๖. บทวิเคราะห์ คณุ คา่ ดา้ นเน้อื หา ๑. ให้ความรู้เก่ียวกับวัฒนธรรมด้านอาหารการกินของคนไทยสมัยโบราณ กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน สะท้อนให้เห็นถึงความละเอียดอ่อน พิถีพิถันในทุกข้ันตอนของการทาอาหาร ไม่ว่าจะเป็นการจัดวาง สีสัน และ รปู ลักษณข์ องอาหารคาวหวาน รวมท้ังผลไม้ชนิดต่าง ๆ โดยอาหารบางชนิด น้นั ไม่ปรากฏแพร่หลายหรือไม่คุ้นชื่อในปัจจุบัน เช่น แสร้งว่า หรุ่ม ล่าเตียง ยาใหญ่ มศั กอด ชอ่ มว่ ง เปน็ ต้น เป็นอาหารประเภทยา วิธีทา นากุ้งซีแฮ้ ย่างไฟพอน้าตก ปอกเปลือกแล้วเอาเส้นดาที่หลังออก นาน้ามะนาวหรือ มะกรูดผสมกบั เกลือป่นให้เขา้ กนั เทลงในถ้วยกุ้ง เคล้าให้ เขา้ กัน โรยตะไคร้หนั่ ซอย ขิงออ่ นซอย ตน้ หอม ผักชี พริก แดง พริกเหลืองห่ันโรย คลุกเคล้าให้เข้ากัน รับประทาน พรอ้ มกับผกั แตงกวา มะเขือ ๔๗
๖. บทวิเคราะห์ คณุ ค่าด้านเน้อื หา เป็นอาหารว่าง วิธีทา นารากผักชี กระเทียม พริกไทยที่ บดแล้วผดั จนหอม ใส่หอมแดง หมบู ด ก้งุ แห้ง ปรุงรสด้วย น้าปลา นา้ ตาล ผัดจนแหง้ ใสถ่ วั่ ลิสงค่ัวบดตักใส่จาน ตีไข่ ไก่ ๑ ฟอง ไข่เป็ด ๓ ฟองจนเข้ากัน ใช้นิ้วจุ่มไข่ โรยไข่ใน กระทะใหเ้ ปน็ รปู ตารางสี่เหลี่ยม ลอกใส่จาน วางพริกชี้ฟ้า แดงหนั่ เปน็ เสน้ ยาวบนแผ่นไข่ วางทับด้วยผักชี ใส่ไส้ที่ผัด ไวห้ อ่ เปน็ รปู สี่เหลีย่ มขนาดพอคา ความประณตี พิถพี ถิ ัน ชา่ งประดิษฐ์ประดอยที่ปรากฏในเร่ือง นับวัน จะมีผู้รู้กรรมวิธีเหล่าน้ีน้อยลง เช่น ศิลปะในการจัดแต่งอาหารด้วยการ แกะสลัก ซึ่งเป็นงานที่ผู้หญิงไทยสมัยก่อนต้องเรียนรู้และฝึกหัดโดยเฉพาะ ผหู้ ญิงทีอ่ ยู่ในวงั การแกะสลักผกั ผลไม้ เป็นงานฝีมือที่แสดงถึงความพยายาม และความประณีตของผู้ทา ปรุงแต่งด้วยความวิจิตรสวยงามท้ัง รูปลักษณ์ภายนอกและรสชาติของอาหาร ผลไม้ต้องปอกเปลือก คว้านเมลด็ ออก โดยยังคงรูปลักษณเ์ ดิม เช่น “น้อยหน่านาเมลด็ ออก ปล้อนเปลือกออกเป็นอัศจรรย์” หรอื ดัดแปลงใหง้ ดงามยิง่ ขึ้น ๔๘
๖. บทวิเคราะห์ คณุ ค่าด้านเน้อื หา อย่างมะปรางร้ิว “ หมากปรางนางปอกแล้ว ใส่โถแก้วแพร้วพราย เเสง ” สว่ นขนมไทยนั้น บางชนดิ คนรนุ่ หลังเเทบไม่มีโอกาสได้เห็น เน่ืองจาก กรรมวิธีการทายุ่งยาก ตอ้ งอาศยั ฝมี ือและความอตุ สาหะอยา่ งยิง่ เชน่ เป็นขนมไทยที่ต้องใช้เวลาในการทานาน เริ่มจากการนา กะทิมากวนกับน้าตาลทราย แป้งข้าวเหนียว และน้า ใบเตย ซ่ึงในขั้นตอนนี้อาจใช้เวลาถึง ๒ ชั่วโมง เม่ือได้ที่ แลว้ ตกั หยอดลงบนใบตองให้มีขนาดพอดีคา แล้วใสเ่ มลด็ แตงโมที่กะเทาะเปลือกแล้วลงไป ห่อแล้วกลัดด้วยไม้กลัด ให้สวยงาม จากนั้นนาไปผึ่งแดดจนเนื้อขนมแห้ง ขนาจ่า มงกฎุ ทีไ่ ดจ้ ะมลี กั ษณะกรอบยอกนุ่มใน ๔๙
๖. บทวิเคราะห์ คุณคา่ ด้านเน้อื หา เป็นขนมไทยที่ต้องใช้ฝีมือในการทาอย่างมาก โดยผสม แปง้ กับน้าดอกอัญชันคนในกระทะทองเหลืองด้วยไฟอ่อน ๆ ให้สกุ นามานวด แบ่งเป็นก้อน ก่อนจะนาแป้งมาตักไส้ ที่มีส่วนผสมของถั่วนึ่งบดกับฝัก ผสมน้าตาลทรายและ เกลือ คนในกระทะทองเหลือง ทิ้งให้เย็นหอ่ แป้งใหม้ ิด ใช้ที่ ห นี บ ข น ม จั บ จี บ ใ ห้ เ ป็ น ก ลั บ ด อ ก ไ ม้ นึ่ ง จ น สุ ก แ ล้ ว ใ ช้ หวั กระทิพรมไมใ่ หต้ ิดกัน ๕๐
บอกเลา่ เก้าสิบ ตอนที่ ๒ ๕๑
เครอ่ื งเทศ เคร่ืองเทศ เป็นของเผ็ดร้อนและมีกลิ่นหอมฉุน มีสรรพคุณทางยา ได้มาจากสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื เช่น เมล็ด ผล ดอก ราก หรือลาต้น แล้วนามา ทาใหแ้ หง้ เพ่อื ใชป้ รงุ แต่งอาหารใหม้ ีรสและกลิ่นทีช่ วนรบั ประทาน เครื่องเทศสว่ นหนึ่งเป็นพืชท้องถิน่ ของไทย แต่ส่วนใหญ่มักนาเข้ามา โดยชาวตา่ งชาติ จึงได้ชื่อหรือเป็นที่มาของคาว่า เคร่ืองเทศ และสันนิษฐาน กันว่าอาจนาเข้ามาสู่ครัวไทยตามการอพยพโยกย้ายของชาวอินเดียตั้งแต่ สมัยโบราณ เครื่องเทศซึง่ เปน็ ที่นิยมในหมคู่ นไทยมีหลายอยา่ ง อาทิ อบเชย ลูกผักชี ยีห่ รา่ หญ้าฝรนั่ จนั ทนเ์ ทศ พริกไทย กระวานหรอื ลูกเอ็น กานพลู เป็นต้น ๕๒
๖. บทวิเคราะห์ คุณค่าดา้ นเน้อื หา ๒. สะท้อนสภาพบ้านเมืองในสมัยอดีต การติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติ เช่น ชาวจีน ชาวอินเดีย หรือชาว เปอร์เซีย ทาให้มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมด้านอาหารการกิน ในเร่ือง กล่าวถึงอาหารคาวหวานที่ไทยได้รับกรรมวิธีทามาจากชาวต่างชาติ เช่น การหุงข้าวโดยใช้เนยหรือน้ามันเนยเป็นตัวรับเมล็ดข้าวให้เรียงดูสวยงาม และใสเ่ คร่อื งเทศชนิดหนง่ึ มีชือ่ ว่า ลูกเฮลท์ ซึ่งเพ้ียนเสียงมาเป็น ลูกเอ็น ทา ให้มีกลิ่นเปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะ ❖ ขา้ วหุงปรุงอย่างเทศ รสพิเศษใสล่ กู เอน็ ใครหงุ ปรงุ ไม่เป็น เชน่ เชิงมิตรประดิษฐท์ า ๕๓
๖. บทวิเคราะห์ คณุ คา่ ดา้ นเน้อื หา นอกจากนี้ยงั มีอาหารที่เรียกว่า ลุดตี่ มีลักษณะเป็นแผ่น ทาจากข้าว เจ้าที่โม่ใหม่ๆ เป็นวิธีแบบโบราณโดยนาไข่ไก่มาตีผสมกับแป้งข้าวเจ้า แล้ว ผสมด้วยสีเหลืองที่ได้จากหญ้าฝรั่นหรือขมิ้นผง เสร็จแล้วตักแป้งหยอดลง กระทะ กรอกแป้งไปมาให้แป้งแผ่เป็นแผ่นกลมเมื่อแป้งสุกจะร่อนจาก กระทะ มีสีเหลืองนวล รับประทานกับแกงไก่ ซึ่งต่อมากิน เป็นขนมหรือของ วา่ ง ❖ ลุดตี่นีน้ ่าชม แผ่แผ่นกลมเพียงแผน่ แผง โอชาหนา้ ไก่เเกง เเคลงของแขกแปลกกลิ่นอาย ๕๔
๖. บทวิเคราะห์ คุณคา่ ด้านวรรณศลิ ป์ กวีสามารถพรรณนาอาหารคาวหวาน ผลไม้แต่ละชนิดได้อย่างเห็น ภาพ เข้าใจชัดเจน มีการใช้ถ้อยคาเปรยี บเทียบลึกซึง้ กนิ ใจและไพเราะ เชน่ ๑. การเล่นเสียงพยัญชนะและการเล่นเสียงวรรณยุกต์ ช่วยให้เกิด ความคลอ้ งจองไพเราะ เช่น ❖ เหน็ หรมุ่ รุมทรวงเศร้า รมุ่ รุ่มเรา้ คือไฟฟอน เจบ็ ไกลใจอาวรณ์ ร้อนรุมรุม่ กล้มุ กลางทรวง ❖ พลับจีนจกั ดว้ ยมีด ทาประณีตนา้ ตาลกวน คดิ โอษฐ์ออ่ นยิ้มยวน ยลยิง่ พลับยบั ยบั พันธุ์ ๕๕
๖. บทวิเคราะห์ คุณคา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์ ๒. การใชโ้ วหารเปรยี บเทียบ ช่วยทาให้เกดิ จนิ ตภาพ เชน่ ❖ ทับทิมพริม้ ตาตรู ใส่จานดูดุจเมด็ พลอย สุกแสงแดงจักย้อย อยา่ งแหวนก้อยแกว้ ตาชาย ๓. การใชโ้ วหารเกนิ จรงิ เพือ่ เน้นย้าความหมาย ให้ผูอ้ ่านเห็นถึงฝีมือ การปรุงอาหารทีเ่ ป็นเลิศ ยากจะหาใครเทียบได้ เช่น ❖ กอ้ ยกุง้ ปรุงประทิน่ วางถึงลิน้ ดิ้นแดโดย รสทิพย์หยิบมาโปรย ฤๅจะเปรียบเทียบทนั ขวญั ๕๖
๖. บทวิเคราะห์ คุณคา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์ ๔. การเล่นคา เพอ่ื สรา้ งอารมณส์ ะเทือนใจให้แกผ่ ู้อ่าน เชน่ ❖ ผลจากเจ้าลอยแก้ว บอกความแลว้ จากจาเปน็ จากช้านา้ ตากระเดน็ เปน็ ทุกขท์ ่าหน้านวลแตง อาหารคาว อาหารหวาน และผลไม้ที่ปรากฏในกาพย์เห่ชมเครื่อง คาวหวาน สามารถเล่าเร่ืองราวได้มากมาย ท้ังวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และสภาพบา้ นเมือง ทาใหภ้ มู ิใจในเอกลักษณ์ของอาหารไทยที่มีความงดงาม วิจิตร ละเอียดอ่อน และพิถีพิถันในทุกข้ันตอนการทา เป็นแบบอย่างที่ดีที่ ผ้หู ญิงไทยในปัจจบุ ันควรยึดถือและตระหนักถึงความสาคัญของเสน่ห์ปลาย จวัก ซึ่งผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการอ่านไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจาวนั ได้ รวมทั้งสามารถถา่ ยทอดความรทู้ ี่ได้รบั ใหเ้ ปน็ บุคคลใกล้ชิด หรอื คนในสงั คมให้เหน็ ถึงความประณตี ในการปรุงอาหารของคนไทย ๕๗
แบบฝึกหดั ๕๘
แบบฝึกหัด เรื่อง กาพยเ์ ห่ชมเครือ่ งคาวหวาน คาชี้แจง : แบบฝึกหดั เรือ่ ง กาพย์เหช่ มเครือ่ งคาวหวาน จานวน ๑ ชุด ให้นกั เรียนระบชุ ื่ออาหารให้ตรงกับอาหารตอ่ ไปนีใ้ ห้ถกู ตอ้ ง ❖ QR code สาหรับสแกนทาแบบฝึกหัดผา่ นเวบ็ ไซต์ live worksheets ๕๙
แบบทดสอบ ๖๐
แบบทดสอบ เรือ่ ง กาพย์เหช่ มเครื่องคาวหวาน คาชี้แจง : แบบทดสอบวิชาภาษาไทย เรื่อง กาพย์เห่ชมเครอ่ื งคาวหวาน ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ให้นกั เรียนเลือกคาตอบท่ถี กู ต้องที่สดุ เพียงคาตอบเดียว ❖ QR code สาหรับสแกนทาแบบทดสอบผ่านเวบ็ ไซต์ Google Form ๖๑
บรรณานกุ รม ชลดา เรอื งรักษ์ลิขิต. (๒๕๕๒).กาพยเ์ หช่ มเครือ่ งคาวหวาน กาพยเ์ ห่นริ าศ แรมรสร้าง. สานกั พมิ พ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ธีรศกั ดิ์ จริ ะตราชู. (๒๕๖๔). กาพย์เห่ชมเคร่ืองคาวหวาน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิชาภาษาไทย. [ออนไลน์]. สืบคน้ จาก : https://blog.startdee.com (เข้าถึงขอ้ มูลวนั ที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕) ฟองจันทร์ สุขยิ่งและคณะ. (๒๕๕๘). หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๑ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑๕.กรงุ เทพมหานคร : อกั ษรเจริญทศั น์ เยาวลกั ษณ์ ชาติสขุ ศิริเดช. (๒๕๔๔). เรยี งถอ้ ยร้อยกรอง. พมิ พค์ รั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์ ราชบัณทิตยสถาน. (๒๕๕๖). พจนานุกรม ฉบบั บัณทิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๕๔. กรงุ เทพมหานคร : ศิริวฒั นาอินเตอร์พรน้ิ ท์ จากัด (มหาชน). ง
Search