อาณาจักรสุโขทยั
พระราชประวตั ิ พ่อขุนรามคําแหงมหาราช ทรงเปน็ พระมหา กษัตริย์พระองค์ที่ ๓ ในราชวงศ์พระร่วงแห่ง ราชอาณาจักรสุโขทัย เสวยราชย์ประมาณ พ. ศ. ๑๘๒๒ ถงึ ประมาณ พ.ศ. ๑๘๔๑ พระองค์ ทรงรวบรวมอาณาจักรไทยจนเปน็ ปกึ แผ่น กว้างขวาง ท้ังยังได้ทรงประดิษฐ์ตัวอักษรไทย ข้ึน ทําให้ชาติไทยได้สะสมความรู้ทางศิลปะ วัฒนธรรม และวิชาการต่าง ๆ สืบทอดกันมาก ว่าเจ็ดร้อยปี
ราชธานีกรุงสุโขทยั
ผลงานทสี่ ํ าคญั ในการพัฒนาชาติไทย
ด้านการปกครอง ราษฎรสามารถค้าขายไดโ้ ดยเสรีเจ้าเมืองไม่ เรียกเก็บจังกอบหรือภาษี ผ่านทางหากผู้ใดไม่ ได้รับความเปน็ ธรรมในกรณีพิพาทก็มีสิทธไิ ป ส่ันกระดงิ่ ท่ีแขวนไว้หน้าประตูวังเพ่ือถวายฎีกา ต่อพระมหากษั ตริย์ได้พระองค์ก็จะทรงตัดสิ น ดว้ ยพระองค์เอง
ด้านศิลปวัฒนธรรม ทรงประดษิ ฐ์ตัวอักษรไทยข้ึนทําให้ชาติไทยได้ สะสมความรู ้ทางศิ ลปะวัฒนธรรมและวิชาการ ต่างๆสืบทอดกนั มากว่าเจ็ดร้อยปี
แบบอยา่ งความดที นี่ ํามาประยุกตใ์ ช้
พ่อขุนรามคาํ แหงผูน้ ําทดี่ ี นางสาวกญั ญาวรี ์ใบเตย เปน็ ต้นแบบท่ีดตี ้องสามารถผลักดนั ให้บคุ ลากรทํางานได้อย่างมีประสิทธภิ าพสูงสุดเพ่ือไป ให้ถึงเป้าหมาย การนํามาปรับใช้ การเปน็ ผู้นําท่ีด คี ือ สามารถตัดสินใจหรือชักจงู คนในกลุ่มให้ถกู ขับเคล่อื นไปในทางท่ีด้ี ผู้นําท่ีดี ยังเปน็ ผู้ที่ช่วยผลกั ดนั ให้การทํางานเปน็ ไปไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพเปดิ ใจรับฟังข้อคิดเห็นของ คนในกลุ่ม เห็นคุณค่าของแต่ละบคุ คลอย่างเท่าเทียม แมจ้ ะมีทักษะและประสบการณ์แตกต่าง กัน เพราะผู้นําที่ดีจะสามารถกระจายงานให้ถกู คนถกู เวลาช่วยให้วัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมาย ของกลุ่มประสบความสําเร็จไดม้ ากกว่าเดมิ
ความเพียรพยายามของพ่อขุนรามคําแหง พยายามทําสงครามจนได้ชนะและประดษิ ฐล์ ายสือไทยเพ่ือให้คนไทยมีภาษาใช้เปน็ ของตัวเองต้ังแต่สมยั สุโขทัยจนถงึ ทุกวันนี้ การนําไปปรับใช้ ความเพียรพยายาม คือ ทําสิ่งต่างๆให้สําเร็จมุง่ ม่นั ในการทํางานท่ีไดร้ ับมอบหมาย จนสําเร็จ ไม่ท้อถอยต่ออุปสรรคที่เข้ามาในชีวิต นางสาวนฤชล ฉตั รเท
ความเปน็ กลางของพ่อขุนรามคําแหง นางสาวมนตน์ ภา แย้มประยงค์ ยตุ ิธรรมเปน็ สัดส่วนและปราศจากความลําเอียงให้มาก เท่าท่ีมากได้ นํามาปรับใช้้ ความเปน็ กลาง คือ ไมเ่ อนเอียงไปข้างใดข้างหนึ่งให้ความเปน็ ธรรมกับทุกฝา่ ย ในการตัดสิ นใจในเร่ืองความขัดแย้งท่ีไม่ก่อให้เกิดความรุ นแรง
วัฒนธรรมในสมัยสุโขทัย นางสาวพัชรดิ า เอมสวสั ด์ิ วัฒนธรรมพ้ืนฐานและความจําเปน็ ไดแ้ ก่ ภาษา ท้ังภาษาพูดและภาษาเขียน การนํามาปรับใช้ วัฒนธรรม หมายถึง การปรับปรุงเปล่ยี นแปลงและแนวทางอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ท่ีดงี ามการอย่รู ่วมกนั อย่างสงบสุขและปลอดภัยรวมท้ังระเบียบมารยาทท่ีใช้ติดต่อ ภายในสังคม เช่น การไหว้ การแต่งกาย การพูด เปน็ ต้น
เศรษฐกิจการค้าสมัยสุโขทัย การค้าแบบเสรี ได้รับการส่งเสริมมาจากทางราชการมาก มกี ารยกเว้นภาษีผ่านด่าน ไม่ มกี ารจํากัดประเภทสินค้าว่าสินค้าใดเปน็ สินค้าต้องห้ามใครจะค้าขายสิ่งใดกส็ ามารถนํา มาแลกเปลย่ี นซ้ือขายกันได้ี การนํามาปรับใช้ การค้า คือ มกี ารพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพสินค้าปรับปรุงระบบการผลิต ให้ดีข้ึนอย่างสมาเสมอและราคาสิ นค้าจับต้องได้ ี นางสาวสุนิศรา ภาดี
จัดทําโดย นางสาวกัญญาวีร์ ใบเตย เลขท่ี๕ นางสาวนฤชล ฉัตรเท เลขท่ี๑๒ นางสาวสุนิศรา ภาดี เลขท่ี๑๓ นางสาวพัชริดา เอมสวัสดิ์ เลขท่ี๒๕ นางสาวมนต์นภา แย้มประยงค์ เลขท่ี๓๐ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๕/๒ เสนอ คุณครู พิกลุ มใี จเจือ “โรงเรียนภาชี “สุนทรวิทยานุกลู ”
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: