Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติวอลเล่ย์บอล PD F

ประวัติวอลเล่ย์บอล PD F

Published by jiranan8469, 2017-07-18 09:50:42

Description: ประวัติวอลเล่ย์บอล PD F

Search

Read the Text Version

ประวตั กิ ีฬาวอลเลย่ ์บอล

1 ประวัติกีฬาวอลเลย่ ์บอล กฬี าวอลเลยบ์ อล (Volleyball) ไดเ้ ร่มิ ขึ้นในปี พ . ศ . 2438 โดย William G. Morgan ผูอ้ านวยการด้านพลศึกษาแห่งสมาคม Y.M.C.A. ( Young Mans Christian Association)เมอื งโฮลโ์ ยค ( Holyoke) มลรฐั แมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซ่ึงได้เกดิ ขึ้นเพยี ง 1 ปี ก่อนการแขง่ ขนักีฬาโอลมิ ปกิ สมยั ใหม่ คร้งั ท่ี 1 ณ กรุงเอเธนส์โดยเขาได้พยายามคิดและดัดแปลงกิจกรรมต่างๆเพ่ือใหใ้ ช้เป็นกิจกรรมนนั ทนาการหรอื ผ่อนคลายความตงึ เครยี ดใหเ้ หมาะสมกับฤดกู าล และเขาก็เกดิ ความคิดขึ้นในขณะที่ไดด้ เู กมเทนนิส เพราะกฬี าเทนนิสเปน็ กีฬาทีต่ ้องใช้อปุ กรณ์ เชน่ แรก็ เกตลกู บอล ตาขา่ ย และอุปกรณ์อน่ื ๆ อีกมาก จึงได้มีแนวคิดท่จี ะใช้ตาข่ายสูง 6 ฟุต 6 นวิ้ จากพื้นซงุเป็นระดับสูงกว่าความสูงเฉล่ียของผชู้ าย และไดใ้ ช้ยางในของลกู บาสเกตบอลมาทาเป็นลูกบอล แต่ปรากฏวา่ ยางในลูกบาสเกตบอลเบาและช้าเกินไปจงึ ได้ใชย้ างนอกของลูกบาสเกตบอล ซง่ึ ก็ปรากฏว่าใหญ่และหนาเกนิ ไปไม่เหมาะสม ดงั นั้น ในปี พ . ศ . 2449Morgan ได้ตดิ ต่อบริษัท A.G.Spalding and Brother ใหท้ าลกู บอลตัวอยา่ งขนึ้ 1 ลกู โดยมีขนาดเสน้ รอบวง25-27 นวิ้ น้าหนกั 9-12 ออนซ์ เพอื่ นามาใช้แทนลูกบาสเกตบอล ในตน้ ปี พ . ศ . 2439 ไดม้ ีการประชมุ สัมมนาผนู้ าทางพลศึกษาท่วี ทิ ยาลัยสปริงฟลิ ด์ ในครง้ั น้นั Dr. Luther Gulick ผ้อู านวยการโรงเรียนฝึกพลศึกษาอาชพีและกรรมการบรหิ ารด้านพลศึกษาของสมาคม Y.M.C.A. ได้เชิญใหน้ าย William G. Morgan นาเกมนีเ้ ข้าร่วมในการจัดนิทรรศการท่ี New College Gymnasium โดยใชผ้ ู้เล่นฝา่ ยละ 5 คน นาย Morgan ได้อธบิ ายว่าเกมใหมช่ นิดน้เี รียกวา่ มนิ โตเนต (Mintonette) เป็นเกมท่ีใชเ้ ลน่ ลกู บอลในโรงยมิ เนเชยี ม แต่อาจจะใช้เล่นในสนามกลางแจ้งก็ได้ ซึ่งผู้สามารถเลน่ ลูกบอลโดยไม่มีสิ่งกีดขวางเหนือความสงู ของตาขา่ ยจากด้านหนึ่งไปอีกดา้ นหน่ึง การเลน่ เป็นการผสมผสานกนั ระหวา่ งเกม 2 ประเภทคือ เทนนิส และแฮนด์บอล ศาสตราจารย์ Alfred T. Halstead ผ้อู านวยการพลศึกษาแหง่ วิทยาลัยสปริงฟลิ ด์ ซ่งึ ไดช้ มการสาธิตไดใ้ ห้ข้อคดิ เหน็ และลงความเหน็ วา่ เนอื่ งจากเกมการเลน่ สว่ นใหญ่ลูกบอลจะต้องลอยอย่ตู ลอดเวลา เมือ่ตกลงพน้ื กถ็ ือว่าผิดกฎเกณฑ์การเลน่ จงึ ใชช้ ือ่ เกมการเล่นน้วี า่ วอลเลย์บอล ซ่ึงในที่ประชุมรวมท้งั นาย Morganตา่ งกย็ อมรับชอื่ น้ีโดยท่วั กัน ในปี พ . ศ . 2495 คณะกรรมการบรหิ ารสมาคมวอลเลยบ์ อลแห่งประเทศสหรัฐอเมรกิ า ได้เสนอให้ใช้ชือ่ เปน็ คาเดยี วคือ Volleyball และนาย Morgan ได้แนะนาวิธกี ารเลน่ ให้แก่ Dr.Frank Wook ซง่ึ เป็นนักฟิสิกส์ และ John Lynoh หัวหนา้ หนว่ ยดับเพลิง โดยได้ร่วมกนั ร่างกฎเกณฑ์ในการเล่นข้ึน 10 ข้อ ดังนี้1. เกม (Game) เกมหนง่ึ ประกอบดว้ ย 9 อินน่งิ (Innings) เม่อื ครบ 9 อนิ นิ่ง ฝา่ ยใดไดค้ ะแนนมากวา่ เป็นฝ่ายชนะ2. อนิ นงิ่ หมายถงึ ผู้เล่นของแตล่ ะชดุ ได้เสิร์ฟทุกคน3. สนามเปน็ รปู สเี่ หล่ยี มผนื ผ้า กว้าง 25 ฟุต ยาว 50 ฟตุ

24. ตาขา่ ยกว้าง 2 ฟตุ ยาว 27 ฟุต สูงจากพ้ืน 6 ฟุต 6 นวิ้5. ลูกบอลมียางในหุ้มดว้ ยหนังหรือผ้าใบ วดั โดยรอบไม่น้อยกวา่ 25 นว้ิ และไม่เกิน 27 น้วิ มนี ้าหนกั ไม่น้อยกว่า9 ปอนด์ และไม่เกิน 12 ปอนด์6. ผู้เสริ ฟ์ และการเสิร์ฟ ผูเ้ สริ ์ฟจะต้องยนื ด้วยเท้าหน่ึงบนเส้นหลัง และตลี กู บอลดว้ ยมอื ข้างเดยี ว อนุญาตให้ทาการเสิร์ฟได้ 2 ครง้ั เพอ่ื ทจ่ี ะส่งลกู บอลไปยังแดนคตู่ ่อสู้เช่นเดยี วกบั เทนนิส การเสริ ฟ์ จะต้องตีลูกบอลได้อย่างนอ้ ย 10 ฟตุ และห้ามเล้ยี งลูกบอล อนุญาตใหถ้ กู ตาข่ายได้ แต่ถา้ ลูกบอลถูกผเู้ ลน่ คนอนื่ ๆ กอ่ นถูกตาข่ายและถ้าลกู ข้ามตาข่ายไปยงั แดนคตู่ อ่ สู้ถือวา่ ดี แต่ถ้าลูกออกนอกสนาม จะหมดสิทธ์การเสิร์ฟ คร้ังท่ี 27. การนับคะแนนลูกเสิรฟ์ ทดี่ ีฝา่ ยรบั จะไม่สามารถโต้ลกู กลับมาไดใ้ หน้ ับ 1 คะแนนสาหรบั ฝา่ ยเสิร์ฟ ฝา่ ยทจ่ี ะสามารถทาคะแนนได้คือฝา่ ยเสิร์ฟเทา่ นัน้ ถา้ ฝา่ ยเสิร์ฟทาลูกบอลเสียในแดนของตนเอง ผู้เสิรฟ์ จะหมดสิทธิใ์ นการเสิร์ฟ8. ลูกบอลถูกตาข่าย ( ลกู เสริ ์ฟ ) ถ้าเปน็ การทาเสยีคร้ังท่ี 1 ให้ขานเป็นลกู ตาย9. ลูกบอลถกู เสน้ ให้ถือเป็นลูกออก10. การเล่นและผเู้ ลน่ การถูกตาขา่ ยโดยผูเ้ ลน่ ทาลูกบอลตดิ ตาข่าย หรือ ลูกบอลถูกส่ิงกดี ขวาง และกระดอนเข้าสู่สนามถอื เปน็ ลกู ดี ผ้อู านวยการพลศกึ ษาตา่ งๆ ของY.M.C.A. พยายามส่งเสรมิ และให้การสนบั สนนุ กฬี าชนิดนโี้ ดยนาเขา้ ไปฝกึ ในโรงเรียน ซึ่งครูฝึกพลศึกษาของมหาวทิ ยาลัยสปริงฟิลด์ ในมลรัฐแมสซาชูเซตส์ กับมหาวิทยาลยั George William มลรฐั อิลลินอยส์ ไดเ้ ผยแพร่กฬี าชนิดนีไ้ ปทวั่ สหรัฐอเมริกาและแคนาดา โดยมีการทาเปน็ แบบแผน เพ่ือจะได้นาไปเผยแพรต่ ่อไปดังน้ี1. นาย Elwood s. Brown ได้นากีฬาวอลเลยบ์ อลไปสูป่ ระเทศฟลิ ปิ ปินส์2. นาย J. Haward Crocher นาไปเผยแพร่ทีป่ ระเทศจีน3. นาย Franklin H. Brown นาไปเผยแพร่ท่ีประเทศญ่ีปุ่น4. Dr. J.H. Cary นาไปเผยแพร่ทีป่ ระเทศพม่า และอนิ เดีย- ปี พ . ศ . 2453 นาย Elwood S. Brown เดนิ ทางไปฟิลิปปินส์ ไดช้ ว่ ยจดั ต้ังสมาคม และริเริ่มการแข่งขนั ครว้ั แรกทก่ี รุงมะนลิ า ในปี พ . ศ . 2456 โดยเรยี กการแข่งขันครัง้ นีว้ า่ Far Eastern Gamesในระหวา่ งสงครามโลกคร้งั ท่ี 1 Dr.Grorge J. Fischer เลขาธกิ ารปฎบิ ัติการสงคราม ได้นาเอากีฬาวอลเลยบ์ อลเขา้ ไว้เปน็ กิจกรรมส่วนหน่ึงในการฝึกทหารในค่าย ทงั้ ในและนอกประเทศ และได้พมิ พ์กฎกติกากีฬาวอลเลยบ์ อลเพ่อื แจกจา่ ยไปยงั หน่วยต่างๆ ของทหาร ท้ังกองทัพบกและกองทพั เรือ เพื่อให้ทหารไดใ้ ช้เวลาว่างกบั กฬี าโดยอปุ กรณ์ตา่ งๆ เช่น ลกู วอลเลย์บอล และตาข่ายจานวนหลายหมนื่ ชน้ิ ไดถ้ ูกส่งไปยงั คา่ ยทหารทป่ี ระอยู่ตามหนว่ ยตา่ งๆ ทัง้ ในประเทศและกอง ทพั พธั มติ ร นบั วา่ Dr.Grorge J. Fisher เป็นผูช้ ่วยเหลอื กฬี าวอลเลยบ์ อลเป็นอย่างมากจน ไดช้ ื่อวา่ บดิ าแหง่ กีฬาวอลเลยบ์ อล- ปี พ . ศ . 2465 ได้มีการปรบั ปรุงกฎกตกิ าของวอลเลย์บอลใหม่ โดยสมาคม Y.M.C.A. และสมาคมลูกเสอืแหง่ อเมริกนั N.O.A.A. ได้จัดการแข่งขนั กีฬาวอลเลย์บอลขึ้นมีรฐั ต่างๆ ส่งเขา้ แข่งขัน 11 รัฐ มที ีมเขา้ แขง็ ขันทง้ั สนิ้ 23 ทีม รวมท้ังทมี จากแคนาดา

3- ปี พ . ศ . 2467 กองทพั บกและกองเรอื ของสหรฐั อเมรกิ า ไดส้ ่งเสริมกีฬาวอลเลยบ์ อลอย่างจริงจังจนกระทั่งไดแ้ พรเ่ ข้าไปยังกลุ่มโรงเรียน และสมาคมต่างๆ ซ่งึ เรยี กกนั วา่ สมาคมกีฬาและสันทนาการแห่งสหรัฐอเมรกิ า ซง่ึ ภายหลังได้เปล่ียนเปน็ สนั ทนาการแห่งชาติ ได้นาเอากีฬาวอลเลย์บอลบรรจไุ ว้ในกิจกรรมของสมาคม วนั ที่ 9 กรกฎาคม พ . ศ . 2471 ไดมกี ารตั้งสมาคมวอลเลยบ์ อลแหง่ สหรัฐอเมริกาข้นึ เรยี กว่าThe Untied States Volleyball Association มชี อ่ื ย่อ USVBA ท่ี Dr. George J. Fischer เปน็ ประธาน และDr. John Brown เปน็ เลขาธกิ าร ได้ตง้ั ความมงุ่ หมายในการบรหิ ารกฬี าวอลเลยบ์ อลออกเป็นข้อๆ ดงั ต่อไปน้ี1. จัดการประชุมประจาปีเพื่อจดทะเบยี นมาตรฐานของกีฬาวอลเลยบ์ อลใหด้ ขี ้ึน2. วางแผนงานพฒั นากีฬา และการจัดการแข่งขนั3. จัดการแข่งขนั ชิงชนะเลิศแหง่ ชาติ4. พฒั นากตกิ าในการเลน่ ใหด้ ขี ้ึน5. จัดหาสมาชกิ ใหเ้ พ่ิมขึ้น- ปี พ . ศ . 2479 ได้มีการจดั การแข่งขนั ประจาปที นี่ ครนิวยอรก์ จากการแขง่ ขันนี้ทาใหม้ ีความเขา้ ใจเกี่ยวกับการแข่งขันวอลเลย์บอลดีข้นึ โดยมีสมาชกิเข้ารว่ มจานวนมาก- ปี พ . ศ . 2483 สมาคม USVBA ไดร้ ับสมาชกิ เพ่ิม 2 ทมี คือมหาวิทยาลยั เทเบิล และมหาวทิ ยาลัยเพนซลิ วาเนีย และได้มีการแข่งขันประเภทประชาชนทัว่ ไปทรี่ ฐั ฟิลาเดลเฟีย- ปี พ . ศ . 2485 มีการแบ่งเขตออกเปน็ 12 เขต สมาชกิ ต่างๆ ไดข้ อร้องให้สมาคม Y.M.C.A. หยุดรับสมาชกิ เพราะมสี มาชกิ มากเกนิ ไป ทาให้บริการได้ไม่ทว่ั ถึง เอกอัครราชทูตของรัสเซีย ในกรงุ วอชงิ ตนั ไดส้ ง่ เอกสารเกีย่ วกับกฎกติกาของวอลเลยบ์ อล ซ่ึงได้จดั พิมพ์เป็นรูปเลม่ โดยมนี าย Herry E. Willsonและ Dr. David T. Gaodon เปน็ ผ้จู ัดพมิ พข์ ้ึนวนั ที่ 12 ธันวาคม พ . ศ . 2485 นาย William G. Morgan ผู้รเิ ริ่มกีฬาวอลเลยบ์ อลได้ถึงแก่กรรม - ปี พ . ศ . 2486 สมาคมสตรีของ AAHPER (America Association of Health,Physical Education and Recreation) โดยมี Dr. John Brown เปน็ เลขาธกิ ารและเหรัญญิกของสมาคม ได้นาเอากีฬา วอลเลยบ์ อลบรรจุเข้าไว้ในกจิ กรรมของสมาคมสตรี และดาเนินการแขง่ ขันภายในกลุ่มระหว่างวันที่ 1-7 พฤษภาคม พ . ศ . 2487 ได้จดั ให้มีการแขง่ ขันกีฬาวอลเลย์บอลนานาชาตขิ ้ึน โดยมีทมี ที่สนใจเข้ารว่ มการแขง่ ขันจานวนมาก - ปี พ . ศ . 2489 ได้เริ่มมีการสอนกีฬาวอลเลย์บอล โดยใช้อุปกรณ์การสอน เชน่ ภาพยนตร์เก่ยี วกบั การ เล่นและการแข่งขันซ่งึ เป็นฟลิ ์ม 16 มิลลิเมตร จานวน 2 ม้วน ในการทาภาพยนตร์ครงั้ น้ีคิดเป็นเงิน ประมาณ 7,800 ดอลลารฯ์ หลังสงครามโลกครง้ั ที่ 2 ก็ได้มีการประชมุ เก่ียวกบั การแขง่ ขันระหวา่ งชาติ โดยเริม่ ทช่ี คิ าโก ซ่ึง Andrew Stewert เลขาธกิ ารโอลิมปิกแหง่ สหรฐั อเมริกา เพือ่ นากีฬาวอลเลยบ์ อล จัดแขง่ ขันในกีฬาโอลมิ ปิกตอ่ ไป - ปี พ . ศ . 2490 ไดม้ ีกฎกตกิ าจัดพมิ พใ์ หม่ โดยสมาคม USVBA ซ่ึงทางสมาคมไดส้ ง่ นาย FB. De Groot และนาย Royal L. Thomas เป็นตวั แทนเขา้ รว่ มประชุมท่ีกรงุ ปารีส โดยร่วมจัดการแขง่ ขันระหวา่ งชาติ ขึน้ ซ่งึ เป็นผลให้เกิดสหพันธก์ ีฬาวอลเลย์บอลนานาชาติขนึ้ ในตน้ ปีน้ีเอง

4 - ปี พ . ศ . 2491 มกี ารประชุมสมาคม USVBA ที่ South Bend Indiana และปรับปรุงสมาคม USVBA มกี ารเลอื กตงั้ คณะกรรมการใหม่ขนึ้ โดยสมาคมได้ส่งทีมวอลเลยบ์ อลชายไปตระเวนแข่งขนั ในยโุ รป - ปี พ . ศ . 2492 หนงั สือ Time Game เขียนโดยสมาคม USVBA รายงานการแขง่ ขนั วอลเลย์บอลที่ ลอสแอนเจลีส ซึง่ เป็นการแข่งขันระหวา่ งประเทศ ผู้ที่ชนะเลิศได้แก่ รัสเซีย ที่ 2 ได้แก่ เชโกสโลวาเกีย และในปีนี้เองประเทศผรง่ั เศสได้สมัครเขา้ เปน็ สมาชกิ ของสมาคม USVBA ดว้ ย - ปี พ . ศ . 2493 Dr. Fisheer ขา้ ราชการบานาญทม่ี ารแ์ ชลแอลเวลเตอร์ ได้นัดประชมุ ผู้นาทางกีฬา วอลเลยบ์ อล โดยแตล่ ะประเทศไดเ้ ขยี นรายงานการประชุมเป็นภาษาสวสิ และมีการสาธติ การเลน่ กลางแจง้ และในปนี ี้ประเทศอังกฤษได้นาเอากีฬาวอลเลย์บอลไวใ้ นกจิ กรรมของสมาคม Y.M.C.A. ของ อังกฤษดว้ ย - ปี พ . ศ . 2494 นาย Robert J. Lavelca ได้ทาสไลดเ์ กยี่ วกับทักษะเบื้องตน้ ในการเลน่ กีฬา วอลเลยบ์ อลขึน้ - ปี พ . ศ . 2495 ไดม้ ีการจัดแขง่ ขันวอลเลย์บอลหญงิ ข้ึนคร้ังแรก โดยมีนาย Migaki Nishikawa ประธานสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศญป่ี ุ่น โดยจัดให้มีการแขง่ ขันระหว่างประเทศในแถบ ตะวนั ออกไกล และกีฬาวอลเลย์บอลน้ีไดถ้ ูกจดั เข้าแข่งขนั ในโอลิมปกิ ครั้งแรกที่เมืองเฮลซงิ กิ และมีการ แขง่ ขนั วอลเลย์บอลชิงแชมปโ์ ลกคร้ังแรกท่เี มืองสโคร์ จากนั้นสมาคมวอลเลย์บอลแหง่ ญ่ปี ุ่นก็มกี าร สง่ เสริมกฬี าชนดิ น้ีมาก โดยสง่ ทมี วอลเลย์บอลของมหาวิทยาลยั Lashita ซ่งึ ชนะเลิศการแขง่ ขนั ของ ประเทศญ่ีป่นุ ไปแข่งทีส่ หรัฐอเมรกิ าประวตั ิ ในประเทศไทยวอลเลย์บอลไดแ้ พร่หลายเข้ามาในไทย ต้ังแตเ่ ม่อื ใดไม่มีหลักฐานยืนยนั แน่ชัด เพยี งแต่ทราบกนั ว่าในระยะแรกๆเป็นท่ีนยิ มเล่นกันในหมูช่ าวจีนและชาวญวนมาก จนกระท่ังมีการแข่งขันระหว่างคณะ ชุมชน สโมสร และสมาคมขน้ึ บางคร้งั ตดิ ตอ่ แขง่ ขันกนั ไปในภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ และมีการแข่งขนั ชิงถว้ ยทองคาทางภาคใต้ - ปี พ . ศ . 2477 กรมพลศึกษาได้จัดพิมพ์กติกาวอลเลยบ์ อลข้ึน โดยอาจารย์นพคณุ พงษ์สวุ รรณ เป็นผู้ แปล และทา่ นเป็นผ้เู ชยี่ วชาญในกีฬาวอลเลยบ์ อลเป็นอยา่ งย่งิ จงึ ได้รับเชิญเปน็ ผูบ้ รรยายเกยี่ วกบั เทคนคิ วิธกี ารเลน่ ตลอดจนกตกิ าการแขง่ ขนั วอลเลยบ์ อล แกบ่ รรดา ครูพลศึกษาทัว่ ประเทศในโอกาสทกี่ ระทรวงศกึ ษาได้เปิดอบรมขึ้น ในปนี ี้เองกรมพลศึกษาไดจ้ ัดใหม้ ีการแข่งขนั กีฬาประจาปีขึน้ และบรรจกุ ีฬาวอลเลยบ์ อลหญิงเข้าไว้ ในรายการแข่งขันเป็นคร้งั แรก พร้อมท้งั ในหลกั สูตรของโรงเรยี นพลศึกษากลางได้กาหนดวชิ าบังคับให้นกั เรียนหญิงเรียนวชิ าวอลเลยบ์ อลและเนตบอล สมยั นั้นมี น . อ . หลวงศุภชลาศัย ร . น . ดารงตาแหน่งอธบิ ดีกรมพลศึกษา จนกระท่ังปี พ . ศ . 2500 ไดม้ ีการจัดตัง้ ” สมาคมวอลเลยบ์ อลสมัครเลน่ แหง่ ประเทศไทย ” (Amature Volleyball Association ofThailand) โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อสนับสนนุ และเผยแพร่กีฬาวอลเลยบ์ อลให้เจรญิ รดุ หน้า และดาเนินการจดั การแข่งขนั วอลเลย์บอลในระบบ 6 คน มหี น่วยราชการอนื่ ๆ จดั การแข่งขันประจาปี เชน่ กรมพลศึกษา กรมการคณะกรรมการกีฬามหาวทิ ยาลัย เทศบาลนครกรุงเทพฯ สภากีฬาทหารตลอดจนการแขง่ ขันกีฬาเขตแหง่ ประเทศไทย ได้มีการจัดแข่งขันทั้งประเภททีมชายและทีมหญิงประจาปีทกุ ปี

5ความมุ่งหมายของกีฬาวอลเลย์บอล1. เพอ่ื ใหม้ ีความรเู้ กี่ยวกบั ประวตั ิความเปน็ มาของกีฬาวอลเลยบ์ อล2. เพอ่ื ใหม้ ีความสามารถในการเล่นทักษะเบ้ืองตน้ ต่างๆ ของกีฬาวอลเลยบ์ อลอย่างถูกต้อง3. เพอ่ื ใหม้ ีความสามารถในการเลน่ ทีมได้อย่างถูกต้องและฉลาด4. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในกตกิ าเกยี่ วกบั การเล่นกีฬาวอลเลยบ์ อล5. เพอ่ื สง่ เสรมิ ในการพัฒนาร่างกาย จิตใจ สังคม และอารมณ์6. เพ่อื ส่งเสรมิ ให้มีนสิ ยั รู้จักการช่วยเหลอื ซึง่ กนั และกนั7. ส่งเสริมใหเ้ ป็นคนมนี า้ ใจนักกฬี า8. เพอ่ื ก่อใหเ้ กิดความสนุกสนาน และเพลิดเพลนิ ในการเล่นกฬี าวอลเลย์บอล9. เพื่อปลกู ฝังนสิ ยั ใหร้ ู้จักการใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชนโ์ ดยการเลน่ กีฬาวอลเลย์บอลสนามแขง่ ขันสนามแขง่ ขันควรจะเป็นพ้ืนดิน พื้นไมห้ รือพืน้ ปูนซเี มนต์เรียบ และต้องเปน็ พ้นื แข็งเรียบไม่มีสง่ิ กดี ขวาง มีลักษณะ เปน็ รูปส่เี หลยี่ มผืนผ้า ขนาด กว้าง 18 ยาว 9 เมตร โดยมบี รเิ วณรอบๆ สนาม ห่างจากสนามอย่างน้อย2 เมตร ถา้ เปน็ สนามกลางแจ้งต้องมีบรเิ วณรอบๆ สนาม หา่ งจากสนามอย่างน้อย 3 เมตร ความสูงจากพื้นสนามข้ึนไปมีสงิ่ กดี ขวางหรือเพดาน อย่างนอ้ ย 7 เมตร หากเปน็ การแขง่ ระดับนานาชาติ ต้องมีบรเิ วณท่วี างดา้ นข้างไม่นอ้ ยกว่า 5 เมตร และบรเิ วณดา้ นหลังไมน่ ้อยกว่า 8 เมตรเพดานด้านบนสงู ไม่น้อยกวา่ 12.5 เมตรเสน้ เขตสนามเส้นทุกเสน้ ต้องกวา้ ง 5 เซนตเิ มตร เปน็ สอี ่อนแตกต่างจากพื้นสนาม เส้นทงั้ หมดนีร้ วมอยู่ในสนามแข่งขนั กว้าง xยาว เท่ากับ 9 x 18 เมตรเสน้ แบง่ แดนเปน็ เสน้ ทแ่ี บ่งพ้ืนสนามแบ่งออกเป็น 2 สว่ น อย่ตู รงกง่ึ กลางของสนามขนาดกลางจากจดุ ก่งึ กลางไปยงั เส้นหลัง 9เมตร เสน้ จะอยู่ใต้ตาข่ายหรือตรงเสาตาข่ายพอดีเส้นเขตแดน

61. เส้นเขตรุกและเขตรกุ เขตรกุ ของแตล่ ะฝ่ายเปน็ เขตที่กาหนดโดยเขตรกุ กว้าง 3 เมตร คดิ รวมกับความกว้างของเส้นดว้ ย เขตรุกจะลากขนานกับเส้นแบง่ แดนของสนาม และสมมติว่ามีความกว้างออกไปนอกเขตสนามโดยไมม่ ีกาหนด2. เส้นเสิร์ฟและเขตเสิร์ฟ คือเส้นท่ลี ากยาว 15 เซนตเิ มตร สองเสน้ จากปลายสดุ ของสนาม โดยเขียนใหห้ ่างจากเสน้ หลัง 20 เซนติเมตร ซง่ึ เขียนจากปลายเสน้ ขา้ งด้านขวาหนงึ่ เสน้ และเขา้ ไปทางซา้ ยด้านในของสนามห่างกนั3 เมตรอีกหน่ึงเสน้3. เขตเปลย่ี นตัว อยู่ที่เขตรุกทงั้ สองฝ่ายที่อยใู่ นแนวสมมตุ เิ ลยออกไปในเขตรอบสนามท่ีอยู่ทงั้ สองดา้ นของโต๊ะผู้บันทึกแสงสวา่ งแสงสว่างของสนามควรอยู่ท่ี 500 – 1500 วตั ต์ตาข่ายมขี นาดกว้าง 1 เมตร ยาว 9.50 เมตร ขึงอยใู่ นแนวด่ิงเหนือจดุ ก่งึ กลางของเสน้ แบ่งแดน จะแบง่ สนามออกเปน็ 2สว่ นแถบข้างใชแ้ ถบสีขาวกวา้ ง 5 เซนตเิ มตร ยาว 1 เมตร ติดอยทู่ ี่ปลายตาขา่ ยแตล่ ะดา้ น ตั้งให้ไดฉ้ ากกบั เสน้ ข้าง และอยใู่ นแนวเดยี วกับจดุ ก่งึ กลางของเส้นแบ่งแดน แถบนี้ถอื ว่าเป็นสว่ นหนึง่ ของตาขา่ ยเสาอากาศทาด้วยหลอดใยแก้ว หรือวัตถุท่คี ล้ายกนั มีความยาว 1.80 เมตรเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 10 มลิ ลิเมตร ทาสขี าวสลับแดงเปน็ ช่วงๆ แต่ละช่วงห่างกัน 10 เซนติเมตร เสาอากาศมี 2 เสา แตล่ ะเสาผกู ตดิ กับขอบตาข่ายนอกสดุ ตรงกบัแถบเสน้ ข้างของตาข่าย โดยใหย้ ื่นข้นึ ไปเหนือตาขา่ ย 80 เซนตเิ มตรความสงู ของตาข่ายได้แก่ ตาขา่ ย ของทีมชายสูงจากพื้น 2.43 เมตร ทมี หญิงจะสงู จากพ้นื 2.24 เมตร วดั ทจ่ี ุดกง่ึ กลางของสนามเสาขงึ ตาขา่ ยควรจะมีลักษณะกลมหรือเรียบท้ัง 2 เสาซง่ึ สามารถปรับระดบั ได้ มคี วามสงู 2.55 เมตร เพอื่ รองรบั ปลายสุดของตาข่ายแตล่ ะดา้ น เสาขงึ จะต้องยึดติดกบั พ้นื หา่ งจากเสน้ ข้างอยา่ งน้อย 50 – 100 เซนติเมตร หา้ มใชล้ วดหรือโลหะเป็นตวั ยึดตาขา่ ยกบั เสาเพราะจะเปน็ อนั ตรายลูกบอลลูกบอลจะต้องมีลกั ษณะกลม ทาด้วยหนงั ฟอกท่ยี ืดหยุ่นได้ มยี างในทาดว้ ยยางหรอื วัตถุท่ีคล้ายคลงึ กนั ต้องมีสีที่ สวา่ ง เส้นรอบรูป 65 – 67 ซม . มนี า้ หนกั260 – 270 กรัม แรงอดั 0.400-0.450 กรมั / ตร . ซม .ใชล้ ูกบอล 3 ลูก การแข่งขนั ระหว่างชาติ ควรใชล้ ูกบอล 3 ลกู โดยมคี นคอยเก็บลกู บอลให้ 6 คน ซง่ึ อยู่ท่ีมุมเขตสนามทั้งสีม่ ุม มุมละ 1 คน และดา้ นหลังผู้ตัดสนิ ด้านละ 1 คนผู้เขา้ ร่วมแข่งขันใน 1 ทมี ประกอบดว้ ยผู้เลน่ ไม่เกนิ 12 คน ผู้ฝกึ สอน 1 คน ผ้ชู ว่ ยผฝู้ กึ สอน 1 คน เทรนเนอร์ 1 คน แพทย์ 1 คนนกั กฬี าลงแข่งขันตลอดเวลา 6 คนเครอ่ื งแต่งกาย

7ใชก้ างเกงขาสน้ั เสอื้ ยดื แขนยาวหรือแขนส้นั ถุงเท้า จะต้องสะอาด และแบบเดียวกัน สเี ดียวกนั ทั้งทีม รองเท้าเปน็ ยางหรือหนังไมม่ เี สน้ ในการแขง่ ขนั ระดบั โลก รองเท้าจะต้องมีสีเดยี วกนั ( ยกเว้นเครื่องหมายการค้า ) ติดหมายเลขเรยี งกนั ต้ังแต่ 1 – 12 เบอรต์ ดิ ท่ีกลางหนา้ อกมีขนาดสูงไม่น้อยกว่า 8 เซนตเิ มตร และกลางหลัง มีความสงู ไมน่ ้อยกวา่ 15 เซนติเมตร ขนาดกว้างไม่น้อยกวา่ 2 เซนตเิ มตร อนุญาตให้เปลี่ยนเสือ้ ขณะแขง่ ขันได้แต่ต้องเปน็ หมายเลขเดมิรปู แบบการแข่งขนัจะแข่งขันแบบแรลล่ีพอยต์ หรือนับแต้มทุกแต้มท่ฝี า่ ยหนง่ึ ฝ่ายใดทาลูกเสีย ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายเสริ ฟ์ หรอื ไมก่ ็ตามทีมที่ทาได้ 25 คะแนนและต้องมีคะแนนนาทีมตรงขา้ มอยา่ งน้อยที่สุด 2 คะแนน จะเปน็ ทีมทช่ี นะในเซตนน้ั ใน กรณีท่ีได้ 24 คะแนนเท่ากัน จะแข่งขันต่อไปจนกว่าทีมใดหน่ึงจะมีคะแนนนาทีมฝา่ ยตรงขา้ ม 2 คะแนน เชน่ 26 : 24 หรือ 27 : 25เป็นตน้ และในเซตตัดสนิ ต้องทาคะแนนได้ 15 คะแนนจงึ เป็นฝ่ายชนะ ถา้ มีคะแนนเทา่ กนั 14: 14 ให้ดิวล์จนกว่าจะชนะกันหา่ ง 2 คะแนน แต่คะแนนสุดท้ายต้องไม่เกิน 17 คะแนน ถือเป็นท่สี ุดกติกา และ วธิ ีดูการแขง่ ขันใชก้ ารเสีย่ งเลอื กเสิร์ฟหรือเลือกแดน กอ่ นแขง่ ให้วอรม์ ทีต่ าข่าย 3 ถึง 5 นาที ถ้าท้งั 2 ทมี ตกลงวอรม์ พรอ้ มกนัใหว้ อร์มทีต่ าข่ายได้ 6 – 10 นาทีตาแหนง่ ของผู้เลน่ในขณะทผ่ี ้เู สริ ฟ์ ทาการเสิร์ฟ ผเู้ ลน่ แตล่ ะคนต้องอยู่ในแดนของตน ผ้เู ลน่ แถวหน้า 3 คน แถวหลงั แตล่ ะคนจะต้องอยดู่ า้ นหลงั ของคู่ของตนทเี ป็นผู้เลน่ แถวหน้า การเลน่ ผดิ ตาแหน่งจะเปน็ ฝา่ ยแพใ้ นการเลน่ ลูกครงั้ นน้ั การหมนุตาแหน่งตอ้ งหมุนตามเข็มนาฬิกาการเปลีย่ นตัวผู้เลน่เปล่ียนตวั ได้มากสดุ 6 คนต่อเซต แต่ละครัง้ จะเปลยี่ นก่ีคนก็ได้ ผู้ทเ่ี ร่ิมเลน่ ในเซตน้นั จะเปลีย่ นตวั ออกได้ 1 คร้งัและกลบั เข้ามาเลน่ ไดอ้ ีก 1 ครั้ง ในตาแหนง่ เดิม ผเู้ ล่นสารองจะเปลย่ี นตวั เขา้ ไปเลน่ ได้เพียงครง้ั เดียวในแตล่ ะเซต และผู้เปลี่ยนเข้ามาตอ้ งเป็นผเู้ ลน่ คนเดิม นอกจากนใ้ี นส่วนของนักกฬี า ยงั มผี ูเ้ ล่นตัวรบั อิสระ (Liberoplayer) ซึ่งเป็นผเู้ ล่น 1 ใน 12 คน แต่สวมเสือ้ ท่ีมหี มายเลขและสีแตกต่างจากผเู้ ล่นคนอื่นๆ อยา่ งเห็นไดช้ ัดสามารถเปลย่ี นตัวไปแทนผูเ้ ล่นทอ่ี ย่ใู นแดนหลงั ได้เมอื่ ลูกตายและก่อนที่ผ้ตู ัดสินจะเป่านกหวดี ใหท้ าการเสิร์ฟโดยไมน่ บั เป็นการเปลีย่ นตวั เขา้ ออกปกติการเลน่ ลูกบอลผเู้ ล่นสามารถที่จะนาลูกบอลจากนอกเขตสนามกลบั เข้ามาเลน่ ตอ่ ได้ ทีมหนึ่งสามารถถูกลกู บอลได้มากทสี่ ุด 3ครัง้ ยกเวน้ เมื่อทาการบล็อก ( ได้ 4 คร้งั ) ผ้เู ลน่ หน่ึงคนจะถูกลกู บอล 2 ครั้ง ติดต่อกนั ไม่ได้ ยกเว้นการบลอ็ กถ้าผ้เู ล่นถูกลูกพร้อมกัน 3 คน กถ็ อื ว่าถูก 3 ครัง้ ถ้าถกู พร้อมกันเหนอื ตาข่ายก็จะไมน่ ับ ถา้ ลูกบอลออกถือวา่ ฝา่ ยท่ีอย่ตู รงขา้ มทาออก ถ้ายดึ ลูกบอลเหนือตาขา่ ยจะต้องเล่นใหม่ ลูกบอลที่ชนตาข่ายยงั เล่นต่อไปได้จนครบ 3 ครั้งตามกาหนดยกเว้นการเสริ ฟ์การเสิร์ฟจะเสริ ์ฟโดยผูเ้ ลน่ ท่อี ยู่ในตาแหนง่ หลังขวาที่อยู่ในเขตเสริ ์ฟ การกาหนดทีมท่ีจะเสิร์ฟ ลกู แรกในเซตท่ี 1 และ 5 โดยการเสย่ี ง ตอ้ งเสริ ์ฟตามลาดบั ท่ีบนั ทึกไว้ เม่ือโยนออกไปเพื่อเสิรฟ์ แล้ว ตอ้ งใช้มือหรอื ส่วนใดของแขนข้าง

8เดยี ว กระโดดเสิรฟ์ ได้ ต้องเสิรฟ์ ลูกภายใน 5 วนิ าที หลงั จากผตู้ ดั สนิ เป่านกหวีด ถา้ เสิร์ฟพลาดไมถ่ กู ลูก ผ้ตู ดั สินจะให้เสริ ฟ์ ใหม่ภายใน 3 นาทีการตบลูกบอลผู้เลน่ ในแดนหนา้ สามารถตบลูกบอลด้วยวิธใี ดก็ได้จากแดนของตนเองในความสูงทุกระดับ โดยในขณะท่ีสมั ผสั ลกูบอลน้นั ลกู บอลจะต้องอยใู่ นแดนของตนเองเพียงส่วนหนึ่งส่วนใดหรอื ทง้ั หมดกไ็ ด้ สว่ นผู้เล่นในแนวหลังสามารถกระโดดตบลูกได้ แตจ่ ะต้องตบจากเขตแดนหลงั การตบลูกบอลดังกลา่ วหากไมเ่ ปน็ ตามกติกาข้อน้ีถือว่าเสียการบลอ็ กผ้เู ลน่ แถวหนา้ เทา่ นัน้ ท่ีบล็อกได้ จะบล็อกเป็นรายบุคคลหรือกลุม่ ก็ได้ เมื่อบลอ็ กไดแ้ ล้วยงั ถูกลูกได้อกี 3 ครัง้ ห้ามบล็อกลูกเสิรฟ์ สามารถใชส้ ่วนต่างๆของรา่ งกายต้งั แต่หัวจรดเท้าถกู ลกู บอลได้การลาแดนผดิ ระเบียบ ก่อนหรือระหวา่ งการตบของคู่ต่อสู้ หรอื สมั ผสั ลูกบอลในแดนคตู่ ่อสู้เข้าไปในแดนคู่ตอ่ สู้ ขณะท่ีลูกบอลยังอยใู่ นการเลน่ และตวั ผู้เลน่ ถกู ตาขา่ ยหรือเสาอากาศถือเป็นการลา้ แดนทีผ่ ดิ กตกิ าการขอเวลานอกขอได้ 2 คร้ังตอ่ เซต ไมใ่ ห้เปล่ียนตัว 2 ครง้ั ตอ่ เนื่องกนั การขอเวลานอกมเี วลา 30 วนิ าที ในระหวา่ งการขอเวลานอกผู้เล่นทุกคนต้องออกไปอยบู่ ริเวณเขตรอบสนามใกล้ม้าน่งัเวลานอกทางเทคนคิ เกดิ ขึ้นทุกครงั้ ทีฝ่ ่ายหนึ่ง ฝ่ายใด ทาคะแนนได้ 8 และ 16 คะแนนก่อน ของทุกเซตยกเว้นเซตตดั สนิ เทา่ นน้ั ทจี่ ะไมม่ เี วลานอกทางเทคนิคการเปลยี่ นตวั มากกว่า 1 คนใหแ้ จ้งก่อนและเปลยี่ นทีละคู่ตามลาดับเหตุการณต์ ่างๆ ท่เี กิดขนึถ้ามเี หตรุ ะหวา่ งเลน่ ให้หยดุ แล้วเลน่ ลูกนน้ั ใหม่ถ้ามีเหตุการณท์ ี่เกดิ ข้นึ ต้องหยุดนานไม่เกิน 4 ชม. ถา้ ทาการแขง่ ขนั ใหม่ใช้สนามเดิม เซตท่ีหยุดการแขง่ ขนั จะนามาแขง่ ขันตามปกติ ถ้าใชส้ นามอื่นให้ยกเลิกเซตน้นั แลว้เร่ิมต้นใหม่ ผลของเซตทผ่ี า่ นมามผี ลเหมือนเดิม ถา้ หยดุเกิน 4 ชวั่ โมงตอ้ งเรม่ิ แข่งใหม่ทงั้ หมดการหยุดพกัพกั ระหวา่ งเซตแตล่ ะเซตพกั ได้ไม่เกนิ 30 วนิ าที ทงั้ สองทีมตอ้ งตั้งแถวท่ีแนวเส้นหลงั ทนั ทีทผ่ี ู้ตัดสินเรียกลงสนามแขง่ ขนั ต่อ และเมื่อสน้ิ สดุ การแข่งขันในแตล่ ะเซตทัง้ สองทีมต้องเปลย่ี นแดนกัน นอกจากเซตตดั สนิการเปล่ยี นแดนเมื่อเสร็จแต่ละเซตทั้ง 2 ทมี จะตอ้ งเปลยี่ นแดนยกเว้นเซตตัดสิน เซตตดั สนิ ทมี ใดได้ 8 คะแนน ใหเ้ ปล่ยี นแดนทันทแี ละตาแหนง่ ของผู้เลน่ เปน็ ตามเดมิขอ้ หา้ มของผเู้ ล่นห้ามมิให้ผ้เู ลน่ สวมเครอ่ื งประดับทีเ่ ป็นโลหะของแขง็ ในระหวา่ งการแขง่ ขันทุกชนิด

9มารยาทของผู้เล่นผูเ้ ลน่ ต้องยอมรบั ผลการแข่งขัน สุภาพอ่อนโยนต่อผู้ตดั สินและฝา่ ยตรงข้าม ไม่ควรแสดงทา่ ทางและทัศนะคตทิ ่ีไม่ดรี ะหว่างแข่งขันหรอื แสดงพฤติกรรมอ่นื ใดท่ีไมเ่ ปน็ การสุภาพตอ่ ผู้อ่นื

10 บรรณานุกรมเข้าถงึ เวป็ ไซด์ได้ท่ี http://www.jadtem.com/31223/ http://taewteaw.blogspot.com/2013/02/blog-post_25.html http://todfcfotballcup.blogspot.com/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook