คำยมื ภำษำอังกฤษในภำษำไทย วิดีโอ
เขา้ สบู่ ทเรียน
ภูมหิ ลัง ภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาในตระกูลอนิ โด-ยุโรเปียน มีวภิ ตั ตปิ ัจจัยเชน่ เดยี วกับ ภาษาบาลี-สันสกฤต ไทยกับอังกฤษได้ตดิ ตอ่ คา้ ขาย มสี ัมพนั ธภาพกันมาต้ังแตส่ มัย อยุธยา แต่ในสมยั นน้ั ไทยใกลช้ ิดกับชาวโปรตุเกส และฝร่ังเศษมากกว่าชาวองั กฤษ จึงไมค่ อ่ ยปรากฏคายืมจากภาษาอังกฤษ จนกระทง่ั ในสมัยรชั กาลที่ 3 ไทยเรม่ิ มี ความสัมพันธก์ บั องั กฤษอย่างเหน็ ได้ชดั เจน
ต่อ ภูมหิ ลงั เริ่มปรากฏคาทับศัพท์ภาษาองั กฤษในภาษาไทย ในสมยั รชั กาลที่ 5 ส่งพระราชโอรส และนักเรยี นไทยไปศกึ ษายงั ตา่ งประเทศ ทาให้มผี ู้รบั รู้ภาษาอังกฤษเพม่ิ มากขึ้น ภาษาอังกฤษจึงเข้ามามีอิทธิพลทางด้านการศึกษา การทูต การตดิ ต่อค้าขาย และ การแลกเปลย่ี น วฒั นธรรม ตลอดจนการพูด และการเขียนส่ือสารในชวี ติ ประจาวนั
ลกั ษณะการยมื คาภาษาองั กฤษ มาใชใ้ นภาษาไทย
1. การเปล่ยี นแปลงเสยี งและคา การยืมคาภาษาอังกฤษมาใช้ อาจมีการเปล่ียนแปลงเสียงเพ่ือความสะดวก และอีก ประการหน่ึงเนื่องจากเสียงบางเสียงไม่มีใช้ในภาษาไทย เม่ือยืมเสียงจาพวกน้ีจึงต้องมีการ ปรบั ปรุง ทาให้เสยี งผดิ เพย้ี นไปจากเดมิ บ้าง เชน่ sign ออกเสียงเป็น เซ็น pipe ออกเสยี งเป็น แป๊บ goal ออกเสียงเปน็ โก England ออกเสยี งเปน็ องั กฤษ statistic ออกเสียงเปน็ สถิติ france ออกเสียงเปน็ ฝรง่ั เศส
2. การแปลศพั ท์ คือ การแปลเป็นคาภาษาไทยให้มคี วามหมายตรงกบั คาในภาษาอังกฤษ แล้วนาคานัน้ มาใชส้ อื่ สารในภาษาไทยตอ่ ไป ดงั ตวั อย่าง เช่น คาภาษาอังกฤษ คาภาษาไทย Blackboard กระดานดา Enjoy สนุก School โรงเรียน Black market ตลาดมืด
3. การทบั ศัพท์ การทับศัพท์ เป็นการยืมคาภาษาอังกฤษมาใช้โดยตรง ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคา หรอื เสียง แตอ่ าจจะเปลย่ี นแปลงบา้ งเลก็ น้อยในบางคา เช่น kiwi ไทยใช้ กีวี suit ไทยใช้ สทู beer ไทยใช้ เบยี ร์ term ไทยใช้ เทอม fashion ไทยใช้ แฟชั่น bonus ไทยใช้ โบนสั
4. การบัญญัติศพั ท์ การบัญญตั ศิ ัพท์ เป็นวิธกี ารยมื คาภาษาอังกฤษมาใชโ้ ดยกาหนดคาให้มีความหมาย ตรงกับภาษาอังกฤษ ส่วนมากเป็นคาศัพท์เฉพาะ และภาษาที่นามาใช้บัญญัติศัพท์ โดยมากเปน็ คาภาษาไทยแทบ้ า้ ง ภาษาบาลีสนั สกฤตบา้ ง ตวั อย่างศพั ท์บญั ญัติ
เชน่ องคก์ าร บัญญัติจาก organization ภูมิหลงั บัญญัตจิ าก background พฒั นาการ บัญญัตจิ าก development โทรศพั ท์ บญั ญัตจิ าก telephone
5. การตัดคา เมื่อยืมคาภาษาองั กฤษมาใช้แลว้ บางครงั้ อาจมีการตดั พยางค์ ให้ส้นั ลง เพ่ือสะดวกในการออกเสียง ส่วนใหญ่มักเปน็ ภาษาพูด เช่น entrance ไทยใช้ตัดคาเปน็ เอน็ double ไทยใชต้ ดั คาเปน็ เบ้ลิ champion ไทยใชต้ ัดคาเป็น แชมป์ memory card ไทยใช้ตดั คาเป็น เม็ม
หลกั การสงั เกต
1. เป็นคาหลายพยางค์ คายืมภาษาองั กฤษส่วนใหญ่เป็นคาหลายพยางค์ เมื่อไทยยืมมาใชจ้ งึ ทาให้ ภาษาไทยมีคาหลายพยางค์มากขน้ึ เช่น แคปซูล โฟกัส เทรนเนอร์ คอมพิวเตอร์ ไวโอลนิ ดรัมเมเยอร์ เทคโนโลยี อิเล็กทรอนกิ ส์ เปน็ ตน้
2. ไม่มกี ารเปล่ียนแปลงรูปทางไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษมกี ารเปลี่ยนแปลงรูปคาตามลักษณะทางไวยากรณ์ แต่เมื่อยืมมาใชใ้ น ภาษาไทยไม่มกี ารเปลย่ี นแปลงรูปคาไปตามลกั ษณะทางไวยากรณ์ทีเ่ ปลย่ี นแปลงไป คนไทย ใชค้ ายืมภาษาองั กฤษโดยไมไ่ ดค้ านงึ ถึงชนิดและหน้าทข่ี องคาในภาษาอังกฤษ เชน่ คาท่ีไทยใช้ คาภาษาอังกฤษ ช็อปปง้ิ shopping ไดร์ dry ไดเอ็ต diet
3. มกี ารปรบั เสยี งให้เข้ากบั ระบบเสยี งภาษาไทย คาภาษาอังกฤษท่ียืมเข้ามาใช้ในภาษาไทย มักมีการปรับเสียงให้เข้ากับ ระบบเสยี งของภาษาไทย ดงั น้ี 3.1 การปรับเสียงพยญั ชนะตน้ คาภาษาอังกฤษท่ีใช้ในเสียงพยัญชนะต้นท่ีไม่มีในระบบเสียงภาษาไทย จะปรับมาใช้เสียงพยญั ชนะต้นทม่ี ีสัทอกั ษรลักษณะใกลเ้ คยี งกนั แทน
พยญั ชนะต้น / g / / k / เช่น คาท่ีไทยใช้ คาอังกฤษ กอลฟ์ golf เกม game
พยัญชนะตน้ / z / / s / เช่น คาทไ่ี ทยใช้ คาองั กฤษ เบนซนิ benzene zone โซน
พยญั ชนะตน้ / v / / w / เช่น คาที่ไทยใช้ คาองั กฤษ ววิ view ไวโอลนิ violin
3.2 การปรับเสียงพยญั ชนะทา้ ย การรับคายมื ภาษาองั กฤษมาใชใ้ นภาษาไทย บางคร้ังมกี ารปรบั เสียง พยญั ชนะ ใหเ้ ขา้ กบั เสียงตัวสะกดแม่กบ แมก่ น และแม่กด ของไทย เช่น golf ออกเสยี งเป็น /กอ๊ บ/ football ออกเสียงเป็น /ฟุดบ็อน/ tennis ออกเสียงเป็น /เทนนดิ / gas ออกเสยี งเป็น /แกด๊ /
3.3 ตัดเสยี งพยญั ชนะตาแหน่งท่ี 1 ของเสยี งพยญั ชนะท้ายประสมออก พยางคใ์ นภาษาไทยไม่มกี ารออกเสียงพยัญชนะประสมในตาแหนง่ ท้ายพยางค์ แตพ่ ยางคใ์ นภาษาองั กฤษมีลักษณะดังกล่าวอยู่ด้วย เชน่ film golf card pearl
ต่อ 3.3 ตัดเสียงพยญั ชนะตาแหนง่ ที่ 1 ของเสยี งพยญั ชนะท้ายประสมออก เม่ือภาษาไทยยมื คาภาษาองั กฤษมาใช้ ได้ปรบั เสียงพยัญชนะท้ายประสม ของภาษาอังกฤษ ให้เขา้ กบั ระบบเสยี งภาษาไทย ด้านรูปเขียนนั้นใช้เครอื่ งหมาย ทัณฑฆาตบนพยญั ชนะที่ ไม่ออกเสยี งดงั กล่าว คายมื ภาษาองั กฤษบางคาจงึ มี เครอื่ งหมายทณั ฑฆาตอยู่ตรงกลาง
เชน่ คาองั กฤษ card คาที่ไทยใช้ course การ์ด farm คอรส์ form ฟาร์ม guard ฟอร์ม horn การด์ ฮอรน์
3.4 คาภาษาอังกฤษจานวนมาก เมื่อยืมมาใช้ในภาษาไทยในกรณีท่ีไม่เป็น ทางการ มักตัดพยางค์ ให้นอ้ ยลง เช่น คาภาษาองั กฤษ คาที่ไทยใช้ air hostess แอร์ badminton แบด battery แบ็ต computer คอม microphone ไมค์
4. การใชเ้ สียงพยญั ชนะท่ไี ม่มีในระบบเสยี งภาษาไทย 4.1 การเพม่ิ เสียงพยัญชนะควบ เสียงพยญั ชนะควบกลา้ ในภาษาไทยมอี ยู่ 11 คู่ ได้แก่ /pr- phr- pl- phl- tr- kr- khr- kl- khl- kw- khw-/ ( ปร ปล พล ตร กร ขร คร กล คล ขล กว ขว หรือ คว ) ซ่งึ ใช้เปน็ พยัญชนะต้นไดท้ ง้ั หมด
เชน่ ประ แปลก พลุ ตรา กรอบ ขว้าง คว้าง เปน็ ต้น เมื่อไทยยืมคา ภาษาอังกฤษ มาใช้อาจมคี าบางคาทพี่ ยญั ชนะต้นเปน็ พยญั ชนะควบกลา้ ซ่ึงไม่มอี ยู่ใน ระบบเสยี งภาษาไทย ทาใหภ้ าษาไทย มีเสียงพยญั ชนะเพม่ิ มากขน้ึ เช่น /bl- br- dr- fl- fr- thr- tr-/ ( บล บร ดร ฟล ทร ตร) เปน็ ต้น
คาทไ่ี ทยใช้ ตัวอยา่ ง บลอ๊ ก เบรก คาองั กฤษ ดรัมเมเยอร์ block แฟลต brake ฟรี drum major flat อิเลก็ ทรอนิกส์ free สตรอวเ์ บอรร์ ี electronics strawberry
4.2 การเพมิ่ เสยี งพยัญชนะทา้ ย เสยี งพยญั ชนะท้ายในภาษาไทยมี 9 เสียง ไดแ้ ก่ /-k -t -p -ŋ… -n - m -j -w -?/ ( ก ต ป ง น/หน ม/หม ย/ญ ว อ ) และมรี ปู ตัวสะกด 8 แม่ ได้แก่ กก กด กบ กง กน กม เกย เกอว
ต่อ 4.2 การเพิ่มเสียงพยญั ชนะทา้ ย เมือ่ ไทยยืมคาภาษาอังกฤษมาใช้อาจมบี างคาท่ีมเี สยี งพยญั ชนะท้ายท่ี ตรงกนั แตก่ ม็ ีบางหน่วยเสยี งพยญั ชนะทา้ ยที่ไม่มใี นระบบเสียงภาษาไทย เช่น /-f -l -s/ ( ฟ ล ส ) ลักษณะการออกเสียงตวั สะกดแบบภาษาองั กฤษเช่นนี้ ทาให้มเี สยี งพยญั ชนะท้ายดังกล่าวเพิม่ ขึน้ ในภาษาไทย
เชน่ คาอังกฤษ คาท่ีไทยใช้ golf กอล์ฟ staff สตา๊ ฟ ball บอล double ดบั เบิ้ล e-mail อ-ี เมล bonus โบนัส tennis เทนนิส
สมาชกิ นางสาวประวีณา ล่าข้อ เลขที่ 3 รหสั นักศกึ ษา 631102008103 นางสาวปยิ ภรณ์ ชาวระนอง เลขที่ 24 รหสั นกั ศกึ ษา 631102008124 นางสาวอารียา ศริ ิทองจกั ร์ เลขที่ 29 รหสั นกั ศึกษา 631102008129 นายกฤษณะ หมัน่ สลงุ เลขที่ 30 รหสั นักศึกษา 631102008130 สาขาวชิ าภาษาไทย
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: