Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ เรื่อง การเขียนภาพไอโชเมตริก (ISOMETRIC)

ใบความรู้ เรื่อง การเขียนภาพไอโชเมตริก (ISOMETRIC)

Description: ใบความรู้ เรื่อง การเขียนภาพไอโชเมตริก (ISOMETRIC)

Search

Read the Text Version

19 ภาพสามมติ ิ ภาพสามมิติหมายถงึ ภาพทแ่ี สดงให้เหน็ ถงึ ขนาดมติ ิ 3 ด้าน ในภาพเดยี วกนั ไดข้ นาดความสูง ขนาดความกว้าง ขนาดความลึกของภาพ เปน็ ลกั ษณะเหมือนชิ้นงานจริง ใช้สาหรบั ดูรูปรา่ งของชน้ิ งาน ภาพสามมิตแิ บง่ ออกไดเ้ ป็น 4 แบบ 1. ภาพไอโซเมตรกิ (ISOMETRIC) 2. ภาพออบลิก (OBLIQUE) 3. ภาพไดเมตริก (DIMETRIC) 4. ภาพเพอรส์ เปคตพี (PERSPECTIVE) ISOMETRIC OBLIQUE DIMETRIC PERSPECTIVE

20 1. ภาพไอโซเมตริก (ISOMETRIC) เปน็ ภาพที่นิยมใช้เขยี นชน้ิ งานในงานเขยี นแบบมากที่สดุ มมี มุ เสน้ แกนเอียง 30 องศาท้ังสองด้าน 2. ภาพออบลกิ (OBLIQUE) มีมุมเส้นแกนเอยี ง 45 องศาดา้ นเดยี ว

21 3. ภาพไดเมตริก ( DIMETRIC) ลักษณะเหมอื นชน้ิ งานจรงิ เขียนยากเพราะมมี มุ เส้นแกนเอยี ง 7 องศาและ 42 องศา 4. ภาพเพอร์สเปคตีพ (PERSPECTIVE) หรือทศั นียภาพ ลกั ษณะภาพชิ้นงานเหมือนการการมอง ดว้ ยสายตามากที่สุดใชม้ ากในงานสถาปัตยกรรม เช่น ทศั นียภาพบา้ นพกั อาศยั เป็นตน้

22 ภาพไอโซเมตรกิ (ISOMETRIC) ภาพไอโซเมตรกิ (ISOMETRIC) เป็นภาพสามมิตชิ นดิ หนึ่งประกอบดว้ ย เสน้ หลกั 3 เส้น คอื เสน้ แกนเอยี งขวา 30 องศา เสน้ แกนเอียงซ้าย 30 องศา และเส้นแกนตัง้ ฉาก หลกั การเขียนภาพไอโซเมตริกมีหลักดังนี้ • เลอื กมุมทีจ่ ะมอง • มีเสน้ แกนเอียงซ้าย 30 องศา • มเี สน้ แกนเอยี งขวา 30 องศา • มีเสน้ แกนตั้งฉาก • ใชก้ ล่องสี่เหลี่ยมช่วยเสมอ • ระยะทุกด้านสามารถวัดได้ตามจริง รูปแสดงภาพไอโซเมตริก (ISOMETRIC) รูปแสดงการมองภาพ ลูกบาศกโ์ มเดลชิ้นงาน แบบไอโซเมตรกิ ทมี่ า : ประมวล กจิ คณุ ธรรม เร่ืองการอ่านแบบ เขียนแบบ

23 เอกสารอัดสาเนาประกอบการสอน วชิ างานช่างพ้ืนฐาน,2551 เครือ่ งมอื และอุปกรณใ์ นการเขยี นภาพไอโซเมตรกิ (ISOMETRIC) รปู อปุ กรณ์สาหรับการเขยี นแบบ ทม่ี า : ประมวล กจิ คุณธรรม เรอ่ื งการอา่ นแบบ เขยี นแบบ เอกสารอดั สาเนาประกอบการสอน วิชางานช่างพืน้ ฐาน,2551 1 กระดานเขียนแบบ 8 บรรทัดเขียนส่วนโคง้ 2 ไมท้ ี (T-SQUARE) 9 ยางลบดินสอ 3 อปุ กรณ์วงเวียน 10 เทปตดิ กระดาษ 4 บรรทดั สามเหล่ยี ม (SET-SQUARE) 11 บรรทดั สเกล มุมฉาก มุม 30 องศา และมุม 60 องศา 5 บรรทดั สามเหล่ียม (SET--SQUARE) 12 ปากกาเขียนแบบ มุมฉากและมุม 45 องศา 6 บรรทัดสามเหล่ยี มปรบั องศา (ADJUSTABLE SET) 13 ดินสอ 7 บรรทัดองศา (คร่ึงวงกลม) 14 กบเหลาดนิ สอ

24 ภาพไอโซเมตริก (ISOMETRIC) ประกอบดว้ ยเสน้ หลกั 3 เส้น คอื เสน้ แกนเอยี งขวา 30 องศา เสน้ แกนเอยี งซ้าย 30 องศาและเสน้ แกนต้ังฉากจะไม่ใช้อุปกรณห์ มายเลข 5 บรรทัดสามเหลี่ยม (SET- SQUARE) มุมฉากและมุม 45 องศา การใช้ไม้ทีกับบรรทัดสามเหล่ยี มลากเส้น ติดกระดาษเขียนแบบใหเ้ รียบและแน่น ให้ขอบบนกระดาษขนานกับไมท้ ี รปู แสดงการเขียนเสน้ แนวนอน

25 รปู แสดงการเขียนเสน้ ต้ังฉาก ทม่ี า : อานวย อดุ มศรี เขยี นแบบท่ัวไป 1 บทเรยี นท่ี 1 หนา้ 5, 2544 รปู แสดงการเขยี นเส้นแกนเอยี งขวา 30 องศา

26 รูปแสดงการเขียนเส้นแกนเอยี งซ้าย 30 องศา ที่มา : ประมวล กิจคุณธรรม เรื่องการอา่ นแบบ เขียนแบบ เอกสารอดั สาเนาประกอบการสอน วชิ างานช่างพ้นื ฐาน,2551 เส้นทใี่ ช้ในงานเขยี นแบบ ท่ีมา: อานวย อุดมศรี เขียนแบบทว่ั ไป 1 บทเรียนท่ี 4 หนา้ 1, 2544 ชนิดของเส้ น ความหนา (ม.ม.) การใช้งาน เส้นเตม็ หนา เส้นเตม็ บาง 0.7 เส้นขอบรูป เส้นสุดเกลียว 0.35 เส้นบอกขนาด เส้นกาหนดขนาด เส้นตดั เส้นทแยงมุมแสดงพ้นื ที่ราบ เส้นโคนเกลียว

27 เส้นประ 0.5 เส้นขอบรูปท่ีถูกบงั เส้นศูนย์กลางหนา เสน้ ศูนย์กลางบาง 0.7 เสน้ แสดงแนวตัด เสน้ มอื เปล่า 0.35 เส้นผา่ ศนู ย์กลางวงกลม ทรงกลม ทรงกระบอก 0.35 เสน้ แสดงรอยตดั ย่อส่วน มาตราส่วน (SCALE) การเขียนแบบสว่ นใหญเ่ ขียนเทา่ ชนิ้ งานจรงิ แต่ถ้าชนิ้ งานใหญไ่ ปไมส่ ามารถเขียนลงกระดาษได้ ตอ้ งใช้ย่อหรือช้ินงานเล็กไปก็ต้องขยาย มาตราสว่ นที่ใชใ้ นงานเขียนแบบ 1. มาตราส่วนจริง คอื ขนาดเท่าชนิ้ งานจริง ใช้มาตราส่วน 1: 1 2. มาตราสว่ นย่อ คือขนาดชิ้นงานจรงิ ใหญ่ ใช้มาตราสว่ น 1: 2 1 : 5 1 : 10 1: 20 1:50 1 : 75 3. มาตราส่วนขยาย คือขนาดช้ินงานจรงิ เลก็ ใช้มาตรส่วน 2 : 1 5 : 1 10 : 1 20 : 1 50:1 75 : 1 เลขตัวหนา้ ของมาตราส่วนคอื ขนาดที่ต้องเขียนลงในกระดาษ เลขตวั หลงั ของมาตราส่วนคือ ขนาดสดั สว่ นของชน้ิ งาน

28 หมายเหตุ ไมว่ า่ จะเป็นมาตราส่วนจริง มาตราสว่ นยอ่ มาตราสว่ นขยาย ขนาดรปู ต้องเขียนตาม มาตราส่วนทก่ี าหนดไว้ การเขียนตวั เลขบอกขนาดลงในแบบต้องเป็นขนาดจรงิ เท่านัน้ ขน้ั ตอนการเขียนภาพไอโซเมตรกิ ภาพไอโซเมตริก ของชิ้นงานรูปทรงลกู บาศกห์ รอื กลอ่ งสีเ่ หลี่ยม ที่มขี นาดดังต่อไปน้ี • ดา้ นหน้าความยาวเทา่ กับ X • ดา้ นขา้ งความยาวเท่ากับ Y • ความสงู เท่ากับ Z ตามตัวอย่างเขียนดา้ นหน้าอยู่ทางขวามือ ขั้นตอนที่ 1 1. ใชไ้ มท้ ี ประกอบการเขียนเสน้ แนวนอน น้าหนกั เสน้ เบา ความยาวพอประมาณ 2. ใชไ้ มบ้ รรทดั สามเหลยี่ ม เขยี นเส้นแกนตงั้ ฉาก น้าหนกั เส้นเบา ความยาวพอประมาณ ข้ันตอนที่ 2 ใช้ไม้บรรทัดสามเหล่ียม ประกอบการเขียนเส้นแกนเอียงซ้าย 30 องศา และเส้นแกน เอียงขวา 30 องศา ด้วยนา้ หนกั เบา ความยาวพอประมาณ

29 ขนั้ ตอนท่ี 3 1. ที่เส้นแกนเอียงขวา วัดความยาวเท่ากับด้านหน้า เท่ากับ X ใช้ไม้บรรทัดสามเหลี่ยม ประกอบการเขียนเส้นแกนตั้งฉาก ด้วยนา้ หนกั เบา ความยาวพอประมาณ 2. ท่ีเส้นแกนเอียงซ้าย วัดความยาวเท่ากับด้านข้าง เท่ากับ Y ใช้ไม้บรรทัดสามเหลี่ยม ประกอบการเขยี นเสน้ แกนตง้ั ฉาก ดว้ ยน้าหนกั เบาความยาวพอประมาณ ข้นั ตอนที่ 4 ทีแ่ กนตงั้ ฉากแกนใดแกนหนงึ่ ซงึ่ เปน็ เสน้ ความสงู วัดความยาวเท่ากบั ความสงู เท่ากับ Z แลว้ ใชไ้ มบ้ รรทดั สามเหล่ียม เขียนเส้นแกนเอยี งซา้ ย เสน้ แกนเอียงขวา 30 องศา ดว้ ยนา้ หนกั เบา ความยาวพอประมาณ จะได้ภาพด้านหน้าและด้านขา้ ง ขนั้ ตอนท่ี 5 ทส่ี ว่ นสงู ของเส้นแกนตง้ั ฉาก ใชไ้ ม้บรรทัดสามเหลี่ยม ประกอบการเขียนเส้นแกนเอียงซ้าย และ แกนเอียงขวา 30 องศา มาตัดกนั ดว้ ยน้าหนักเบา จะได้ภาพดา้ นบน

30 ข้ันตอนท่ี 6 ลงนา้ หนกั เสน้ ขอบรูป ตามข้ันตอน จะได้ภาพไอโซเมตริก ของวตั ถลุ ูกบาศกส์ เี่ หล่ยี ม ท่มี ีขนาดตาม ต้องการ ถา้ ต้องการแสดงใหเ้ หน็ เสน้ ขอบรูปท่ีถูกบัง ใหแ้ สดงได้ดว้ ยเส้นประ ดงั รูป

31 รูปไอโซเมตรกิ ที่แสดงเสน้ ขอบรูปที่ถกู บงั ด้วยเส้นประ การสรา้ งวงรีบนภาพไอโซเมตรกิ (ISOMETRIC) วตั ถุช้ินงานท่ีมีรูปทรงกลมหรอื รูกลมเม่อื เขยี นเป็นภาพไอโซเมตริกแล้วจะเปน็ ภาพวงรี มแี นวการวาง 3 ลักษณะ ลกั ษณะวงรภี าพไอโซเมตรกิ

32 1. แบ่งคร่ึงส่เี หลยี มขนมเปยี กปนู DBCA ออกเปน็ ส่ีส่วนดว้ ยเส้นศูนยก์ ลาง 2. ลากเสน้ จากจุด C และจดุ D ไปหาจดุ ตัดทอ่ี ยตู่ รงขา้ ม 2 เสน้ จะได้เส้นตดั กนั ทจ่ี ดุ ตดั 1 และ 2 3. ที่จดุ ตัด 1และ 2 เขียนส่วนโคง้ เล็ก r จุด C และจดุ D เขียนสว่ นโค้งใหญ่ R จะได้รูปวงรตี าม ต้องการ การบอก ขนาด (DIMENSION)ของแบบช้นิ งาน

33 การกาหนดขนาดมหี ลักดงั น้ี 1.เสน้ บอกขนาดเส้นแรกห่างจากเสน้ ขอบรปู ประมาณ 10 มลิ ลเิ มตร และต้องขนานกบั เส้นขอบรปู โดยมเี สน้ กาหนดขนาด เป็นตัวกาหนดความยาวตามภาพตวั อยา่ ง 2.เสน้ ถดั ไปหา่ งประมาณ 7 มิลลเิ มตร 3.ตัวเลขบอกขนาดสงู จากเส้นบอกขนาดประมาณ 3 มลิ ลเิ มตร และตอ้ งบอกก่ึงกลางเส้นบอกขนาด 4.เสน้ กาหนดขนาดต้องลากเลยหวั ลูกศรประมาณ 2 มิลลิเมตร 5.หัวลกู ศรเล็กปลายแหลมระบายดาทบึ d = ขนาดของเส้นขอบรปู ถา้ เสน้ ขอบรูป 0.5 มิลลิเมตร L = ความยาวของหวั ลกู ศรประมาณ 2.5 – 3 มลิ ลเิ มตร h = ความสงู ของหวั ลูกศรประมาณ 0.7 -1.5 มลิ ลเิ มตร การบอกขนาดกับภาพไอโซเมตรกิ (ISOMETRIC) รูปแสดงตัวอยา่ งการบอกขนาดกับภาพไอโซเมตริก

34 หลกั การเขยี น 1. เสน้ บอกขนาดเส้นแรกหา่ งจากเสน้ ขอบรปู ประมาณ 10 มิลลิเมตรและต้องขนาน กับเส้นขอบรปู โดยมเี สน้ กาหนดขนาดเปน็ ตัวกาหนดความยาวตามภาพตัวอยา่ ง 2. เส้นถัดไปห่างประมาณ 7 มิลลิเมตร 3. เสน้ กาหนดขนาดลากต่อจากเส้นขอบรูป เป็นเส้นแกนเดียวกนั เชน่ แกนเอยี ง 30 องศา แกนต้งั ฉากเป็นต้น 4. ตวั เลขบอกขนาดสงู จากเส้นบอกขนาดประมาณ 3 มิลลิเมตรและต้องบอกก่ึงกลาง เสน้ บอกขนาด 5. เส้นกาหนดขนาดต้องลากเลยหวั ลูกศรประมาณ 2 มิลลเิ มตร 6. หวั ลูกศรเลก็ ปลายแหลมระบายดาทบึ

35 การเขยี นภาพไอโซเมตริก ตามรปู แบบท่ีกาหนดให้ นกั เรียนบางคน ขาดความรอบคอบ เขียนเสน้ ขอบรปู ได้ไม่สมบูรณ์ เพอ่ื ความเข้าใจท่ีคงทน ให้ นกั เรียนฝึกใชล้ ูกบาศก์โมเดลช้ินงาน ตาม ขัน้ ตอนดงั นี้ รปู แสดงภาพไอโซเมตริกสัมพนั ธก์ ับลกู บาศก์โมเดลชน้ิ งาน ข้ันตอนที่ 1 การเขียนภาพไอโซเมตริก ต้องเร่มิ จากกลอ่ งเต็มรูปเสมอ จากรูปกาหนดให้ ดา้ นหนา้ ใช้ ลกู บาศก์ 4 ลูก ด้านข้างใชล้ ูกบาศก์ 3 ลกู และความสูงใช้ลูกบาศก์ 2 ลกู รปู แสดงภาพไอโซเมตรกิ สัมพนั ธ์กบั ลกู บาศก์โมเดลช้ินงาน ขั้นตอนท่ี 1 ทม่ี า : ประมวล กิจคณุ ธรรม เรอ่ื งการอ่านแบบ เขยี นแบบ เอกสารอัดสาเนาประกอบการสอน วชิ างานชา่ งพนื้ ฐาน,2551

36 ขั้นตอนที่ 2 จากการมองภาพด้านขา้ ง เขียนเส้นขอบรปู ตามแบบท่ีกาหนด จะเหน็ ส่วนทีห่ ายไป รูปแสดงภาพไอโซเมตริกสัมพนั ธ์กบั ลูกบาศกโ์ มเดลช้ินงาน ขั้นตอนท่ี 2 ขั้นตอนที่ 3 จากการมองภาพด้านบน เขยี นเสน้ ขอบรปู ตามแบบที่กาหนด จะเหน็ ส่วนที่หายไป รูปแสดงภาพไอโซเมตริกสัมพนั ธ์กบั ลกู บาศกโ์ มเดลช้นิ งาน ขน้ั ตอนท่ี 3 ท่ีมา : ประมวล กิจคณุ ธรรม เรอื่ งการอา่ นแบบ เขยี นแบบ เอกสารอัดสาเนาประกอบการสอน วิชางานช่างพ้ืนฐาน,2551

37 ข้นั ตอนท่ี 4 จากการมองภาพด้านหนา้ เขียนเส้นขอบรูป ตามแบบที่กาหนด จะเหน็ สว่ นท่หี ายไป รปู แสดงภาพไอโซเมตรกิ สัมพนั ธก์ ับลูกบาศก์โมเดลชิ้นงาน ขัน้ ตอนท่ี 4 ขั้นตอนที่ 5 มองภาพไอโซเมตรกิ จากภาพทก่ี าหนดให้ และจากลกู บาศก์ไม้ โมเดลช้นิ งาน ลงน้าหนกั เสน้ จะไดภ้ าพไอโซเมตรกิ ตามต้องการ รูปแสดงภาพไอโซเมตริกเปรียบเทยี บกบั ลูกบาศก์ โมเดลชน้ิ งาน ขน้ั ตอนท่ี 5 ที่มา : ประมวล กิจคณุ ธรรม เรื่องการอ่านแบบ เขียนแบบ เอกสารอดั สาเนาประกอบการสอน วชิ างานชา่ งพนื้ ฐาน,2551 การเขียนภาพไอโซเมตรกิ ช้ินงานที่มผี ิวเอยี ง

38 ตวั อยา่ งภาพไอโซเมตรกิ ชน้ิ งานทีม่ ผี ิวเอียง จากภาพจะเหน็ ไดว้ ่าช้ินงานท่มี ผี วิ เอียงนน้ั เส้นขอบรูป ตาแหนง่ ผวิ เอียงของช้นิ งาน จะไม่ขนานกับเส้นแกนตงั้ ฉากและเส้นแกนเอียง 30 องศา ขน้ั ตอนการเขยี น 1. ใช้กล่องสเี่ หลี่ยมช่วยเสมอ โดยมองขนาดภาพความกว้าง ความยาว ความสูงสร้าง กล่องไอโซเมตริกเต็มรปู ตามข้ันตอนการเขียน 2. จากภาพชน้ิ งาน มองภาพอา่ นแบบ ดา้ นบน ดา้ นขา้ ง วดั ระยะเขียนเส้นขอบรูปตาม แบบชิน้ งาน 3. เขยี นเส้นขอบรปู ตาแหนง่ ผวิ เอียงตามแบบ 4. ลงน้าหนกั เส้นขอบรูป จะไดภ้ าพชิ้นงานตามต้องการ 12 34