เศรษฐกจิ พอเพยี งตามแนวทางของรชั กาลท๙ี
๒ คำนำ หนงั สือเล่มน้ีมีเน้ือหาเก่ียวกบั “เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวทางของรัชกาลที่ ๙ ” เพ่ือให้ไดศ้ ึกษาหาความรู้ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงและการนามาใชใ้ นชีวิตประจาวนั และการประกอบอาชีพ ศึกษาอยา่ งเขา้ ใจเพ่ือเป็นประโยชน์กบั การเรียน ผจู้ ดั ทาหวงั วา่ หนังสือเล่นน้ีจะเป็ นประโยชน์กบั ผูอ้ ่าน หากมีขอ้ แนะนาหรือขอ้ ผิดพลาดประการ ผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ท่ีน้ีดว้ ย
สำรบัญ หน้า ๒ เร่ือง ๔ คำนำ ๕ ผ้จู ดั ทำ ๖ ควำมเป็นมำของเศรษฐกิจพอเพียง ๗ ควำมหมำยเศรษฐกิจพอเพยี ง ๘ หลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอพยี ง ๙ หลกั กำรและแนวทำงด้ำนเศรษฐกิจพอเพียง ๑๐-๒๐ กำรนำหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้กบั ตนเอง ๒๑- ๒๔ 10 โครงกำรพระรำชดำริ ภำพพระกรณียกิจ รัชกำลที่ ๙
๔ ผู้จดั ทำโครงกำร 1. นำงสำวเกศินี กำญจนำกร รหัส 6132160001 2. นำงสำวชุตกิ ำญจน์ อทิ ธิฤทธ์ิ รหัส 6132160005 3. นำงสำวธนำภรณ์ ศิริมงั คลำ รหัส 6132160009 4. นำงสำวอำทยิ ำ ทวยนำค รหัส 6132160020
๕ ควำมเป็ นมำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพยี งเป็นปรัชญาที่ยดึ หลกั ทางสายกลาง ที่ช้ีแนวทางการดารงอยแู่ ละ ปฏิบตั ิของประชาชนในทุกระดบั ใหด้ าเนินไปในทางสายกลาง มีความพอเพยี ง และมี ความพร้อมที่จะจดั การต่อผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง ซ่ึงจะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ รอบคอบ และระมดั ระวงั ในการวางแผนและดาเนินการทุกข้นั ตอน ท้งั น้ี เศรษฐกิจ พอเพียงเป็นการดาเนินชีวติ อยา่ งสมดุลและยงั่ ยนื เพอ่ื ใหส้ ามารถอยไู่ ดแ้ มใ้ นโลก โลกาภิวตั น์ที่มีการแข่งขนั สูง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงปรับปรุ งพระราชทานเป็ นที่มาของนิยาม 3 ห่วง 2 เง่ือนไขนามาใชใ้ นการรณรงคเ์ ผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผา่ น ช่องทางสื่อต่าง ๆ อยใู่ นปัจจุบนั ซ่ึงประกอบดว้ ยความ \"พอประมาณ มีเหตุผล มี ภูมิคุม้ กนั \" บนเงื่อนไข \"ความรู้\" และ \"คุณธรรม\"
๖ ควำมหมำยเศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทำงปฏิบตั ิของทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทำงในกำร พัฒนำที่นำไปสู่ควำมสำมำรถในกำรพ่ึงตนเอง ในระดับต่ำง ๆ อย่ำงเป็น ขัน้ ตอน โดยลดควำมเสี่ยงเก่ียวกับควำมผันแปรของธรรมชำติ หรือกำร เปล่ียนแปลงจำกปัจจยั ตำ่ ง ๆ โดยอำศยั ควำมพอประมำณและควำมมีเหตผุ ล กำรสร้ ำงภมู ิค้มุ กนั ที่ดี มีควำมรู้ ควำมเพียรและควำมอดทน สติและปัญญำ กำรชว่ ยเหลือซงึ่ กนั และกนั และควำมสำมคั คี
๗
๘ หลกั กำรและแนวทำงด้ำนเศรษฐกจิ พอเพยี ง แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงนนั้ เป็นแนวคิดที่ตงั้ อย่บู นควำมไม่ประมำท จะต้อง อำศยั ควำมรอบรู้ ควำมรอบคอบ และควำมระมดั ระวงั อย่ำงยิ่งในกำรนำวิชำกำรตำ่ งๆ มำใช้ในกำรวำงแผนและกำรดำเนินกำร ทุกขัน้ ตอน และขณะเดียวกัน จะต้อง เสริมสร้ำงพืน้ ฐำนจิตใจ ควำมซื่อสตั ย์สจุ ริต และให้มีควำมรอบรู้ที่เหมำะสม ดำเนิน ชีวิต ด้วยควำมอดทน ควำมเพียร มีสติ ปัญญำ และควำมรอบคอบ ด้วยกำรใช้ควำมรู้ และคณุ ธรรม เพื่อให้เกิดกำรพง่ึ พำตวั เองได้ และเผื่อแผ่ไปถึงสงั คม ซงึ่ เรำสำมำรถนำ หลกั กำรปฏบิ ตั ิไปปรับใช้ได้ทงั้ ในชีวิตกำรทำงำน และกำรดำรงชีวติ
กำรนำหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้กบั ตนเอง ๙ กำรนำหลกั เศรษฐกิจพอเพียงมำใช้นนั้ ขนั้ แรก ต้องยดึ หลกั \"พงึ่ ตนเอง\" คือ พยำยำม พงึ่ ตนเองให้ได้ก่อน ในแตล่ ะครอบครัวมีกำรบริหำรจดั กำรอย่ำงพอดี ประหยดั ไม่ ฟ่ มุ เฟื อย สมำชิกในครอบครัวแตล่ ะคนต้องรู้จกั ตนเอง - ยดึ หลกั พออยู่ พอกิน พอใช้ - ยดึ ควำมประหยดั ตดั ทอนคำ่ ใช้จ่ำย ลดควำมฟ่ มุ เฟื อยในกำรดำรงชีพ - ยดึ ถือกำรประกอบอำชีพด้วยควำมถกู ต้องและสจุ ริต - ละเลกิ กำรแก่งแยง่ ผลประโยชน์และแขง่ ขนั ในกำรค้ำขำย ประกอบอำชีพแบบ ตอ่ ส้กู นั อย่ำงรุนแรง - นำควำมรู้ ควำมเข้ำใจอยำ่ งลกึ ซงึ ้ เพือ่ ปรับวิถีชีวติ สกู่ ำรพฒั นำทีย่ งั่ ยืน
๑๐
โครงกำรแก้มลงิ ๑๑ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอย่หู วั พระรำชทำนเพื่อแก้ไขปัญหำอทุ กภยั ในเขตเมือง ชุมพร ซ่ึงสร้ ำงควำมเสียหำยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของชำวชุมพรในช่วงฤดูมรสุม สืบเน่ืองจำกอุทกภัยพำยุไต้ฝ่ ุนซีต้ำ ในเดือนสิงหำคม 2540 ท่ีสร้ ำงควำมเสียหำย ให้กบั จงั หวดั ชมุ พรเป็นอย่ำงมำก
โครงกำรฝนหลวง ๑๒ เป็นโครงกำรทเี่ กิดขนึ ้ จำกพระรำชดำริสว่ นพระองค์ในพระบำทสมเดจ็ พระปรมินทรมหำภมู ิพลอดลุ ยเดช เพ่ือสร้ำงฝนเทียมสำหรับบรรเทำควำมแห้งแล้ง ให้แก่เกษตรกรกำรทำฝนหลวงเป็นกรรมวิธีกำรเหนี่ยวนำนำ้ จำกฟ้ำ จะต้องให้ เคร่ืองบินท่ีมีอตั รำกำรบรรทกุ มำก ๆ บรรจสุ ำรเคมีขนึ ้ ไปโปรย ในท้องฟำ้ โดยดจู ำก ควำมชืน้ ของจำนวนเมฆและสภำพทศิ ทำงของลมประกอบกนั ปัจจยั สำคญั ที่ทำให้ เกิดฝนคือ ควำมร้ อนชืน้ ปะทะควำมเย็นและมีแกนกล่ันตัว ท่ีมีประสิทธิภำพใน ปริมำณทเ่ี หมำะสม
โครงกำรชั่งหัวมัน ๑๓ เม่ือปี พ.ศ. 2551 พระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภมู ิพลอดลุ ยเดช ทรงซือ้ ที่ดินจำกรำษฎรบริเวณอ่ำงเก็บนำ้ หนองเสือ ประมำณ 120 ไร่ และต่อมำปี พ.ศ. 2552 ทรงซือ้ แปลงติดกันเพิ่มอีก 130 ไร่ รวมเนือ้ ที่ทัง้ หมดเป็น 250 ไร่ โดยมี พระรำชดำริให้ทำเป็นโครงกำรตวั อยำ่ งด้ำนกำรเกษตรรวบรวมพนั ธ์พุ ืชเศรษฐกิจใน พืน้ ที่อำเภอท่ำยำง จังหวัดเพชรบุรี และพืน้ ที่ใกล้เคียงมำปลกู ไว้ท่ีนี่ ซึ่งเดิมที่ดิน บริเวณนีม้ ีควำมแห้งแล้งมำก และได้เริ่มดำเนินกำรตงั้ แต่ วนั ที่ 13 กรกฎำคม พ.ศ. 2552 เป็นต้นมำ
โครงกำรแกล้งดนิ ๑๔ แกล้งดิน เป็นแนวพระรำชดำริของพระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภมู ิพลอ ดลุ ยเดช เกี่ยวกบั กำรแก้ปัญหำดินเปรีย้ ว หรือดินเป็นกรด โดยมีกำรขงั นำ้ ไว้ในพืน้ ท่ี จนกระทงั่ เกิดปฏิกิริยำเคมีทำให้ดินเปรีย้ วจดั จนถึงท่ีสดุ แล้วจงึ ระบำยนำ้ ออกและ ปรับสภำพฟืน้ ฟดู นิ ด้วยปนู ขำว จนกระทงั่ ดนิ มีสภำพดีพอทจ่ี ะใช้ในกำรเพำะปลกู ได้
โครงกำรพฒั นำดอยตุง ๑๕ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หวั (รัชกำลที่ 9) ในกำรแก้ไขปัญหำต่ำงๆ ด้วย ทรงสงั เกตเห็นว่ำชำวไทยภเู ขำส่วนใหญ่ยำกจนและขำดโอกำสในกำรดำเนินชีวิต พระองค์จงึ มีพระรำชปณิธำนริเริ่มทำเป็นโครงกำรพฒั นำแบบเบ็ดเสร็จ ภำยใต้กำร ดำเนินงำนของมลู นิธิแม่ฟ้ำหลวง ในพระบรมรำชปู ถมั ป์ เพื่อขยำยผลกำรช่วยเหลือ ประชำชนในพืน้ ท่ีให้มีควำมรู้ มีอำชีพ สำมำรถเลีย้ งตัวเองได้ พร้ อมกับพัฒนำ สภำพแวดล้อมทีเ่ คยเสอ่ื มโทรมบนดอยตงุ ให้กลบั มีควำมอดุ มสมบรู ณ์
โครงกำรพฒั นำอ่ำวคุ้งกระเบน ๑๖ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว (รัชกำลท่ี 9) มีพระรำชดำริแก่ผู้ว่ำรำชกำรจงั หวัด จนั ทบรุ ี เม่ือ พ.ศ. 2524 ควำมวำ่ ให้พิจำรณำพืน้ ทเ่ี หมำะสม จดั ทำโครงกำรพฒั นำ อำชีพกำรประมงและกำรเกษตรในเขตท่ีดินชำยฝ่ังทะเลจนั ทบรุ ี กำรพฒั นำอ่ำวค้งุ กระเบนขนึ ้ เพื่อดำเนินกำรศกึ ษำ สำธิต และพฒั นำท่ดี ินชำยฝั่งทะเลอ่ำวค้งุ กระเบน และพืน้ ทใ่ี กล้เคยี ง
โครงกำรปลำนิลจิตรลดำ ๑๗ โครงกำรปลำนิลจิตรลดำ เร่ิมมำจำกทพ่ี ระจกั รพรรดอิ ะกิฮิโตะ เมื่อครัง้ ทรงดำรง พระอิสริยยศมกุฏรำชกุมำรแห่งประเทศญี่ป่ ุน ถวำยปลำนำ้ จืดในตระกูลทิลำเปีย (Tilapia) จำนวน 50 ตวั แดพ่ ระบำทสมเดจ็ พระบรมชนกำธิเบศร มหำภมู ิพลอดลุ ย เดชมหำรำช บรมนำถบพิตร เมื่อวนั ที่ 25 มีนำคม พ.ศ. 2508 จำกนนั้ พระองค์จงึ ทรง ทดลองเลีย้ งปลำชนิดนีภ้ ำยในสวนจิตรลดำ ซงึ่ ใช้เวลำเพียง 1 ปี ก็พบว่ำปลำชนิดนี ้ เจริญเตบิ โตได้อย่ำงรวดเร็วในประเทศไทย
โครงกำรโคนมพระรำชทำน ๑๘ อำชีพกำรเลีย้ งโคนมในประเทศไทย พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศร มหำ ภมู ิพลอดลุ ยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร ทรงให้ควำมสนพระทยั เกี่ยวกบั กิจกำรกำร เลีย้ งโคนมของชำวเดนมำร์กเป็นอย่ำงมำก เพรำะทรงตระหนกั ว่ำ \"นม\" มีคณุ ค่ำทำง อำหำรสูงและเป็นประโยชน์ต่อร่ำงกำยมนุษย์ อีกทัง้ กำรเลีย้ งโคนมจะช่วยให้ เกษตรกรชำวไทยมีอำชีพท่ีมน่ั คงดงั พระรำชดำรัสตอนหน่ึงท่ีวำ่ “กำรเลีย้ งโคนมก็เป็น อำชีพท่ีดีสำหรับคนไทย เหมำะกบั ประเทศ และถ้ำใช้หลกั วิชำทเ่ี หมำะสม ก็จะทำให้มี ควำมเจริญและมีรำยได้ดี”
โครงกำรพนั ธ์ุข้ำวพระรำชทำน ๑๙ ข้ ำวเป็ นสินค้ ำส่งออกสำคัญและอำหำรหลักของคนไทยมำเป็ นเวลำนำน รวมถึงอำชีพชำวนำที่เป็นอำชีพหลกั ของคนไทย ด้วยเหตุนี ้ พระบำทสมเด็จพระ บรมชนกำธิเบศร มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร ทรงสนพระรำช หฤทยั ในเร่ืองกำรปรับปรุงสำยพนั ธ์ุข้ำวเป็นอย่ำงมำก โดยทรงทดลองทำแปลงข้ำว ในสวนจิตรลดำ มำตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2504
โครงกำรประตูระบำยนำ้ คลองลดั โพธ์ิ ๒๐ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอย่หู วั (รัชกำลท่ี 9) มีแนวพระรำชดำริปรับปรุงคลอง ลัดโพธิ์โดยจัดทำเป็นโครงกำรประตูระบำยนำ้ คลองลัดโพธิ์ อันเน่ืองมำจำก พระรำชดำริ เพื่อเร่งระบำยนำ้ เหนือออกสทู่ ะเล ชว่ ยบรรเทำปัญหำนำ้ ทว่ มกรุงเทพฯ และปริมณฑล เน่ืองจำกคลองท่ีขดุ ขยำยเป็นกำรย่นระยะทำงและเวลำกำรไหลของ นำ้ ในบริเวณพืน้ ท่ีกระเพำะหมู ที่แต่เดิมแม่นำ้ เจ้ำพระยำต้องไหลอ้อมถึง 18 กิโลเมตร ก็สำมำรถไหลลงทะเลได้รวดเร็วขนึ ้
๒๑ ภาพพระกรณยี กิจ รชั กาลท่ี ๙
๒๒
๒๓
๒๔ ความพอเพียงเพียงพอไม่กอ่ หน้ี ชีวิตนจ้ี ะมสี ุขทุกข์ไม่ขม่ ความพอดีดีหนกั หนาน่านยิ ม รว่ มชน่ื ชมตามรอยบาทชาตเิ จรญิ
เศรษฐกจิ พอเพียง ตามแนวทางของรชั กาลที๙
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: