก้ง จะดาเนินการประเมินคุณภาพภายในโรงเรียนตามมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และระดับการศึกษาปฐมวัย เพ่ือให้ทราบระดับคุณภาพ การศึกษาว่าเป็นไปตามเป้าหมายที่โรงเรียนต้ังไว้ จุดเด่น และจุดท่ีควรพัฒนาของโรงเรียนตลอดปีการศึกษา ๒๕๖๒ ท่ผี ่านมา เพ่อื ให้การประเมินคณุ ภาพภายในโรงเรียนตามมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย และระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐานของโรงเรียนบ้านแก้ง จึงขอแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในโรงเรียนบ้าน แกง้ ดังตอ่ ไปน้ี 1. นายวสุกฤต สวุ รรณเทน คณะกรรมการดาเนินงาน ประกอบดว้ ย ประธานกรรมการ ๒. นายพัสกร บญุ เฮ้า ผูอ้ านวยการโรงเรียน กรรมการ 3. นายชาติชาย วารยี ์ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาฯ กรรมการ ๔. นางสมุ จั ชา ศรีสาราญ ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ ๕. นางมลั ลกิ า สขุ เกษม ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ ๖. นางสาวเมตตา ชาญฉลาด ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ ๗. นางสาวชไมพร เหาะเหิน ครู ชานาญการ กรรมการและเลขานุการ ครู ให้คณะกรรมการท่ีได้รับแต่งต้ัง ปฏิบัติงานหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด หากมีอุปสรรค ปัญหาในการดาเนินงาน ให้รายงานผู้อานวยการ โรงเรยี นทราบทนั ที เพื่อหาแนวทางแกไ้ ขต่อไป ท้งั น้ี ตง้ั แต่บัดนี้ เปน็ ต้นไป สั่ง ณ วนั ที่ ๙ เดือน มีนาคม พ.ศ. 256๓ (นายวสกุ ฤต สุวรรณเทน) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแก้ง

42

43

44

45

46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook