Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 415213 Magazine

415213 Magazine

Published by onarun.ning, 2022-09-06 11:36:20

Description: 415213 Magazine

Search

Read the Text Version

ARCHITECTUREKING RAMA 5 ARCHITECTURE KING RAMA 5

ส า ร บั ญ หน้า 1 contents สถาปัตยกรรม สมัยรัชกาลที่ 5 หน้า 2 วัดราชบพิ ธสถิตมหาสีมาราม หน้า 4 อ า ค า ร แ ม้ น น ฤ มิ ต ร หน้า 6 พ ร ะ ที่ นั่ ง วิ ม า น เ ม ฆ หน้า 10 โ ร ง ก ษ า ป ณ์ สิ ท ธิ ก า ร หน้า 12 บ้านเลขที่ 1 หน้า 14 พ ร ะ ร า ช วั ง ร า ม ร า ช นิ เ ว ศ น์ หน้า 16 ท่ า ช้ า ง วั ง ห ล ว ง หน้า 20 วั ง จั น ท ร เ ก ษ ม หน้า 22 อ า ค า ร ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย หน้า 26 พระที่นั่งบรมพิ มาน

สถาปัตยกรรมในสมัย พระบาทสมเด็จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้า อ ยู่หั ว รัชกาลที่ 5 การเปิดประเทศของสยามในช่วงสมัย รัชกาลที่ 5 ด้วยการรับเอาอารยธรรมตะวันตก เข้ามาในประเทศเพื่อเป็นแม่แบบในการพัฒนา สังคมให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองมากยิ่งขึ้นส่งผล ให้เกิดการส่งเสริมศิลปะรูปแบบใหม่ขึ้นในสยาม มากมาย ทั้งการหลั่งไหลเข้ามาของศิลปินสาขา ต่างๆ ตลอดจนผลงานศิลปะจากยุโรปโดยตรง รวมทั้งความพยายามดัดแปลงและประยุกต์ศิลปะ ยุโรปให้เข้ากับศิลปะแบบไทย จากสิ่งเหล่านี้นี่เอง ที่ทำให้ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวรุ่งเรืองไปด้วยสถาปัตยกรรมที่ผสมผสาน กับสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกมากมาย ความ อลังการของสถาปัตยกรรมในสยามจากสมัย รัชกาลที่ 5 นี้สามารถสะท้อนห้วงเวลาแห่งความ รุ่งเรืองและมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของสยามขณะ นั้นได้ รวมถึงยังสะท้อนวิสัยทัศน์ของผู้นำ ประเทศที่กว้างไกลได้อีกด้วย

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม

วัด ร า ช บ พิ ธ ส ถิ ต ม ห า สี ม า ร า ม RATCHABOPHIT SATHIT MAHA SIMARAM TEMPLE วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามเป็นพระอารามหลวงชั้นเอกชนิด ราชวรวิหาร เริ่มสร้างปี พ.ศ. 2412 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงสร้างวัดราชพิธสถิตมหาสีมารามเป็นวัดประจำพระองค์ ตามโบราณราชประเพณีนิยมและถือว่าเป็นวัดประจำรัชกาลตาม โบราณราชประเพณีเป็นวัดสุดท้าย พระองค์ทรงโปรดให้ซื้อที่ที่เคย เป็นวังของกรมหมื่นอักษรสาสน์โสภณ (พระองค์เจ้าสิหรา, พระเจ้า บรมวงศ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ในรัชกาลที่ 5) และทรง โปรดให้พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าประดิษฐ์วรการ เป็นแม่กองอำนวย การสร้าง จุ ด เ ด่ น ที่ ไ ม่เ ห มือ น ใ ค ร ลักษณะพิเศษของวัดคือไม่มีหอไตร มีการจัดวางแผนผังอย่าง งดงาม หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ได้มีการเก็บ อัฐิของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่นี่ วัดนี้มีมหาสีมา ขนาดใหญ่ทำเป็นเสาศิลาจำหลักรูปสีมาธรรมจักรอยู่บนเสา ตั้งที่ กำแพงวัดทั้ง 8 ทิศ จึงได้ชื่อว่าวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามที่แปล ว่าวัดซึ่งพระเจ้าแผ่นดินทรงสร้างและเป็นวัดซึ่งมีมหาสีมาตั้งอยู่ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร ส ร้ า ง ทางด้านทิศตะวันตกของวัดเป็นสุสานหลวง พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ สร้างขึ้นเป็นที่บรรจุพระอัฐิและพระสรีรางคารแก่พระบรมราชเทวี พระราชเทวี เจ้าจอมมารดา พระราชโอรส และพระราชธิดาในพระองค์ วัด ร า ช บ พิ ธ ส ถิ ต ม ห า สี ม า ร า ม ยั ง ค ง เ ปิ ด ป ร ะ ช า ช น ทั่ ว ไ ป ไ ด้ เ ข้ า ไ ป ไ ห ว้พ ร ะ ทำ บุ ญ แ ล ะ ยั ง มี ส ว น ห ย่ อ ม เ อ า ไ ว้พั ก ผ่ อ น ห ย่ อ น ใ จ เ ป็ น ส ถ า น ที่ เ ต็ ม ไ ป ด้ ว ย ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม แ น ว ผ ส ม ผ ส า น ทั้ ง จ า ก ศิ ล ป ะ ต ะ วัน ต ก แ ล ะ ศิ ล ป ะ ต ะ วัน อ อ ก ม า ก ม า ย ภ า ย ใ น วัด ยั ง มี พ ร ะ ที่ นั่ ง สี ต ล า ภิ ร ม ย์ ซึ่ง ปั จ จุ บั น เ ป็ น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ ก็ บ โ บ ร า ณ วัต ถุ แ ล ะ ข อ ง ใ ช้ส่ ว น พ ร ะ อ ง ค์ ข อ ง ส ม เ ด็ จ พ ร ะ สั ง ฆ ร า ช พ ร ะ อ ง ค์ ก่ อ น คื อ พ ร ะ เ จ้ า ว ร ว ง ศ์ เ ธ อ ก ร ม ห ล ว ง ชิน ว ร สิ ริ วัฒ น์ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ สั ง ฆ ร า ช เ จ้ า ส ม เ ด็ จ พ ร ะ สั ง ฆ ร า ช อ ง ค์ ที่ 1 1 แ ล ะ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ อ ริ ย ว ง ศ า ค ต ญ า ณ ( ว า ส น ม ห า เ ถ ร ) ส ม เ ด็ จ พ ร ะ สั ง ฆ ร า ช เ จ้ า ส ก ล ม ห า สั ง ฆ ป ริ ณ า ย ก ส ม เ ด็ จ พ ร ะ สั ง ฆ ร า ช อ ง ค์ ที่ 1 8 ซึ่ง เ ห ม า ะ แ ก่ ก า ร เ ข้ า ไ ป ศึ ก ษ า ห า ค ว า ม รู้ แ ล ะ ต า ม ร อ ย ป ร ะ วัติ ศ า ส ต ร์ ที่ น่ า ส น ใ จ อี ก ด้ ว ย

Ratchabophit Sathit Maha Simaram Temple ความงดงามของ วัดราชบพิธ สถิตมหาสีมาราม ตัวพระอุโบสถรูปทรงภายนอกเป็นสถาปัตยกรรมแบบไทย ภายในพระอุโบสถ เป็นแบบยุโรปผสมแบบไทย เพดานเป็นลายเครือเถาสีทอง ผนังระหว่างช่องหน้าต่าง เป็นรูปอุณาโลมและมีอักษร จ. สลับเหนือซุ้มกลางประตู ภายในปั้ นเป็นรูปตราแผ่น ดินประจำพระองค์ของรัชกาลที่ 5 โดยจำลองแบบจากตรางาประจำพระองค์ พระวิหารมีรูปทรงแบบเดียวกับพระอุโบสถทั้งภายในและภายนอก แตกต่างกันตรงที่ บานประตูและหน้าต่างสลักด้วยไม้เป็นลายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ พระประธานเป็น พระพุทธรูปปางมารวิชัย นามว่าพระประทีปวโรทัย พระเจดีย์เป็นพระเจดีย์ทรงไทย ย่อเหลี่ยมฐานคูหาประดับกระเบื้องเคลือบลายเบญจรงค์ทั้งองค์ ประดิษฐานอยู่ กึ่งกลางเป็นประธานของสิ่งก่อสร้างทั้งหมด และยังมีสถาปัตยกรรมอีกมากมายที่ เป็นศิลปะจากทั้งทางตะวันตกและตะวันออกซึ่งอยู่ร่วมกันได้อย่างลงตัว ที่ ตั้ง : ถ น น เ ฟื่ อ ง น ค ร แ ข ว ง วั ด ร า ช บ พิ ธ เ ข ต พ ร ะ น ค ร ก า ร เ ดิ น ท า ง : ส ถ า นี ร ถ ไ ฟ ฟ้า ใ ต้ ดิ น ส น า ม ไ ช ย - เ ดิ น ไ ป อี ก ป ร ะ ม า ณ 8 0 0 เ ม ต ร

อาคารแม้นนฤมิตร

อาคาร แม้นนฤมิตร Maen Sueksa Sathan Building เนื่องจากนโยบายสนับสนุนการศึกษาของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ในสมัย นั้นจึงมีการสร้างสถานศึกษาขึ้นหลายแห่ง หนึ่งในนั้น คือคือ โรงเรียนเทพศิรินทร์ริอาคารแม้นนฤมิตร ถูก สร้างขึ้นพร้อมกับอาคารตึกโชฏึกเลาหะเศรษฐี เมื่อปี พ.ศ. 2438 บริเวณคลองผดุงกรุงเกษม ติดกับวัด พลับพลาไชย ส่ ว น ห น้ า บั น ข อ ง อ า ค า ร เ ป็ น รู ป จั่ว อาคารแม้นนฤมิตรถูกออกแบบโดย สมเด็ จ แ บ่ ง เ ป็ น รู ป ส า ม เ ห ลี่ ย ม เ ล็ ก ๆ ที่ ป ล า ย มุ ม พระเจ้าบรมวงศ์ เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรา ทั้ง ส า ม ข อ ง จั่ว ใ ห ญ่ ป ร ะ ดั บ ล า ย ห น้ า จั่ว นุวัดติ วงศ์ ตึ กแม้นศึ กษาสถาน ผังอาคารเป็น รู ป สี่ เ ห ลี่ ย ม ย า ว ป ล า ย โ ค้ ง แ ห ล ม แ ล ะ ยั ง รู ปสี่เหลี่ ยมผืนผ้า สถาปัตยกรรมแบบนี โอโกธิค ต่ อ ย อ ด เ ส า ขึ้ น ไ ป ทั้ง ที่ จั่ว ด้ า น ห น้ า แ ล ะ ตั วอาคารเป็นอาคารสองชั้น ลั กษณะเด่ น คื อ ด้ า น ข้ า ง ทำ ใ ห้ดู ค ล้ า ย ห อ ค อ ย ประตูหน้าต่ างโค้ งแหลมแบบโกธิค การใช้ปู นปั้ น และเสาอิ งประดั บเน้นเส้นตั้ งและความสูงโปร่ง ของอาคาร

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ท ร ง ป ร ะ สู ติ เ มื่ อ วั น ที่ 2 8 เ ม ษ า ย น พ . ศ . 2 4 0 6 เจ้าฟ้ากรมพระนริศรา ท ร ง มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ที่ ห ล า ก ห ล า ย ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ด้ า น นุวัดติวงศ์ ภ า พ จิ ต ร ก ร ร ม ก า ร เ ขี ย น ภ า พ สี น้ำ มั น ป ร ะ ก อ บ พ ร ะ ร า ช พ ง ศ า ว ด า ร ห รื อ ด้ า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ที่ ท ร ง โ ป ร ด ก า ร ทำ พ ร ะ เ ม รุ แ ล ะ ก า ร อ อ ก แ บ บ สิ่ ง ก่ อ ส ร้ า ง ต่ า ง ๆ ผ ล ง า น ด้ า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ที่ สำ คั ญ คื อ พ ร ะ อุ โ บ ส ถ วั ด เ บ ญ จ ม บ พิ ต ร ปัจจุบันตึกแม้นนฤมิตรใช้ชื่อว่าอาคารแม้นศึกษา สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาความสวยงามของอาคารแม้น สถาน เป็นตึกเรียนของโรงเรียนเทพศิรินทร์ แม้จะมี ศึกษาสถาน สามารถเข้าชมได้ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ การปรับปรุงตัวตึกอยู่หลายครั้ง ทั้งจากความทรุด กรุงเทพมหานคร ตามเวลาราชการ และสามารถติดต่อ โทรมตามกาลเวลาหรือจากการชำรุดจากการทิ้งระเบิด สอบถามเพิ่มเติมได้ที่เฟสบุ๊คโรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 อาคารแม้นศึกษาสถาน ก็ยังคงไว้ซึ่งรูปแบบของสถาปัตยกรรมตะวันตกที่ สวยงามตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน

พระที่นั่งวิมานเมฆ

Vimanmek Palace พระที่นั่งวิมานเมฆ ประวัติความเป็นมา พระที่นั่งวิมานเมฆสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ในปี 2443 หลังจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวเสด็จกลับจากประพาสยุโรปได้ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชฐานใหม่ขึ้นโดยซื้อ ที่บริเวณคลองผดุงกรุงเกษมจรดคลองสามเสนและ พระราชทานนามว่า “สวนดุสิต” โดยได้สร้างพระ ราชฐานใหม่ขึ้นจากพระที่นั่งมันธาตุรัตนโรจน์ซึ่งเป็น 1 ใน 4 พระที่นั่งในบริเวณพระราชวังจุฑาธุชราชฐาน บนเกาะสีชัง ชลบุรี พระที่นั่งวิมานเมฆเป็นพระที่นั่ง หลังแรกในพระราชวังดุสิต การสร้างได้รับแรง บันดาลใจจากพระราชวังของยุโรป สาเหตุที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชฐานขึ้นใหม่นี้เนื่องด้วย ในเขตพระราชฐานชั้นในพระบรมมหาราชวังมีความแอ อัดในเรื่องสถานที่และมีผู้คนเพิ่มมากขึ้น เป็นเหตุให้พระ องค์ริเริ่มสร้างพระราชวังดุสิตขึ้นเพื่อลดความแออัดใน พระบรมมหาราชวัง และพระองค์ทรงใช้พระที่นั่งวิมาน เมฆนี้เเป็นที่ประทับเป็นเวลา 5 ปี ที่อยู่: ถนนราชวิถี เขตดุสิต กรุงเทพฯ

ผู้ออกแบบการสร้างพระที่นั่งวิมานเมฆ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เป็น หนึ่งในเจ้านายที่ทรงมีความสามารถยอดเยี่ยมหลายด้าน ทรงได้รับคำ สรรเสริญพระเกียรติคุณอย่างมาก เรียกว่าเป็น “สมเด็จครู” นายช่างใหญ่ แห่งกรุงสยามจากความสามารถด้านศิลปะในแขนงต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นบท ประพันธ์ ศิลปกรรม และการออกแบบสถาปัตยกรรม โดยพระที่นั่งวิมานเมฆ นี้ก็เป็นหนึ่งในงานออกแบบของพระองค์ด้วยศิลปะแบบตะวันตกผสมผสาน รูปแบบไทย ที่เรียกว่า “วิกตอเรีย” ผลงานอื่นๆที่สำคัญ เช่น พระที่นั่งราชฤดี ประตูและกำแพงวังท่าพระ วัดเบญจมบพิตร พระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระ อุโบสถ วัดพระปฐมเจดีย์ ลักษณะทางสถาปัตยกรรม พระที่นั่งวิมานเมฆเป็นพระที่นั่งไม้สักทองที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่ได้รับ อิทธิพลจากสถาปัตยกรรมแบบยุโรป มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมที่ งดงามประณีต สร้างด้วยไม้สักทองทั้งหลัง ถูกล้อมรอบไปด้วยหมู่ ตำหนักน้อยใหญ่ซึ่งเคยเป็นที่ประทับของเจ้านายฝ่ายใน องค์พระที่นั่ง เป็นรูปอักษรตัวแอล (L) ประกอบด้วยตัวเรือนไม้สักทรงแปดเหลี่ยม สวยงามตระกาลตา มีสี่ชั้น ชั้นล่างสุดก่ออิฐ ชั้นถัดขึ้นไปสร้างด้วยไม้สัก ทองทั้งหมด หลังคาเป็นทรงไทยประยุกต์ มีลวดลายตามหน้าต่างและ ช่องลมซึ่งฉลุเป็นลายที่เรียกว่าขนมปังขิง โดยห้องที่งดงามที่สุดใน พระที่นั่งวิมานเมฆคือห้องท้องพระโรง ตัวอาคารของพระที่นั่งผสม ผสานลักษณะสถาปัตยกรรมแบบวิคตอเรียนเข้ากับไทยประยุกต์ได้ อย่างงดงามตระกาลตา

พระที่นั่งวิมานเมฆได้รับการปรับแต่งเป็นพิพิธภัณฑ์ที่เปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าชมห้องจัดแสดงต่างๆ ภายในพระที่นั่งได้ มีห้องจัดแสดงรวมทั้งสิ้น 31 ห้อง แบ่งเป็นห้องชุดต่าง ๆ แต่ละห้องจะจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ ส่วนพระองค์ของรัชกาลที่ 5 รวมถึงเจ้านายชั้นสูง ส่วนชั้นสองเป็นห้องทรงงานของรัชกาลที่ 5 และห้องบนชั้นสาม เป็นห้องบรรทม ซึ่งทุกห้องยังคงบรรยากาศในอดีตไว้ และยังสามารถเดินเล่นในสวนอันร่มรื่นภายในบริเวณพระที่นั่ง ได้อีกด้วย พระที่นั่งวิมานเมฆเมื่อครั้งที่เปิดให้เข้าชมเป็นพิพิธภัณฑ์นั้นได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวเป็นอย่างมากไม่ว่า จะเป็นชาวไทยหรือชาวต่างชาติก็ตาม พระที่นั่งไม้สักทองสวยงามอร่ามตาบวกกับเรือนไม้ร่มรื่นรอบบริเวณพระที่นั่ง เป็นสิ่งที่ดึงดูดสายตาผู้คนได้เป็นอย่างดีทีเดียว แต่ด้วยระยะเวลาการใช้งานกว่า 120 ปี ทำให้พระที่นั่งวิมานเมฆทรุด โทรมลงไปมากจนในปี 2560 ต้องปิดตัวลงเพื่อทำการบูรณะ ปรับปรุงโครงสร้างชั้นใต้ดินของพระที่นั่ง และยังคง ดำเนินการบูรณะมาจนถึงในปัจจุบัน ซึ่งก็คือปี 2565 แม้จะใช้ระยะเวลาหลายปีในการบูรณะและรักษาความงดงามนี้ไว้ ก็ยังมีผู้คนจำนวนมากที่ตั้งตารอวันที่พระที่นั่งวิมานเมฆแห่งนี้จะเปิดให้ผู้คนได้ยลโฉมความงดงามตระกาลตานี้อีก ครั้ง

โรงกษาปณ์สิทธิการ

โรงกษาปณ์สิทธิการ โดย คาร์ โล อั ลเ ลกรี (CARLO ALLEGRI ) โรงกษาปณ์สิทธิการ แห่งที่ 3 ได้จำลองรูปแบบของ สถาปั ตยกรรมนีโอคลาสสิค(NEO-CLASSICISM) แนวทางนีโอ ปั ลลาเดียน (NEO-PALLADIANISM) มาใช้เป็นหลั กในการ ออกแบบ เนื่ องจากลั กษณะทางสุนทรียภาพของสถาปั ตยกรรม แบบนี้มักให้ความรู้สึกถึ งบรรยากาศของความเคร่งขรึม สง่ างามจึงเหมาะสมสำหรับใช้กั บอาคารราชการประเภทที่ ทำการ กระทรวง ศาล โรงเรียน โรงงาน และสถานทูต เป็นต้ น สถาปนิกได้ ออกแบบตั ว อาคารหลังนี้ได้แรงบันดาลใจการวาง อาคารให้ เชื่ อมโยงต่ อกั น เป็นกลุ่ มอาคารรู ปสี่เหลี่ ยม ผังจากแบบแปลนโรงงานเครื่อง จักร จตุรัสล้ อมรอบลานโล่ ง เมืองเบอร์มิ่งแฮม ประเทศอังกฤษ จุด ปัจจุบันโรงกษาปณ์สิทธิ การ ได้กลายเป็น “พิพิธภัณ เด่นอยู่ที่มุขกลางด้านหน้าของอาคารที่มี ฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์” เป็นสถานที่เก็บรวบรวมและ หลังคาทรงจั่วแบบวิหารกรีก ผนังหน้า จัดแสดงผลงานศิลปกรรม ประเภททัศนศิลป์ของศิลปิน จั่วประดับตราแผ่นรูปดินปูนปั้ น ล้อมรอบ ผู้ที่มีชื่อเสียงทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ ตลอดจน ด้วยครึ่งวงกลมประกอบลายพันธ์พฤกษา เป็นศูนย์ศึกษา วิจัย และเผย แพร่ความรู้เกี่ยวกับ ผนังอาคารชั้นบน แบ่งเป็น 3 ส่วน ศิลปกรรมทั้งแบบไทย ประเพณีและร่วมสมัย แต่ละส่วนเจาะช่องหน้าต่างเป็น โครงสร้างโค้งครึ่งวงกลม (SEMI- CIRCULAR ARCH) แต่ไม่ประดับซุ้ม ผนังฉาบปูนเดินร่องลึกเป็นรูปช่อง สี่เหลี่ยมใหญ่เรียงกันเลียนแบบลายหิน ก่อ (RUSTICATION) มุมอาคารมีการ เน้นลายหินอ่อนให้นูนเป็นเสาอิงที่ไม่มีหัว เสา สำหรับผู้ที่สนใจเข้าชมงานศิลปภายในตัวอาคารหรือสนใจ มาถ่ายรูปความสวยงามของตัวอาคาร ทางพิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ หอศิลป์ เปิดให้เข้าชมเวลา 09.00 – 16.00 น. (หยุดวันจันทร์และวันอังคาร) โดยค่าเข้าชม คนไทย 30 บาท คนต่างชาติ 200 บาท

โรงกษาปณ์สิทธิการ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว ท ร ง พ ร ะ ก รุ ณ า โ ป ร ด เ ก ล้ า ฯ ใ ห้ ส ร้ า ง โ ร ง ก ษ า ป ณ์ แ ห่ ง ที่ 3 บ ริ เ ว ณ ริ ม ค ล อ ง ห ล อ ด ด้ า น ถ น น เ จ้ า ฟ้ า ท า ง ทิ ศ เ ห นื อ ข อ ง ท้ อ ง ส น า ม ห ล ว ง เ นื่ อ ง จ า ก โ ร ง ก ษ า ป ณ์ แ ห่ ง เ ดิ ม เ ริ่ ม คั บ แ ค บ แ ล ะ ท รุ ด โ ท ร ม โ ด ย โ ร ง ก ษ า ป ณ์ แ ห่ ง ที่ 3 มี พิ ธี เ ปิ ด อ ย่ า ง เ ป็ น ท า ง ก า ร เ มื่ อ วั น ที่ 4 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 4 4 5 โ ร ง ก ษ า ป ณ์ สิ ท ธิ ก า ร ไ ด้ รั บ ก า ร อ อ ก แ บ บ ก่ อ ส ร้ า ง โ ด ย น า ย ค า ร์ โ ล อั ล เ ล ก รี ( C A R L O A L L E G R I ) ส ถ า ป นิ ก แ ล ะ วิ ศ ว ก ร ป ร ะ จำ ร า ช สำ นั ก ส ย า ม คาร์โล อัลเลกรี (Carlo Allegri) วิศวกรชาวอิตาลี เข้ารับราชการในสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อเขาได้รับตำแหน่งนายช่างกลใหญ่หรือ หัวหน้าวิศวกรในกรมโยธาธิการ เขาได้คุม การก่อสร้างสะพานและถนนหลายแห่งใน ประเทศ และร่วมสร้างอาคารมากมาย เช่น พระที่นั่งอนันตสมาคม สะพานผ่านฟ้าลีลา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

บ้านเลขที่ 1

รั ช ก า ล ที่ 5 | บ้ า น เ ล ข ที่ 1 ทำความรู้จักบ้านเลขที่ 1 พื้ นที่ของบ้านเลขที่ 1 เดิมทีเป็นของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงพระราชทานให้แก่ พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ฯ ซึ่งเป็นพระอัครชายาเธอในองค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ ซึ่งที่ดินทางทิศเหนือเคยเป็นบริษัทค้าไม้ของ MR. LOUIS T. LEONOWENS ลูกชาย ของแหม่มแอนนา เขตไปรษณีย์บางรัก (เดิมเป็นเขตสี่พระยา) เห็นว่าเป็นอาคารของพระคลังข้างที่จึงให้เกียรติ เป็นอาคารหมายเลข 1 และทรงโปรดให้พระคลังข้างที่จัดหาผู้เช่า โดยผู้เช่ารายแรกก็คือบริษัทกลั่นสุราของฝรั่งเศส ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ตั ว อ า ค า ร เ ป็ น อ า ค า ร ส อ ง ชั้น ก่ อ ส ร้า ง ต า ม ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม แ บ บ ยุ โ ร ป ยุ ค นี โ อ ค ล า ส สิ ค ห ลั ง ค า ท ร ง ปั้ น ห ย า สี เ ขี ย ว ขี้ ม้ า อ อ ก แ บ บ ใ ห้เ ป็ น ห น้ า จั่ว ต ร ง ก ล า ง ที่ ด้ า น ห น้ า อ า ค า ร ตั ว ตึ ก เ ป็ น สี เ ห ลื อ ง น ว ล ห น้ า ต่ า ง ท า สี เ ขี ย ว ม ะ ก อ ก ตั ด ข อ บ ด้ ว ย สี ข า ว ป ร ะ ตู แ ล ะ ห น้ า ต่ า ง เ ป็ น ท ร ง โ ค้ ง แ บ บ โ ร มั น พื้ น ชั้น ล่ า ง ปู หิน อ่ อ น พื้ น ชั้น บ น ปู ไ ม้ สั ก ด้ า น ห น้ า ข อ ง อ า ค า ร หัน ไ ป ท า ง แ ม่ น้ำ เ จ้ า พ ร ะ ย า

รั ช ก า ล ที่ 5 | บ้ า น เ ล ข ที่ 1 ปัจจุบัน สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ได้ ฟื้ นฟู อาคารบ้านเลขที่ 1 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 แล้วเสร็จ ในปี พ.ศ. 2560 กรมศิลปากรจึงได้ขึ้นทะเบียนบ้านเลข ที่ 1 เป็นโบราณสถาน หลังบูรณะเสร็จก็เปิดเป็นสถานที่ รับจัดงานเลี้ยงต่างๆ เช่น งานหมั้น งานแต่งงาน กาลา ดินเนอร์ หรืองานเปิดตัวสินค้า ห า ก เ ดิ น เ ข้ า ไ ป ใ น ซ อ ย เ จ ริญ ก รุ ง 3 0 ก็ จ ะ ไ ด้ เ จ อ อ า ค า ร เ ก่ า แ ก่ ห ลั ง ใ ห ญ่ ห ลั ง ห นึ่ ง ที่ แ ต่ ก่ อ น เ ค ย ถู ก ทิ้ ง ร้า ง จ น ดู น่ า ก ลั ว แ ต่ เ มื่ อ สำ นั ก ง า น ท รัพ ย์ สิ น พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริย์ ไ ด้ ฟื้ น ฟู อ า ค า ร ห ลั ง นั้น ก็ ทำ ใ ห้อ า ค า ร ดู มี ชี วิ ต ชี ว า ม า ก ขึ้ น ซึ่ ง อ า ค า ร ห ลั ง นั้น ก็ คื อ \" บ้ า น เ ล ข ที่ 1 \" ที่ ตั้ง : ถ น น สี่ พ ร ะ ย า เ ข ต บ า ง รัก ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร ก า ร เ ดิ น ท า ง : จ า ก B T S ส ะ พ า น ต า ก สิ น นั่ง ร ถ โ ด ย ส า ร ป ร ะ จำ ท า ง ส า ย 1 ห รือ 7 5 ล ง บ ริเ ว ณ ห น้ า อ า ค า ร ไ ป ร ษ ณี ย์ ก ล า ง บ า ง รัก จ า ก นั้น เ ดิ น เ ข้ า ซ อ ย เ จ ริญ ก รุ ง 3 0 ห รือ ล ง เ รือ ด่ ว น เ จ้ า พ ร ะ ย า ( ธ ง ส้ ม ธ ง เ ขี ย ว แ ล ะ ธ ง เ ห ลื อ ง ) จ า ก ท่ า เ รือ ส า ท ร ม า ขึ้ น ที่ ท่ า สี่ พ ร ะ ย า

พระราชวังราชนิเวศน์

PHRARAMRATCHANIWET (BAAN PUAN PALACE) พระราชวังรามราชนิเวศน์ หรือ พระราชวังบ้านปืน พระรามราชนิเวศน์แห่งนี้ตั้งอยู่ที่บ้านปืน อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี เดอริงเข้ามารับราชการเป็นสถาปนิก เป็นพระราชวังที่มีความงดงามสวยแปลกตาตามสไตล์ยุโรป สร้างในสมัยของ ทำงานในกรมศุขาภิบาล ใน พ.ศ. 2452 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และในปีนี้ยังได้รับการมอบหมายให้สร้าง วังพระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ และในเดือน พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ให้สร้างพระราชวังแห่งนี้ขึ้นเพื่อใช้สำหรับ กันยายน พ.ศ. 2452 ได้รับการแต่งตั้ง แปรพระราชฐานในฤดูฝน และสร้างขึ้นเมื่อเสด็จประพาสจังหวัดเพชรบุรี จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวโปรดเกล้าฯ เป็นผู้ออกแบบและ โดยมีคาร์ล ดอห์ริง สถาปนิกชาวเยอรมนีเป็นผู้ออกแบบ ดร.ไบเยอร์ ควบคุมการก่อสร้างพระรามราชนิเวศน์ที่ เป็นนายช่างก่อสร้าง พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ ทรง จังหวัดเพชรบุรี ควบคุมการก่อสร้าง และสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรม งานสำคัญอื่น เช่น สร้างวังวรดิศ ขุนนครสวรรค์วรพินิต ทรงควบคุมด้านการไฟฟ้า พระตำหนักหลังนี้ยังมีสิ่งที่ดึงดูดใจ ลักษณะสถาปัตยกรรม อีกมากมาย เช่น การตกแต่งภายใน แต่ละห้องให้มีรูปลักษณ์แตกต่างกันไป พระตำหนักได้ใช้ลักษณะทางสถาปัตยกรรมแบบบาโรค (Baroque) ทั้งสีสันและวัสดุที่ใช้ และแบบอาร์ตนูโว (ArtNouveau) หรือที่เยอรมันเรียกว่า จุงเกนสติล(Jugendstil)ตัวพระตำหนักจะเน้นความทันสมัยโดยจะไม่มีลายปูนปั้ น วิจิตรพิศดารเหมือนอาคารในสมัยเดียวกัน พระตำหนักหลังนี้จะเน้นในเรื่องของ ความสูงของหน้าต่าง ความสูงของเพดาน ซึ่งกว้างเป็นพิเศษ ทำให้พระตำหนักดู ใหญ่โต โอ่อ่า สง่างาม และตระการตา ปัจจุบัน รัชกาลที่ 9 โปรดฯ ให้ใช้พระรามราชนิเวศน์นี้เป็นหน่วยบัญชาการของทหารบก เปิดให้เข้าชมทุกวันตั้งแต่เวลา 08.00 – 16.00 น. และเป็นพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะของจังหวัดเพชรบุรีด้วย โดยค่าเข้าชม ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท นักเรียนนักศึกษาในเครื่องแบบ 5 บาท ชาวต่างชาติ 50 บาท โทร. 0 3242 8506-10 ต่อ 259

ท่าช้างวังหลวง

THA CHANG WANG LUANG ท่าช้างวังหลวง สถานที่ตั้ง ประวัติความเป็นมา ริมถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง ความเป็นมาของชื่อท่าช้างวังหลวงเริ่มต้นมาจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชแล้ว เนื่องจากบริเวณนี้เป็นประตูเมืองที่ใช้สำหรับ นำช้างจากวังหลวงออกมาลงอาบน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณนี้จึงถูกขนานชื่อ อาณาเขต ตามประโยชน์ใช้สอยว่า “ท่าช้างวังหลวง” และชื่อนี้ก็กลายเป็นชื่อที่นิยมและ ถูกเรียกสืบต่อกันมา ทิศเหนือจรดแฟลตทหารบก ทิศใต้จรดถนนหน้าพระลาน ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้ทรงมีพระบรม ทิศตะวันออกจรดถนนมหาราช ราชโองการให้ตัดถนนมหาราชและให้ใช้ที่ดินด้านทิศเหนือของถนนมหาราชริมแม่น้ำ ทิศตะวันตกจรดแม่น้ำเจ้าพระยา เจ้าพระยาทำเป็นที่พักพระราชทานแก่เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ ยม เมื่อเจ้าคุณจอมมารดา เปี่ ยมไม่ได้พักที่นี่แล้ว พระองค์ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้พื้นที่ส่วนนี้แบ่งเป็น ที่ทำการของกรมการทหารเรือ โรงพยาบาล และโรงเลี้ยงอาหารของทหารรักษาวัง พร้อมทั้งให้รื้ออาคารเรือนแถวไม้ริมถนนมหาราชออกและก่อสร้างเป็นอาคารตึกแถว แทน และอาคารตึกแถวนี้เองที่เป็นจุดเริ่มต้นของสถานที่ “ท่าช้างวังหลวง” ที่เรา รู้จักและพบเห็นกันในปัจจุบัน ตึกแถวท่าช้างวังหลวงมีผังเป็นรูปตัวแอล (L) พระบาทสมเด็จพระจุลจอม เกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้พระคลังข้างที่สร้างอาคารด้านติดกับท่าช้างวังหลวงขึ้นใน พ.ศ. 2452 เพื่อปล่อยเช่าแก่ประชาชน โดยสามารถสร้างได้ 22 คูหา เนื่องจากพื้นที่ติดกับ โรงพยาบาล ต่อมาเมื่อโรงพยาบาลย้ายออกไปในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเล้า เจ้าอยู่หัว พระองค์ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รื้อกำแพงพระนครริมถนนมหาราช และสร้างอาคารลักษณะเดียวกันต่อมาทางทิศเหนือเพิ่มเติมอีกจำนวน 12 คูหา ตึกแถวท่าช้างวังหลวงจึงมีจำนวนรวมทั้งสิ้น 34 คูหา จนถึงปัจจุบัน

ลักษณะสถาปัตยกรรม ท่าช้างวังหลวงถูกสร้างขึ้นตามแบบสถาปัตยกรรมนีโอคลาสสิคซึ่งกำลังเป็นที่ นิยมในตะวันตกขณะนั้น และยังประดับตัวอาคารด้วยลวดลายนูนต่ำตามศิลปะแบบบา โรค เป็นอาคารสูงสองชั้น หลังคาทรงปั้ นหยา มุงกระเบื้องว่าว มีขอบสันหลังคาแบ่ง แต่ละคูหา มีกระบังหน้าของอาคาร (pediment) เฉพาะช่วงมุมถนนมหาราช และคูหา สุดท้ายของแถว pediment เป็นปูนปั้ นนูนต่ำลายดอกไม้คล้ายกับดอกบัวประดับด้าน ข้างทั้งสองข้างด้วยแจกันปูนปั้ นคอสองประดับลายเฟือง เสามีสองแบบ แบบหนึ่ง เป็นเสาอิงหรือเสาประดับอาคารลักษณะเป็นเสาเหลี่ยมมีรอยเซาะร่องแบ่งตามแนว ขวางของต้นเสา อีกแบบหนึ่งเป็นเสากลมเรียบ ปลายเป็นลายก้นหอยแบบ ionic หน้าต่างแต่ละคูหาจะเป็นบานแฝดอยู่ภายในกรอบโค้งปูนปั้ น ซึ่งเลียนแบบการ ก่อสร้างด้วยหิน ช่องลมหน้าต่างฉลุลาย ช่องแสงระหว่างหน้าต่างแฝดเป็นลาย ดอกไม้ภายในวงกลม มีระเบียงที่คูหาชั้นบน โดยเมื่อสร้างเสร็จสีของตัวอาคารนั้นเป็น สีขาว แต่เมื่อเวลาผ่านไปเกิดการทรุดโทรม ทำให้เกิดการซ่อมแซมบูรณะขึ้นโดยทาสี ใหม่ ทำให้ในปัจจุบัน ตัวอาคารท่าช้างวังหลวงเป็นสีเหลืองสวยงามสะดุดตา เนื่องจากตัวอาคารท่าช้างวังหลวงเกิดการชำรุดทรุดโทรมลงตามกาลเวลา จึง ได้มีการบูรณะโดยการทาสีตัวอาคารใหม่เป็นสีเหลือง ปรับปรุงทัศนียภาพโดยรอบ จัด ระเบียบร้านค้าใหม่จากร้านแผงลอยที่แอดอัดให้มีความเป็นระเบียบมากยิ่งขึ้น ทำให้ ทัศนียภาพโดยรอบดูโปร่งโล่งสบาย ทำให้บริเวณท่าช้างวังหลวงนี้กลายเป็นที่พักผ่อน หย่อนใจของผู้ผ่านไปผ่านมา นอกจากนั้นยังมีการสร้างอุโมงค์ใต้ดินที่เป็นอุโมงค์ทาง เดินลอดใต้ถนนมหาราชกับถนนหน้าพระลาน เรียกว่า “อุโมงค์มหาราช” อุโมงค์นี้ไม่ได้ มีประโยชน์ในการสันจรอย่างสะดวงทางเดียวเท่านั้น แต่ภายในอุโมงค์ทางเดินยังมี การจัดทำนิทรรศการประวัติศาสตร์ต่างๆ การจัดแสดงภาพถ่ายในอดีตของย่าน ท่าช้างวังหลวงที่หาชมได้ยากในปัจจุบัน ทำให้ภายในอุโมงค์มหาราชนี้เปรียบเสมือน พิพิธภัณฑ์ขนาดย่อมเลยทีเดียว กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานตึกแถวริม ถนนมหาราชบริเวณท่าช้างวังหลวง จำนวน 34 คูหา เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2544

ปัจจุบันนี้ย่านท่าช้างวังหลวงกลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมอย่าง มากด้วยความสวยงามสะดุดตาจากอาคารบ้านเรือนที่ดูคลาสสิคและมีเสน่ห์ พร้อมทั้งมี กลิ่นอายของประวัติศาสตร์และบรรยากาศโดยรอบ มีร้านค้าขายของอร่อยมากมายให้ เลือกลิ้มลอง และตัวอาคารที่เมื่อกระทบกับแสงอาทิตย์ยามเย็นช่างสวยงามจับใจ ความ สวยคลาสสิคนี้เองที่ทำให้ท่าช้างวังหลวงแห่งนี้สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวและผู้คนที่ ผ่านไปมาให้หยุดชะงักและพักชมความงดงามของสถานที่แห่งนี้ได้เป็นจำนวนมาก

วังจันทรเกษม

วัง ตั้งอยู่บนถนนราชดำเนิน ใกล้สะพานมัฆวานรังสรรค์ จันทรเกษม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ สร้างพระราชทานแก่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้า มหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร (รัชกาลที่ 6) โดยเริ่ม ก่อสร้างฐานรากเมื่ อ พ.ศ. 2453 แต่รัชกาลที่ 5 สวรรคต เสียก่อน ตัวตำหนักจึงไม่แล้วเสร็จ การก่อสร้างวัง จันทรเกษมได้ดำเนินการก่อสร้างในสมัยรัชกาลที่ 6 ขึ้น ครองราชย์แล้ว แต่มิได้มีลวดลายวิจิตรพิสดารดังเช่นวัง เจ้าฟ้าทั่ว ๆ ไป คงเนื่ องจากไม่ได้ใช้เป็นที่ประทับของ รัชกาลที่ 6 บ ริเ ว ณ ที่ ปั จ จุ บัน เ ป็ น ที่ ตั้ ง คุรุ ส ภ า เ ป ลี่ ย น เ ป็ น โ ร ง เ รีย น กิ น น อ น ข อ ง เ ห ล่ า นั ก เ รีย น ใ น ก ร ม ม ห ร ส พ แทน จวบจนกระทั่งล่วงมาถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระองค์ จึงพระราชทานวังนี้แก่กระทรวงศึกษาธิการหรือที่สมัยนั้นเรียกกันว่ากระทรวงธรรมการ แล้วจึง เปลี่ยนนามใหม่ว่า โรงเรียนการเรือนวังจันทรเกษม แต่แล้วเมื่อปี พ.ศ. 2483 โรงเรียนการเรือนฯ แห่งนี้ก็ได้ย้ายไปยังสวนสุนันทาแทน (ปัจจุบันคือ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต) ส่วนบริเวณที่ปัจจุบันเป็น กระทรวงศึกษาธิการในสมัยรัชกาลที่ 6 เป็นที่ตั้งกองบัญชาการกรมมหรสพและโรงพยาบาลกรม มหรสพ

ปัจจุบัน วังจันทรเกษมเป็นที่ทำการของหน่วยงานกระทรวงศึกษาธิการ ส่วน ตัวพระตำหนักเป็นที่ตั้งของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ส่วนใหญ่เน้น ใช้ในการฝึกอบรบวิชาชีพหรือการประชุมต่างๆ และเป็นอีกสถานที่หนึ่งที่ทรง คุณค่าทางประวัติศาสตร์ควรค่าแก่การเยี่ยมชม

อาคารเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

อาคารสวนกุหลาบวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2454 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้สร้างตึกยาวขึ้นเพื่อดำเนินการสอน การที่พระองค์ทรงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สร้างตึกยาวนี้ ทรงมอบให้กรมโยธาธิการเป็นผู้ ออกแบบโดยใช้งบประมาณของวัดราชบูรณะ ซึ่งในเวลานั้นสร้างตึกให้ชาวบ้านเช่าโดยเปลี่ยนเป็นให้โรงเรียน เช่าแทนเพื่อใช้เป็นโรงเรียนแผนใหม่ ทั้งนี้ด้วยความคิดของเจ้าพระยาพระเสด็จ สุเรนทราธิบดี (หม่อม ราชวงศ์เปีย มาลากุล) ศิษย์เก่าเลขประจำตัวหมายเลข 2 ของโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ เสนาบดี กระทรวงธรรมการในขณะนั้น โดยมีการเซ็นสัญญาเช่ากับพระธรรมดิลก เจ้าอาวาสวัดราชบูรณะในสมัยนั้น โดยมีนายเอง เลียงหยง เป็นผู้รับเหมาก่อสร้าง ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 10,150 บาท จึงได้เกิดตึกยาวรวม นักเรียนสวนกุหลาบจากที่ต่างๆ ดังที่เห็นในปัจจุบัน

ตึกยาว อาคารเรียนที่ยาวที่สุดใน ประเทศไทย ตึกยาวแห่งสวนกุหลาบ ความจริงแล้วก่อนช่วงเกิดสงครามโลก ตึกยาวดังกล่าวเป็นของโรงเรียน เพาะช่าง ซึ่งมีหลักฐานเป็นภาพป้ายโรงเรียนเพาะช่างติดอยู่บริเวณทางเข้าตึกยาว ตึกยาวก่อสร้างด้วย สถาปัตยกรรมยุโรปแบบนีโอสยาม ซึ่งเป็นที่นิยมในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อแรกสร้างนั้นเป็นอาคารสูงสองชั้น มีผังแบบเรียบง่าย ทำเป็นห้องเรียนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดใหญ่สลับกับห้องเรียนขนาดเล็ก ถ้าเดินมองจาก ริมรั้วเราจะเห็นผนังอาคารด้านติดถนนชั้นล่างเป็นแนวหน้าต่างโค้ง ส่วนชั้นบนบางส่วนถอยร่นผนังเข้าไป อยู่หลังแนวซุ้มโค้งที่เป็นทางเดิน มีลวดลายปูนปั้ นสวยงามประดับอยู่ ไล่มาเรื่อยๆ จนถึงตรงกลางจะเป็น ช่องทางเข้าสู่ภายในโรงเรียน ทำเป็นหลังคาจั่ว ตกแต่งด้วยปัลลาเดียนโมทิฟตามแบบของวิลล่าที่ออกแบบ โดยปัลลาดิโอ เมื่อก้าวเท้าสู่ภายในโรงเรียนจะเห็นผนังด้านภายในบริเวณโรงเรียนเป็นแนวทางเดินในซุ้มโค้ง ยาวสุดสายตาตลอดทั้งชั้นบนและล่าง

ตึ ก ย า ว ปัจจูบันภายในอาคารชั้นล่างของตึกยังเป็นที่ตั้งของ \"พิพิธภัณฑ์การศึกษา\" โดยภายใน พิพิธภัณฑ์จะแบ่งห้องจัดแสดงทั้งหมด 14 ห้องนิทรรศการ ซึ่งมีนิทรรศการประวัติศาสตร์ของ โรงเรียนสวนกุหลาบที่น่าสนใจมากมายควรค่าแก่การไปเยี่ยมชม ยกตัวอย่างเช่น \"ห้อง ภูมิปัญญาครูสวนกุหลาบวิทยาลัย\" ซึ่งข้อมูลการจัดทำเป็นห้องภูมิปัญญาครูนี้ได้มาจากงานวิจัย ภูมิปัญญาครูสวนกุหลาบ จากความร่วมมือของครูเก่า ครูปัจจุบัน ศิษย์เก่า ในสมัย ผอ. สม หมาย วัฒนคีรี ในห้องนี้จัดแสดงสื่ อการสอน แบบเรียน วารสารสวนกุหลาบ หนังสือพิมพ์สวน กุหลาบ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ต่างๆ เครื่องดนตรี ห้องเรียนโบราณจำลอง ระฆังตีบอกเวลา คอมพิวเตอร์เครื่องแรก และไม้เรียวที่ใช้สั่งสอนคุณธรรมนักเรียนในสมัยก่อน พิพิธภั ณฑ์ การศึ กษา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลั ย ถ.ตรีเพชร พระนคร กรุงเทพฯ ผู้ที่ สนใจ สามารถเข้าชมได้ฟรี ในวันจันทร์-ศุ กร์ เวลา 08.00-16.00 น. สำหรับผู้เข้าชมเป็นหมู่คณะ โปรดแจ้งล่ วงหน้า หรือสอบถามข้อมู ลได้ที่ งานพิพิธภั ณฑ์ โทร.0-2225-5605-8 ต่ อ 105

พระที่นั่งบรมพิมาน

THE GRAND PALACE พระที่นั่งบรมพิมาน เวลาเปิดเข้าชม ส่วนพระบรมมหาราชวัง พระที่นั่งบรมพิมานเดิมชื่อว่าพระที่นั่งภานุมาศจำรูญ เป็นพระที่นั่งที่อยู่ในพระบรม ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 8.30 น. - 15.30 น. มหาราชวัง ทางด้านใต้ของวัดพระศรีรัตนศาสดาราม อยู่เหนือสวนศิวาลัย บริเวณ คลังสรรพาวุธเดิม สถานที่ตั้ง ถนนหน้าพระลาน เขตพระนคร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อพระราชทาน ( รัตนโกสินทร์ ) สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศสยามมกุฎราชกุมาร แต่เจ้าฟ้ามหา วชิรุณหิศเสด็จสวรรคตเสียก่อนจึงพระราชทานให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระบรม การจำหน่ายบัตร (เฉพาะชาวต่างชาติ) โอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) เปิดจำหน่ายบัตรเข้าชม ตั้งแต่เวลา 8.30 น. - 15.30 น. ลักษณะสถาปัตยกรรม บัตรราคา 500 บาท พระที่นั่งบรมพิมาน เป็นอาคารสองชั้น หลังคารูปโค้ง มุงด้วยกระเบื้อง หินชนวน เป็นสถาปัตยกรรมแบบยุโรปที่ได้รับการออกแบบโดยสถาปนิกชาวยุโรป ผู้ทำการก่อสร้างคือ พระยาประดิษฐ์อมรพิมาน (หม่อมราชวงศ์ชิต อิศรศักดิ์) ถึงแม้ไม่ได้เปิดให้ชมในส่วนของ ปัจจุบัน ใช้เป็นที่ทรงงานในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนา พระที่นั่งบรมพิมาน แต่พระที่นั่งแห่งนี้ พรรณวดี เพื่อเสด็จออกรับบุคคลที่ขอเข้าเฝ้า และใช้เป็นกองงานในพระองค์ ยังคงเป็นสถาปัตยกรรมอันล้ำค่าที่มี ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ความสวยงามเป็นอย่างสูง ภายนอก อาคารลึกลับซับซ้อนสวยงามไม่แพ้ ภายในอาคารเลยทีเดียว

ARCHITECTUREKING RAMA 5 ARCHITECTURE KING RAMA 5


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook