ก งานวิจยั ในช้นั เรียน หัวขอ้ วจิ ัย การศึกษาเจตคตติ ่อการเรียนวชิ าประวตั ิศาสตร์ชาติไทย ของนกั ศกึ ษา กศน. ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย นายภานุวฒั น์ ดุษฎีนศิ ากร ครู กศน.ตำบลคขู าด ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอคง สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย จงั หวัดนครราชสมี า
ข หัวข้อวจิ ยั การศกึ ษาเจตคติตอ่ การเรยี นวชิ าประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทยของนกั ศึกษา กศน. กศน.ตำบลคขู าด ชอ่ื -สกลุ ภานวุ ัฒน์ ดษุ ฎีนิศากร สาระวชิ า การพฒั นาสงั คมรายวชิ าประวัตศิ าสตร์ชาติไทย ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 บทคดั ยอ่ การวิจัยครัง้ น้มี วี ตั ถุประสงค์ 1) เพอ่ื ศึกษาเจตคติต่อการเรยี นวชิ าประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยของ นักศึกษา กศน. ตำบลคูขาด สมมติฐานการวิจัย คือเจตคติต่อการเรียนวิชา ประวัติศาสตร์ชาติไทยของนักศึกษา กศน. ตำบลคูขาด ในแต่ละด้านส่วนใหญอ่ ยใู่ น ระดบั ต่ำ กลมุ่ ตัวอยา่ งทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั คอื นกั ศกึ ษา กศน.ตำบล สงั กดั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอคง ปีการศึกษา 2565 จำนวนนักเรียนทั้งหมด 31 คน โดยใช้ วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม เรือ่ งเจตคติต่อการเรียนวชิ าประวัติศาสตร์ชาติไทยของนักศึกษา กศน.ตำบลคูขาด และสถติ ทิ ่ใี ชใ้ นการวิจัย คือ คา่ ร้อยละ (Percentage) คา่ เฉล่ยี (x )̅ และคา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการศึกษา พบว่า เจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยในด้านความรู้ความเข้าใจ ด้าน ความรู้สึก ด้านพฤติกรรมที่แสดงออก และด้านการจัดกิจกรรม จำนวน 4 ด้าน ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น พบว่า นกั ศกึ ษามีเจตคตติ ่อประวตั ิศาสตร์ชาติไทยโดยรวมมรี ะดับปานกลางทางการเรียนวชิ าประวัตศิ าสตร์ชาติไทย ( x̅ =3.23, S.D.=1.15) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความรู้ความเข้าใจในระดับมาก (x ̅=3.73, S.D.=0.94) รองลงมาคือ ด้านการจัดกิจกรรมในระดับปานกลาง ( ̅x=3.25, S.D.=1.22) ด้าน ความรู้สึกในระดับปานกลาง (x =̅ 3.00, S.D.=1.22) และเจตคติต่อประวัติศาสตร์ชาติไทยโดยรวมท่ีมีด้านน้อย ที่สุดคือ ด้านพฤติกรรมท่ี แสดงออกในระดบั ปานกลาง ( x̅ =2.94, S.D.=1.23) ความสำคญั : เจตคตติ อ่ การเรียนวชิ าประวตั ิศาสตร์ชาติไทย
ค กิตตกิ รรมประกาศ งานวิจยั ในช้นั เรยี น หวั ขอ้ การวจิ ยั เรอ่ื ง การศึกษาเจตคตติ อ่ การเรยี นวิชาประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย ของ นกั ศึกษาระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โดยใชแ้ บบสอบถาม กบั กลมุ่ ตวั อยา่ งนกั ศกึ ษา กศน. ตำบลคขู าด ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย นสี้ ำเรจ็ ลลุ ่วงไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย ซึง่ ไดร้ บั ความช่วยและใหค้ ำแนะนำในการ จดั ทำงานวจิ ยั เล่มนี้ จากท่านผอู้ ำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอคง ผวู้ จิ ัย ขอขอบพระคณุ เป็นอย่างสูง ไว้ ณ ทน่ี ี้ ผูว้ จิ ยั ขอขอบพระคุณ คณุ ครูภูษิชช์ จันทรน์ อ้ ย และคณุ ครูนุชรีย์ กวา้ งขวาง ท่ีใหค้ วามอนุเคราะห์ ในการตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมอื และใหค้ ำแนะนำใน การจดั ทำวิจยั และนกั ศกึ ษาระดับช้ันมัธยมศึกษาตอน ปลาย กศน.ตำบลคูขาด ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอคง ทใ่ี ห้ความร่วมมือใน การให้ข้อมูลในการทำวิจยั จนทำให้งานวิจยั น้ีลลุ ว่ งไปได้ดว้ ยดี ผู้วจิ ยั หวงั เปน็ อยา่ งยิ่งวา่ งานวจิ ยั เรอ่ื ง การศึกษาเจตคตติ อ่ การเรียนวิชาประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย นีจ้ ะ มปี ระโยชน์ ต่อการพฒั นานกั ศึกษาและผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าประวตั ิศาสตรช์ าติไทย สาระการพฒั นา สังคม ของศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอคง นายภานวุ ัฒน์ ดุษฎีนศิ ากร กศน.ตำบลคูขาด
ง สารบัญ หนา้ บทคดั ยอ่ ................................................................................................................................. ก กติ ตกิ รรมประกาศ.................................................................................................................. ข สารบัญ ................................................................................................................................... ค สารบญั ตาราง......................................................................................................................... จ สารบัญภาพ............................................................................................................................ ฉ บทที่ 1 บทนำ......................................................................................................................... 1 1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา………………………........................................... 2 วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั ........................................................................................... 2 สมมติฐานของการวจิ ยั ............................................................................................... 2 ขอบเขตของการวจิ ยั .................................................................................................. 3 ประโยชน์ทีไ่ ด้รับจากการวจิ ยั ..................................................................................... 3 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ ....................................................................................................... 4 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย............................................................................................. 5 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วขอ้ ง................................................................................ เอกสารทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั หลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 วชิ าประวตั ศิ าสตร์ 5 สำหรบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4....................................................................................... 11 แนวความคดิ ทเ่ี กย่ี วข้องกบั เจตคติ............................................................................ 22 งานวิจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ ง................................................................................................... 25 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนินการวจิ ยั .................................................................................................... 25 ประชากรและการสมุ่ กลมุ่ ตัวอยา่ ง ........................................................................... 25 เครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจยั ........................................................................................... 26 ข้ันตอนในการสรา้ งเคร่อื งมือ ................................................................................... 26 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ............................................................................................. 27 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู .................................................................................................. 27 สถิติทใี่ ช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู .................................................................................
ง สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ 29 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล............................................................................................. 29 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ................................................................................................. 29 ลำดับขัน้ ตอนของการเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ................................................... 30 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู .............................................................................................. 35 35 บทท่ี 5 สรปุ ผลอภิปรายและข้อเสนอแนะ........................................................................... 36 สรุปผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล....................................................................................... 36 การอภิปรายผล ....................................................................................................... 37 ขอ้ เสนอแนะ............................................................................................................ 39 บรรณานุกรม........................................................................................................... 40 ภาคผนวก............................................................................................................................. ภาคผนวก (ก) เครื่องมือทใ่ี ช้ในการวจิ ยั .........................................……………………… ประวตั ผิ วู้ ิจัย.........................................................................................................................
จ สารบัญตาราง ตาราง หน้า 1 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ของผ้ตู อบแบบสอบถามวดั เจตคติทางการเรียน วชิ าประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย........................................................................................ 31 2 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ของผตู้ อบแบบสอบถามวัดเจตคตดิ า้ นความรู้ความเขา้ ใจ ทางการเรยี นวิชาประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย .................................................................. 31 3 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ของผตู้ อบแบบสอบถามวดั เจตคติดดา้ นความรู้ ทางการเรียนวิชาประวติศาสตร์ชาตไิ ทย ................................................................................. 32 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผู้ตอบแบบสอบถามวัดเจตคตดิ า้ นพฤติกรรมท่แี สดงออก ทางการเรียนวชิ าประวตศิ าสตร์ชาตไิ ทย ................................................................................. 33 5 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ผูต้ อบแบบสอบถามวดั เจตคตดิ ้านพฤติกรรมการจดั กิจกรรม ทางการเรียนวชิ าประวติศาสตร์ชาตไิ ทย ................................................................................. 34 6 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลผตู้ อบแบบสอบถามวดั เจตคตดิ ้านความรคู้ วามเข้าใจดา้ นความรู้ดา้ น พฤติกรรมทแี่ สดงออก และด้านการจดกจิ กรรมท่มี ีทางการเรยี นวชิ าประวตศิ าสตร์ชาตไิ ทย ... 35
สารบญั ภาพ ฉ หนา้ ภาพประกอบ 1 ภาพกรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั ................................................................................................5
บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรซ่ึง กำหนดให้ แต่ละสถานศึกษาต้องจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาขึ้น และจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้อง กับ แนวทางของหลักสูตรอย่างเต็มตามศักยภาพ ดังนั้น การที่จะให้ผู้เรียนมีโอกาสที่จะเลือก เรียน หรือปฏิบัติ กจิ กรรมตามความเหมาะสม หลักสตู รแกนกลางได้มีการจัดการศึกษาลักษณะเปน็ กรอบ และแนวทางในการ จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นไปตามจุดหมายของหลักสตู ร โดยกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ในแต่มาตรฐานไว้ โดยปัจจุบันรฐั บาลเลง็ เห็นถึงความสำคัญ ของการศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ชาตไิ ทยจึงได้มี แนวคิดในการแยกวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย เพิ่มเติม เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าถึงสาระความสำคัญเนื้อหาที่ เรียนให้มากขึ้น โดยรัฐบาลได้ให้สำนักงาน กศน. เตรียมแยกวิชาย่อยในกลุ่มสาระการพัฒนาสังคม ซึ่ง เพ่ือ ปรบั โครงสรา้ งเวลาเรียนในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระบบการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 และ มีนโยบายจะใหน้ กั ศกึ ษาไดเ้ รียนวิชาประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย ในทกุ ระดบั ทั้งประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ประวัติศาสตร์ชาติไทยมีความสำคัญต่อทุกคนเพราะจะทำให้รู้ถึงด้านการพัฒนาการ และด้าน เหตุการณ์สำคัญในอดีตจากหลักฐานที่หลงเหลือ และได้ทิ้งร่องรอยเอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาได้ เข้าใจถึง ชีวติ ความเป็นอยู่ เหตุการณ์ในประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทยเป็นเหตุการณส์ ำคัญทมี่ ผี ลตอ่ คนจำนวนมาก อีกท้งั เป็น อดีตที่ควรเรียนรู้ การเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ชาติไทยยงั ช่วยฝึกฝนใหค้ ิดอยา่ งมีเหตุมีผลบน พื้นฐานความรู้ ที่กว้างขวาง อีกทั้งยังทำให้มีความเข้าใจว่ามนุษย์มีความหลากหลายทั้งทางด้าน ความคิด เชื้อชาติ และ วฒั นธรรม นอกจากนั้น การศึกษาถึงเรื่องราวประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทยสว่ นใหญบ่ ง่ ชใ้ี ห้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลง ด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศตลอดจน เหตุการณ์สำคัญที่เคยเกิดขึ้น ปัญหาหลักในการจัดเรียนการ สอนในรายวิชานี้คือครูจำเป็นต้องใช้เทคนิค หลายอย่างที่จะกระตุ้นให้นักศึกษาสนใจ เพราะการเรียน ประวัติศาสตร์ชาติไทยส่วนใหญ่คือเรื่องในอดีตท่ี นักศึกษาคิดว่าน่าเบื่อไม่น่าเรียน ครูจำเป็นต้องวางแผนการเรียนการสอนให้ดี ทัศนคติต่อประวัติศาสตร์ ชาติไทยในลักษณะดงั กลา่ วยอ่ มทำให้นกั ศกึ ษา และกระท่ังทำให้ ครไู ม่เห็นคณุ คา่ ตอ่ การจัดการเรียนการสอน วิชาน้ีเท่าที่ควร จากการที่ผู้วจิ ัยเป็นครู กศน.ตำบล ของนักศึกษา กศน.ตำบลคูขาด ได้สังเกตพบว่านักศึกษาบางคน ชอบ และไม่ชอบเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย โดยนักศึกษาที่ชอบเรียน วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย จะ ตั้งใจเรียน เข้าชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอ ซักถามความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาที่ครูได้ สอนผ่านไปแล้ว แต่นักศึกษาท่ี ไม่ชอบเรียนวชิ าประวัติศาสตร์ชาติไทยจะไม่ตง้ั ใจเรยี น ไม่ทบทวนเนอื้ หาท่ไี ด้ เรยี นมา โดยดไู ดจ้ ากพฤติกรรม ของนักศกึ ษาในหอ้ งเรียนซ่ึงบ่งบอกเจตคติทั้งทางบวกและทางลบได้ เป็นอย่างดี และจากการสอบถามยังพบ อีกว่านักศึกษา กศน.ตำบล นักศึกษาจะมีเจตคติทั้งทางบวกและทางลบต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติ ไทย
ดว้ ยเหตนุ ี้ ผ้วู จิ ยั จงึ มีความสนใจศึกษาเจตคติตอ่ การเรยี นวชิ าประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยของนกั ศึกษา กศน.ตำบล คูขาด ทัง้ น้เี พือ่ ให้ครูจะไดน้ ำมาใช้ปรับปรุงแก้ไขการสอนให้ดีข้ึน อันจะก่อให้เกิด ประโยชนแ์ ก่การศึกษาของ ชาตอิ ยา่ งเต็มที่ 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั เพอ่ื ศึกษาเจตคติต่อการเรียนวชิ าประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยของนกั ศึกษา กศน. 1.3 สมมตฐิ านของการวจิ ยั เจตคตติ อ่ การเรียนวิชาประวตั ิศาสตรข์ องนักศึกษา กศน. ในแต่ละดา้ นอยูใ่ นระดับต่ำ 1.4 ขอบเขตของการวจิ ัย 1.4.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่างทใ่ี ชใ้ นการวิจยั ประชากร ที่ใช้ในการทำวิจัยครั้งนี้คือ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอคง ปีการศึกษา 2565 จำนวนนกั ศึกษาท้ังหมด 31 คน กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการทำวิจัยครั้งนี้คือ นักศึกษา กศน.ตำบลคูขาด ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายสังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอคง ปีการศึกษา 2565 จำนวน นกั ศกึ ษาท้ังหมด 31 คน โดยใชว้ ิธกี ารคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 1.4.2 ตวั แปรท่ใี ช้ในการวจิ ัย ตัวแปรอิสระ ไดแ้ ก่ เจตคติต่อการเรยี นวชิ าประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ ดา้ นความรูค้ วามเขา้ ใจ ดา้ นความรู้สกึ ดา้ นพฤตกิ รรมทแี่ สดงออก และ ด้านการจดั กจิ กรรม 1.5 ประโยชนท์ ่ีได้รับจากการวิจัย 1.5.1 ผลการวิจัยครั้งนี้ทำให้ทราบถึงเจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยของนักศึกษา กศน.ตำบลคขู าด 1.5.2 ผลการวิจยั สามารถใชข้ อ้ มลู เปน็ แนวทางในการแก้ปัญหา และพฒั นาพฤติกรรมของ นักศึกษา ใหด้ ขี นึ้ 1.5.3 ผลการวิจัยจะเป็นประโยชน์ต่อ กศน.ตำบลคูขาด ในการกำหนดนโยบาย เพื่อนำไปใช้เป็น แนวทางในการปรับปรุงแก้ไขปัญหา และช่วยให้การเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยให้มี ประสิทธภิ าพดขี นึ้
1.6 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 1.6.1 เจตคติ หมายถึง ความคิด ความรสู้ ึก ความสนใจ ความชอบ ความพงึ พอใจของแตล่ ะ บุคคลที่ แสดงออกผ่านพฤติกรรม การกระทำ คำพูด โดยมีเจตคติทางด้านบวก หรือทางด้านลบซึ่ง ขึ้นอยู่แต่ละ สถานการณ์ของแต่ละบุคคลที่แสดงออกมาว่าช่วงเวลานั้นมีเจตคติด้านใด ผู้วิจัยได้แบ่ง เจตคติต่อการเรียน วชิ าประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย ออกเป็น 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1. เจตคตติ ่อการเรียนวชิ าประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย ดา้ นความรูค้ วามเข้าใจ หมายถึง การเห็น คุณคา่ ความสำคญั และประโยชน์ท่ีได้รับจากการเรียนวชิ าประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทย ประกอบดว้ ย เนอ้ื หาสาระ วิชาประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และการเข้าใจสาระเนอ้ื หาวิชาประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย 2. เจตคตติ อ่ การเรียนวิชาประวตั ิศาสตร์ชาติไทย ดา้ นความรู้สึก หมายถงึ ความชอบ ความ พึง พอใจ และความสนกุ สนานทีไ่ ด้รบั จากการเรยี นวชิ าประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย 3. เจตคตติ ่อการเรยี นวชิ าประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทย ด้านพฤติกรรมท่ีแสดงออก หมายถึง ท่าที การแสดงออกถึงความตั้งใจที่จะนำความรู้ ความเข้าใจที่ได้รับจากการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย นำมาใช้ ในชวี ติ ประจำวันได้ 4. เจตคติต่อการเรยี นวิชาประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย ด้านการจดั กิจกรรม หมายถึง เจตคตทิ ่ีมี ต่อ การจัดกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อเสริมทักษะการเรียนรู้ รวมทั้งการบรรยาย หรือการเชิญ วิทยากร มาอธิบายในกจิ กรรมนั้น ๆ 1.6.2 กศน. หมายถึง กศน.ตำบลคขู าด สถานอี นามัยหลังเกา่ บา้ นโนนแดง หม่ทู ี่ 4 ตำบลคขู าด อำเภอคง จงั หวัดนครราชสมี า 30260 1.6.3 นกั ศกึ ษา หมายถงึ นกั ศึกษา กศน.ตำบลคขู าด สงั กดั ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัยอำเภอคง ปีการศกึ ษา 2565 จำนวนนักศึกษาทั้งหมด 31 คน 1.7 กรอบแนวคดิ ในการวิจัย การศกึ ษาคร้งั นี้ เปน็ การศกึ ษาเจตคติต่อการเรยี นวิชาประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยของนกั ศกึ ษา กศน. ตำบลคขู าด ตวั แปรอิสระ ตวั แปรตาม เจตคตติ อ่ การเรียนวชิ า 1. ดา้ นความรคู้ วามเข้าใจ ประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทย 2. ดา้ นความรสู้ ึก ภาพประกอบท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั 3. ด้านพฤติกรรมท่แี สดงออก 4. ดา้ นการจัดกจิ กรรม
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง การวจิ ยั ครัง้ น้ีมจี ดุ มุ่งหมายเพอ่ื ศกึ ษาเจตคตติ อ่ การเรยี นวชิ าประวตั ศิ าสตร์ชาติไทยของนกั ศึกษา กศน. เพอื่ กอ่ ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพและประโยชนส์ งู สุด ผู้วจิ ัยจึงไดศ้ กึ ษาจากเอกสาร ตำรา และงานวจิ ัยที่ เกย่ี วข้อง เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการวิจัยครงั้ นี้ 2.1. เอกสารที่เกย่ี วขอ้ งกบั หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 วชิ าประวตั ศิ าสตรช์ าติไทย สำหรับ นกั ศกึ ษา กศน. 2.1.1 ความหมายของประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย 2.1.2 ความสำคญั ของการศึกษาประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย 2.1.3 หลกั การสอนวชิ าประวัติศาสตรช์ าตไิ ทย 2.2 แนวความคิดที่เกยี่ วข้องกับเจตคติ 2.2.1 ความหมายของเจตคติ 2.2.2 ความสำคญั ของเจตคติ 2.2.3 ลกั ษณะของเจตคติ 2.2.4 องค์ประกอบของเจตคติ 2.2.5 การเกิดและการเปลี่ยนแปลงเจตคติ 2.2.6 ทฤษฎกี ารเปลี่ยนแปลงเจตคติ 2.2.7 การวดั เจตคติ 2.2.8 เจตคตติ ่อการเรยี นวชิ าประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย 2.3. งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง 2.1 เอกสารท่เี กย่ี วข้องกบั หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ. 2551 วชิ า ประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย สำหรบั นกั ศึกษา กศน. 2.1.1 ความหมายของประวัติศาสตร์ชาติไทย ประวัติศาสตร์ชาติไทย หมายถึง เรื่องราวต่าง ๆ ในอดีต ที่มีการจดบันทึก ลายลักษณ์อักษร ให้คน รุ่น หลังได้ศึกษาวถิ ีชวี ิตของคนในสมัยนั้น ๆ ว่าได้ใชช้ ีวิตความเป็นอยู่กันอย่างไร รวมไปถึงเหตุการณ์ ต่าง ๆ ทเ่ี กิดขึน้ ในสมยั นั้นการศึกษาเร่อื งประวัติศาสตร์ชาติไทยส่วนใหญ่จะเป็นเหตุการณใ์ นอดีตทั้งหมดของมนุษย์ หรือตั้งแต่ มีมนุษย์เกิดขึ้นมาในโลกจนถึงวินาทีที่พึ่งผ่านมา โดยประวัติศาสตร์ชาติไทยจะเน้นความเป็นมา และ ความสำคัญเป็นหลัก นิวตัน (Newton. 2001, p.182 อ้างถึง ธนวรรณ อิสโร, 2554, น.13) ได้ให้ความหมายของ ประวัติศาสตร์ชาตไิ ทยไวว้ ่า ประวัตศิ าสตรช์ าติไทย หมายถงึ การบนั ทึกเรอื่ งราวของมนุษย์ โดยบันทึกข้อมูล ทาง ประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทยทีเ่ ปน็ เหตุการณ์ตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ข้ึนในอดตี น้ัน ไมม่ ีบนั ทกึ ใด ๆ ท่ีจะให้ข้อมูลได้อย่าง ครบถ้วน
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (2540, น.15) ได้ให้ความหมายของประวัติศาสตร์ชาติไทยไว้ว่า ประวัติศาสตร์ ชาติไทย หมายถงึ เร่ืองราวในอดีตทน่ี ักประวัติศาสตร์ชาตไิ ทยคน้ คิดขนึ้ มาอยา่ งมีหลักฐาน แลว้ นำมาถกเถียง ถงึ ความหมายของเร่ืองราวตา่ ง ๆ ในปจั จบุ ัน วันเพ็ญ วรรณโกมล (2544, น.80-81) ได้ให้ความหมายของประวัติศาสตร์ชาติไทยไว้ว่า ประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย หมายถึง การเกบ็ เหตุการณ์เรอื่ งราว หรอื การกระทำของมนุษย์ ท้ังในดา้ นความเจริญ และความเสื่อมของสภาพเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง และสังคม ในยุคสมัยต่าง ๆ ในอดีต โดย นับ ย้อนหลงั 10 ปี จากปัจจบุ ัน ราชบัณฑิตยสถาน (2546, น.665) ได้ให้ความหมายของประวัตศิ าสตร์ชาติไทยไว้ว่า ประวัติศาสตร์ ชาตไิ ทย หมายถึง เหตุการณค์ วามเปน็ มาหรอื เรื่องราวของประเทศชาติ ตามทีบ่ ันทกึ ไว้เป็นหลักฐาน วงเดือน นาราสจั จ์ (2549, น.1) ไดใ้ ห้ความหมายของประวัติศาสตร์ชาตไิ ทยไวว้ ่า ประวตั ิศาสตรช์ าติ ไทย หมายถึง เหตุการณ์ หรือเรื่องราว ในอดีตที่มีหลักฐานยืนยัน และตรวจสอบได้ โดยอาศัยข้อมูล หรือ หลกั ฐานทเี่ ช่ือว่าเปน็ ความจริงและถูกตอ้ งประกอบกับการวเิ คราะห์ หรือข้อสมมติฐานของตน จากความหมายของแต่ละท่านที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า เหตุการณ์ และเรื่องราว พฤติกรรม ของมนุษย์ในอดีต โดยกลุ่มแรกมองว่าประวัติศาสตร์ชาติไทยคือเรื่องราวเกี่ยวข้องกับคนที่ศึกษา จากการ ตคี วามหลักฐาน ไมใ่ ช่การศกึ ษาบันทกึ เพยี งอย่างเดยี ว ในขณะท่กี ล่มุ ท่ีสองมองวา่ ประวัติศาสตรช์ าติไทยเป็น เรื่องจริงท่ีถกู บนั ทึกไว้ โดยการเกบ็ เหตุการณ์เรอื่ งราว หรอื การกระทำนำมาบนั ทึก เปน็ หลกั ฐาน 2.1.2 ความสำคัญของการศึกษาประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย สมุ นทิพย์ บุญสมบัติ (2533, น.11) ไดอ้ ธิบายความสำคญั ของการศกึ ษาประวัติศาสตรช์ าตไิ ทย คือ 1. ใหค้ วามสนกุ สนานเพลิดเพลนิ 2. ช่วยกระตนุ้ ความรสู้ กึ นกึ คิดเก่ยี วกบั มนุษยชาติท้งั ในอดตี และปัจจุบัน 3. ศกึ ษาค้นคว้าเรอื่ งราวของชนชาตติ า่ ง ๆ เกี่ยวกับวิธกี ารดำรงชวี ิตบคุ ลกิ ภาพ และลักษณะ นิสยั ตลอดจนความคดิ และการกระทำกิจกรรมต่าง ๆ ของคนชาตนิ 4. ช่วยสนับสนนุ สรา้ งเสริม และพฒั นาความจงรกั ภกั ดตี อ่ ชาติ ศาสนา กษัตรยิ ค์ วามรกั ชาติ ความ เขา้ ใจในด้านขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม และการประกอบอาชพี ของชนชาตติ า่ ง ๆ 5. ชว่ ยใหผ้ ู้ศกึ ษาเกิดความคดิ เชงิ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ และพนิ ิจพิจารณา รวมท้ังความรู้สึกเหน็ อกเหน็ ใจเพ่อื นมนษุ ย์ 6. สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจในปัญหาและแนวทางแก้ไข อภปิ ราย หาข้อสรปุ ของชมุ ชน สมัยใหม่ใน ดา้ นการเมือง เศรษฐกจิ และสงั คม
2.1.3 หลกั การสอนวิชาประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย เฉลิม นติ ิเขตตป์ รีชา (2545, น.107-117) ไดอ้ ธบิ ายหลกั การสอนวิชาประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย คอื 1. หลักการทัว่ ไป 1.1 ครูประวัติศาสตร์ชาติไทยควรมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบการสอน ปัจจุบันมี 2 รปู แบบ คือ 1.1.1 แบบถา่ ยทอดความรู้ ความคิด และประสบการณ์ จากตำราใหแ้ กผ่ ้เู รียนโดย ผา่ นทาง ผู้สอน โดยรบั เอาความรู้ และ ประสบการณ์ และวธิ ีแสวงหาประสบการณ์ด้วยตนเอง 1.1.2 แบบผู้เรียนเสาะแสวงหาประสบการณ์ความรู้จากการลงมือกระทำด้วยตนเอง โดยมี ครเู ปน็ ผชู้ ว่ ยใหแ้ นวทางหรอื แนะนำ ในข้ัน วางแผนขั้นปฏิบัติการ และขั้นสรุป เพ่ือประมวล ความรู้เข้าด้วยกันอย่างมีระเบียบ เกิดประสบการณ์ และ พรอ้ มท่จี ะนำไปใชต้ ่อไป 1.2 ครปู ระวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทยควรจะต้องรหู้ ลกั เกณฑ์การสอนในโรงเรียนมธั ยมศึกษา มีข้ันตอน ดังตอ่ ไปนี้ 1.2.1 สอนใหต้ รงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร และจุดประสงค์ 1.2.2 สอนโดยการให้ผู้เรยี นไดล้ งมือกระทำ 1.2.3 สอนใหผ้ ู้เรยี นรู้จกั นำความสามารถไปใช้เปน็ แนวทางในการดำรงชวี ติ ในสังคม และเพ่อื การพัฒนาตอ่ ไป 1.3 ครปู ระวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยควรรู้หลกั การสอนทีด่ วี า่ มีลักษณะหรอื องค์ประกอบที่สำคัญอะไรบ้าง 1.3.1 ผู้เรยี นมคี วามกระตอื รอื ร้น และเปน็ ฝ่ายทำกจิ กรรม 1.3.2 มีการใชว้ ธิ กี าร และเทคนคิ หลาย ๆ แบบผสมผสานกนั 1.3.3 มีการจงู ใจผู้เรียนใหส้ นใจ และต้ังใจเรยี น 1.3.4 ไดผ้ ลตามจดุ ประสงค์ของหลกั สูตร 1.3.5 มีการคำนงึ ถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลของผู้เรยี น 1.3.6 มกี ารวางแผนการสอนลว่ งหน้า 1.3.7 มกี ารให้ข้อแนะนำแก่ผ้เู รียนไดร้ จู้ ักใช้ความสามารถแก้ปัญหา หรอื ดำเนนิ กจิ กรรม การเรยี นดว้ ยตนเอง 1.3.8 มีการสนบั สนนุ และให้กำลงั ใจแกผ่ เู้ รยี น 1.3.9 มกี ารสอนซ่อมเสรมิ 1.3.10 มบี รรยากาศการเรยี นการสอนท่เี ป็นประชาธิปไตย 1.3.11 มกี ารเรา้ ผู้เรยี นให้ประกอบกิจกรรมการเรียนโดยสม่ำเสมอ 1.3.12 ยึดหลักบรู ณาการในการเรยี นการสอน 1.3.13 มีการจดั สภาพการเรียนการสอน 1.3.14 มคี วามเปน็ อิสระในทางวชิ าการ และการเรยี นรู้
1.4 ครูประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทยควรมคี วามรู้ความเขา้ ใจ และรกั ทจ่ี ะวางแผนการสอนกอ่ นทำการสอนจริง วงเดือน นาราสจั จ์ (2547, น.211) ไดอ้ ธิบายหลักการสอนวิชาประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย คือ 1. หลักการทั่วไป 1.1 ต้องมีความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกับรูปแบบของการเรียนการสอน ซ่ึงในปจั จบุ นั มอี ย่มู าก แต่ พอจะจำแนกเปน็ แนวกวา้ ง ๆ ได้เปน็ 2 รูปแบบ คือ 1.1.1 แบบถ่ายทอดความรู้ ความคิด และประสบการณ์จากตำราให้แก่ผูเ้ รียนโดย ผ่านทาง ผู้สอน ซึ่งการเรียนในลักษณะนี้ผู้เรียนเป็นฝ่ายรับ เอาความรู้และประสบการณ์จากผู้สอนทางเดียว ไม่มี โอกาสและไม่ได้เรียนรู้วิธีแสวงหาประสบการณ์อื่นที่นอกเหนือไปจากประสบการณ์ความรู้ที่ ผู้สอนได้คิด เลือกแลว้ วา่ ดแี ละเหมาะสมมาให้ ระบบการเรยี นการสอนแบบน้ีในทางการศกึ ษาเรียกว่า teacher centred หรอื subject-matter centred สำหรบั ขน้ั ตอนของการสอนโดยอาศยั ครหู รือ เนือ้ หาตำราเป็นหลัก โดยยาก จะเรยี งลำดับจากขัน้ ง่ายไปหายากดงั น้ี 1. กำหนดใหผ้ เู้ รยี นไปอา่ นและทอ่ งจำมาตอบ 2. กำหนดให้ผ้เู รียนไปอา่ น แล้วถามสิง่ ท่สี งสัยกอ่ นตอบคำถามของครู 3. กำหนดใหผ้ ้เู รยี นอา่ น ย่อ และสรุปสาระสำคัญ แลว้ จงึ นำผลมาเสนอ วจิ ารณ์ หรอื อภิปราย และหลังจากทคี่ รูแสดงคำตชิ มและอธบิ ายขยายความเพ่ิมเตมิ แลว้ เปดิ โอกาส ใหผ้ ูเ้ รยี นซักถาม ปัญหา หรือข้อสงสยั เพือ่ นำไปแก้ไขหรือเพ่มิ เตมิ ข้อสรปุ 4. กำหนดให้ผ้เู รยี นคน้ หาความรู้ โดยอาศัยเน้ือหาจากตำราเป็นหลกั 5. กำหนดให้ผู้เรียนเขยี นเนือ้ หาขนึ้ ใหม่ โดยอาศยั เน้ือหาจากตำราเปน็ หลกั อาจค้นควา้ เนื้อหาหรือข่าวสารอนื่ มาเพ่มิ เตมิ 1.1.2 แบบผู้เรียนเสาะแสวงหาประสบการณ์ ความรู้ จากการลงมอื กระทำด้วย ตนเอง โดยมีครูเป็น ผู้ชว่ ยใหแ้ นวทางหรือการแนะนำ ซึ่งผู้เรยี นจะต้องฝึกดำเนินการเอง ทั้งในขั้น วางแผน ข้ันปฏิบตั ิการ และขั้น สรุป เพื่อประมวลความรู้เข้าด้วยกันอย่างมีระเบียบ เกิดเป็น ประสบการณ์และพร้อมที่จะนำไปใช้ต่อไป ระบบการเรียนการสอนแบบนี้ในทางการศึกษา เรียกว่า child centred ปัจจุบันมีความสำคัญ เพราะเป็น หลกั การที่ดเี ปน็ ท่ีนิยมอย่างแพร่หลายใน ตา่ งประเทศ ปัจจุบันในสถาบันการศึกษาของไทยพยายามใช้ระบบ การสอบแบบนเี้ พอ่ื ให้ได้ผลจริงจัง สำหรับแนวในการดำเนินการสอนแบบนี้ ครูประวัติศาสตร์ชาติไทยอาจพิจารณาหลักการและ แนวทางต่าง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี 1. ยดึ หลกั การว่าผู้เรยี นเปน็ บคุ คลสำคัญท่ีสุด สว่ นตวั ครู สภาพการณ์ทาง เรียนการสอน ไดแ้ ก่ โรงเรียน อาคารเรียน หลกั สูตร วิธกี ารสอน เทคนคิ และอุปกรณ์ เป็นแตเ่ พียง สือ่ การเรียนการสอนเพอื่ อำนวยความสะดวกให้ผ้เู รียนได้เลอื กเรยี นรู้ประสบการณอ์ ยา่ งดีที่สุด 2. ส่งเสริมความคดิ รเิ ร่มิ สรา้ งสรรคใ์ หแ้ กผ่ ้เู รยี น 3. ส่งเสริมให้ผเู้ รียนฝกึ การวางแผนเป็นขั้น ๆ ตั้งแตก่ ารกำหนดจดุ ประสงค์ การประกอบกจิ กรรม การสรปุ และประเมนิ ผลได้ด้วยตนเอง
4. ให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับคุณค่า และประโยชน์ หรือส่งิ ท่ีจะเรยี นต่าง ๆ เพื่อ ผู้เรียนจะได้แนวคิดและ มองเห็นเป็นแนวทางที่จะนำประสบการณ์การเรียนรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และสังคม ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจใหเ้ รียนรู้ประสบการณ์ด้วย ความสนใจและตั้งใจเรียน ดังนี้ผลการ เรียนยอ่ มได้ผลดี 5. พยายามส่งเสรมิ และช่วยให้ผูเ้ รียนเกิดความรู้ ทกั ษะ และทศั นคตทิ ่ดี ี ตลอดเวลา และสมำ่ เสมอ 6. ใชห้ ลกั การทางจติ วิทยา เร้าให้ผูเ้ รียนมคี วามสนใจ และความต้งั ใจท่ีจะ เรียนรปู้ ระสบการณอ์ ยา่ ง จรงิ จงั 7. ส่งเสริมและเร้าให้ผเู้ รยี น เรียนดว้ ยวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ พจิ ารณา วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และ การประเมินค่า 8. ครเู ปน็ ตวั อย่างที่ดที ้ังในความคดิ หลักการ และทางการปฏบิ ตั ิ 9. ครูใชว้ ธิ สี อนและเทคนคิ การสอนหลาย ๆ แบบ เพ่ือเร้าความสนใจผ้เู รยี น ไมใ่ ห้เกิดการเบ่อื หน่าย และทอ้ แทต้ อ่ การประกอบกิจกรรม 10. ครจู ดั และเสนอแนะกิจกรรมการเรียนการสอนที่ดี นา่ สนใจและมี ประโยชน์แก่ผู้เรยี นโดย สมำ่ เสมอ 2. ตอ้ งร้หู ลักเกณฑ์การสอนในโรงเรยี นมธั ยม มีขนั้ ตอนดังตอ่ ไปน้ี 2.1 สอนใหต้ รงตามจดุ มงุ่ หมายของหลักสูตรและจุดประสงค์ของวชิ า 2.2 สอนโดยการให้ผเู้ รยี นได้ลงมอื กระทำ ได้แก่ การประกอบกิจกรรมในสังคมและเพือ่ การพฒั นา ตอ่ ไป 2.3 สอนให้ผเู้ รยี นรจู้ ักนำความสามารถไปใชเ้ ป็นแนวทางในการดำรงชวี ติ ในสังคมและ เพือ่ การ พฒั นาต่อไป 3. ตอ้ งรูห้ ลักการสอนทดี่ ี ว่ามลี กั ษณะหรอื องค์ประกอบทส่ี ำคัญอะไรบา้ งดงั ตอ่ ไปน้ี 3.1 ผูเ้ รียนเรยี นด้วยความกระตอื รอื รน้ และเปน็ ฝ่ายกระทำกิจกรรม 3.2 มกี ารใชว้ ธิ กี ารและเทคนิคหลาย ๆ แบบผสมผสานกนั 3.3 มีการจงู ใจผูเ้ รยี นให้สนใจและตัง้ ใจเรยี น 3.4 ได้ผลตามจดุ ประสงคข์ องหลกั สตู ร 3.5 มีการคำนงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคลของผเู้ รยี น 3.6 มีการวางแผนการสอนล่วงหน้า 3.7 มีการให้ขอ้ แนะนำแก่ผู้เรยี น ไดร้ จู้ ักใชค้ วามสามารถแก้ปัญหา หรือดำเนนิ กิจกรรม การเรยี น ด้วยตนเอง 3.8 มีการสนบั สนนุ และให้กำลงั ใจแก่ผู้เรยี น 3.9 มกี ารสอนซ่อมเสรมิ 3.10 มบี รรยากาศการเรยี นการสอนเป็นประชาธปิ ไตย 3.11 มีการเร้าผู้เรยี นใหป้ ระกอบกิจกรรมการเรยี นโดยสม่ำเสมอ 3.12 ยดึ หลกั บูรณาการ ในการเรียนการสอน
3.13 มกี ารจดั สภาพการเรยี นการสอนให้สอดคลอ้ งกบั ชีวิตจริง 3.14 มีความเป็นอสิ ระในทางวชิ าการและการเรยี นรู้ 4. ต้องมีความรู้ความเข้าใจและรักที่จะวางแผนการสอนก่อนการสอนจริง จากหลักการสอนวิ ชา ประวัติศาสตร์ชาติไทย สามารถสรุปได้ว่า ครูต้องมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่จะใช้ในการเรียนการสอน โดยจะต้องสอนให้ตรงตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรในการใช้วิธีการสอน หลาย ๆ แบบมาควบคู่ เพื่อให้ นักศึกษาเกิดความรู้ เจตคติ ทักษะที่ดี อาจสอนในห้องเรียนหรือนอก ห้องเรียนในการเปลี่ยนบรรยากาศใน การเรยี นการสอน และที่สำคญั ครูต้องมกี ารวางแผนการเรียน การสอนไว้ลว่ งหนา้ สม่ำเสมอ 2.2 แนวความคิดทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั เจตคติ 2.2.1 ความหมายของเจตคติ เจตคติ หมายถงึ ความรู้สึกที่มีตอ่ สิ่งใดส่งิ หนงึ่ ในทางที่ดแี ละทางทีไ่ ม่ดี เสมอื นความพึงพอใจ และไม่ พึงพอใจ หรือเหน็ ด้วย กบั ไมเ่ ห็นด้วย ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ (2543, น.52) ได้ให้ความหมายของเจตคติไว้ว่า เจตคติ เป็น ความรูส้ กึ ของคนเราจะรสู้ กึ ไดก้ ็ตอ่ เมอ่ื ประสาทของเราได้สัมผสั กับส่งิ ใดสง่ิ หนึ่งก่อน นันทา สู้รักษา (2544, น.161) ได้ให้ความหมายของเจตคติไว้ว่า เจตคติเป็นแนวโน้มหรือ ความ พร้อมทีจ่ ะตอบสนองตอ่ บคุ คล วัตถุ สถานการณ์แวดล้อม หรือสิ่งเร้าซง่ึ อาจมที ศิ ทาง ทงั้ ทางบวกและลบ ถ้า บคุ คลมีเจตคติทางบวกตอ่ ส่ิงใดกจ็ ะมพี ฤตกิ รรมทจ่ี ะเผชิญสงิ่ น้ัน ถ้ามีเจตคติ ในทางลบก็จะหลีกเลี่ยง ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2546, น.243) ได้ให้ความหมายของเจตคติไว้ว่า เจตคติจึงเป็นทั้ง พฤติกรรมภายนอกที่อาจสังเกตได้ หรือพฤติกรรมภายในที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้โดยง่าย แต่มีความโน้ม เอียงที่จะเปน็ พฤติกรรมภายในมากกวา่ พฤตกิ รรมภายนอก อุทุมพร จามรมาน (2548, น.12) ได้ให้ความหมายของเจตคติไว้ว่า ความรู้สึกของบุคคลที่มี ต่อส่ิง ต่าง ๆ รวมทั้งท่าทีที่แสดงออกชี้บ่งถึงสภาพจิตใจที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งทัศนคติมีทั้งบวกและลบ มากและน้อย และมีทิศทางไปสูเ่ ปา้ หมายทแี่ สดงออก สุรางค์ โค้วตระกูล (2550, น.366) ได้ให้ความหมายของเจตคติไว้ว่า ทัศนคติเป็นอัชฌาสัย (Disposition) หรือแนวโน้มที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสนองตอบต่อสิ่งแวดล้อมหรือสิ่งเร้า ซึ่งอาจจะ เป็นได้ ทั้งคน วัตถุสิ่งของ หรือความคิด (Ideas) ทัศนคติอาจจะเป็นบวก หรือลบ ถ้าบุคคลมีทัศนคติ บวกต่อสิง่ ใดก็ จะมพี ฤตกิ รรมทจ่ี ะเผชญิ กับสงิ่ นัน้ ถา้ มที ศั นคตลิ บ ก็จะหลีกเล่ยี ง
ชูชีพ อ่อนโคกสูง (2550, น.69) ได้ให้ความหมายของเจตคติไว้ว่า ความรู้สึกที่ค่อนข้างถาวร ต่อสิ่ง เร้า (สิ่งของ เหตุการณ์ สถานการณ์ ประสบการณ์ ฯลฯ) ที่เรารู้จักหรือเข้าใจ แล้วมีแนวโน้มให้ เรามี พฤติกรรมที่สอดคล้องกับความรูส้ กึ นน้ั จากความหมายของแต่ละท่านที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า เจตคติ หมายถึง ความรู้สึกนึก คิดใน จิตใจซึ่งเป็นพฤติกรรมภายในของบุคคลที่เกิดจากการรบั รู้ การสัมผัสสิ่งใดสิ่งหนึ่งก่อน ซึ่ง อาจจะเป็นได้ ท้ัง คน วตั ถสุ ิง่ ของ หรือความคดิ (ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ 2543, น.52) เปน็ แนวโนม้ หรือความพร้อม ในการตอบสนองต่อบุคคล วัตถุ สถานการณ์แวดล้อม (นันทา สู้รักษา 2544, น.161) และการแสดง ความชอบ ไมช่ อบต่อความร้สู ึก ความคดิ เห็น รวมถึงท่าทีการแสดงออกรวมไป ถึงสภาพจิตใจท่ีมีทั้งบวกและ ลบ มากหรือน้อย (อุทุมพร จามรมาน 2548, น.12) ผู้วิจัยมีความเห็นว่า เจตคติ หมายถึง พฤติกรรมการ แสดงการรบั รู้ การสมั ผัส ความชอบ ไมช่ อบ และสภาพจิตใจทงั้ บวก และลบ มากหรอื นอ้ ย โดยตอบสนองต่อ บคุ คล วตั ถุ สถานการณ์แวดล้อม ซงึ่ เปน็ ได้ ทัง้ คน วัตถุ ส่ิงของ หรือความคิด 2.2.2 ความสำคญั ของเจตคติ ลักขณา สรวิ ฒั น์ (2549, น.69) ไดอ้ ธิบายความสำคญั ของเจตคติ คอื “1. เจตคติเป็นมโนมติที่ครอบคลุมปรากฏการณ์หลายอย่างได้ เช่น ความรักของบุคคล ที่มีต่อ ครอบครัวก็สรุปรวมถึงพฤติกรรมหลายอย่างของบุคคลได้ ในการใช้เวลากับครอบครัวมาก ดูแล สมาชิกใน ครอบครัว ท˚าสิ่งต่าง ๆ ให้สมาชิกในครอบครัว ตลอดจนถึงให้การดูแลเอาใจใส่ และ ปลอบใจสมาชิกใน ครอบครวั ” 2. เจตคติเป็นสาเหตุของพฤติกรรม นักจิตวิทยาสังคมจำนวนมากเชื่อกันว่า เจตคติเป็น สาเหตุของ พฤติกรรม 3. เจตคติมีความสำคัญในตัวเอง ไม่ว่าเจตคติของบุคคลจะมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม ของเขา หรอื ไม่ก็ตาม 4. เจตคติเป็นเรื่องที่นักจิตวิทยาหลายสาขาสนใจร่วมกัน นอกจากนักจิตวิทยาสังคมท่ี สนใจศึกษา เรื่องเจตคติแล้วนักจิตวิทยาสาขาอื่น ๆ ก็สนใจในเรื่องเจตคติเช่นเดียวกัน เช่น นักจิตวิทยาคลินิก อาจสนใจ ศึกษาเจตคติที่บุคคลมีต่อตนเอง เพื่อเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจใน เรื่องอื่น ๆ หรือนักจิตวิทยา บุคลิกภาพก็สนใจว่าการเปลี่ยนเจตคติวธิ ใี ดไดผ้ ลกับบุคคลที่มบี ุคลิกภาพ เช่นไร เปน็ ต้น 5. เจตคติเป็นเรื่องที่นักโฆษณาประชาสัมพันธ์สนใจ เรื่องเจตคติทั้งในแง่ของการศึกษา เพื่อให้เกิด ความเขา้ ใจ และสามารถนำไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ในการทำงาน “6. เจตคติเป็นเรื่องที่นักการตลาดสนใจ โดยมีความสนใจว่าเจตคติของบุคคลมีต่อ แง่มุมใดที่เป็น ปจั จยั สง่ เสริมใหเ้ ขาซอื้ สนิ คา้ นั้น ๆ มาใช้ เชน่ เจตคติต่อชอ้ื สนิ ค้า เจตคติตอ่ ยหี่ อ้ สินคา้ หรอื เจตคติตอ่ ตวั สินค้าเอง เป็นต้น” “7. เจตคตเิ ป็นเรอ่ื งที่นักรฐั ศาสตร์สนใจ นกั รฐั ศาสตรส์ นใจเจตคตขิ องประชาชนต่อ เร่อื งต่าง ๆ ท่ีมี ความสำคัญทางการเมืองการปกครอง เช่น เจตคติของประชาชนต่อการบริหารงาน ของรัฐบาล เจตคติของ ประชาชนตอ่ การเลือกต้ังสภาผู้แทนราษฎร เป็นตน้ ”
“8. เจตคติเป็นเรื่องที่นักสังคมวิทยาบางสาขาสนใจ จะมีนักสังคมวิทยาเพียงบางสาขา เท่านั้น ที่ สนใจในเรื่องเจตคติ คือ สาขาจิตวิทยาสังคม ซึ่งนักสังคมวิทยาบางคนเป็นว่า เจตคติเป็น พื้นฐานของ พฤติกรรมทางสังคมเนื่องจากมีการถ่ายทอดวัฒนธรรมในเรื่องต่าง ๆ ผ่านเจตคติของ บุคคลในวัฒนธรรมนนั้ ๆ” “9. เจตคติเป็นเรื่องที่นักการศึกษาสนใจ นักการศึกษาสามารถใช้ประโยชน์จากเรื่องเจต คติได้ มากมายในลกั ษณะการศึกษาวิจยั ซึง่ จะกอ่ ให้เกดิ ความรูอ้ ยา่ งลกึ ซ้งึ มากข้นึ นกั แนะแนวอาจ สนใจศึกษาเจต คติของนักศึกษาต่ออาชีพต่าง ๆ เพื่อนำข้อความรู้นี้ไปเป็นพื้นฐานในการแนะแนวอาชีพ ให้แก่นักศึกษาได้ อยา่ งมหี ลกั เกณฑ์” จากความสำคัญของเจตคติ สามารถสรุปได้ว่า เจตคติมีความสำคัญต่องาน และอาชีพ ต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านการศึกษา ครูควรศึกษาเจตคติของนักศึกษาทีมีต่อวิชาที่เรียน หรือต่อครูผู้สอน เพื่อใช้เป็น แนวทางในการปรับปรุง พัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และพัฒนาพฤติกรรม ทางการเรียนของ นักศกึ ษาใหด้ ยี ่ิงขนึ้ 2.2.3 ลกั ษณะของเจตคติ ปรยี าพร วงศ์อนตุ รโรจน์ (2546, น.249-250) ได้อธิบายลกั ษณะเจตคติ คอื 1. เจตคติเกิดจากประสบการณ์ สิ่งเร้าต่าง ๆ รอบตัว บุคคล การเลี้ยงดู การเรียนรู้ ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวฒั นธรรมเปน็ ส่ิงที่ก่อให้เกิดเจตคติ แมว้ า่ ประสบการณท์ ีเ่ หมอื นกัน กจ็ ะ มเี จตคตทิ ีแ่ ตกต่างกัน ไปดว้ ยสาเหตุหลายประการ เช่น สตปิ ัญญา อายุ เป็นต้น 2. เจตคติเป็นการตระเตรียมความพร้อมในการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ความพร้อมภายใน ของจิตใจ มากกว่าภายนอกที่จะสังเกตได้ สภาวะความพร้อมที่จะตอบสนองมีลักษณะที่ซับซ้อนของ บุคคลที่จะชอบ หรือไม่ชอบ ยอมรับหรือไม่ยอมรับ และจะเกี่ยวเนื่องกับอารมณ์ด้วย เป็นสิ่งที่อธิบาย ไม่ค่อยจะได้ และ บางครั้งไมค่ ่อยมเี หตุผล 3. เจตคติมีทิศทางของการประเมิน ทิศทางของการประเมิน คือ ลักษณะความรู้สึกหรือ อารมณ์ท่ี เกิดขึ้น ถ้าเป็นความรู้สึกหรือการประเมินว่าชอบ พอใจ เห็นด้วย ก็คือเป็นทิศทางในทางที่ดี เรียกว่าเป็น ทิศทางในทางบวก และถ้าการประเมินออกมาในทางไม่ดี เช่น ไม่ชอบ ไม่พอใจ ก็มีทิศทางในทางลบ เจตคติ ทางลบไมไ่ ด้หมายความว่าไม่ควรมเี จตคตินั้น แต่เป็นเพียงความรู้สึกในทางไมด่ ี เช่น เจตคติในทางลบต่อการ คดโกง การเล่นการพนนั 4. เจตคติมีความเข้ม คือ มีปริมาณมากน้อยของความรู้สึก ถ้าชอบมากหรือไมเ่ ห็นด้วย อย่างมาก ก็ แสดงวา่ มคี วามเข้มสูง ถา้ ไม่ชอบเลยหรอื เกลียดที่สดุ กแ็ สดงวา่ มีความเข้มสงู ไปอีกทาง หน่งึ 5. เจตคติมีความคงทน เจตคติเป็นสิ่งที่บุคคลยึดมั่นถือมั่น และมีส่วนในการกำหนด พฤติกรรมของ คนนน้ั การยดึ มน่ั ในเจตคตติ ่อสิ่งใด ทำใหก้ ารเปล่ียนแปลงเจตคติเกดิ ขน้ึ ไดย้ าก
6. เจตคติมีทั้งพฤติกรรมภายในและพฤติกรรมภายนอก พฤติกรรมภายใน เป็นสภาวะ ทางจิตใจซ่ึง หากไม่ได้แสดงออก ก็ไม่สามารถจะรู้ได้ว่าบุคคลนั้น มีเจตคติอย่างไรในเรื่องนั้น เจตคติที่ เป็นพฤติกรรม ภายนอกจะแสดงออก เนื่องจากถูกกระตุ้น และการกระตุ้นนี้ยังมีสาเหตุอื่น ๆ ร่วมอยู่ ด้วยเช่นบุคคลแสดง ความไมช่ อบดว้ ยการดุดา่ คนอ่นื นอกจากไม่ชอบคนนน้ั แล้วอาจจะเป็นเพราะถกู ท้าทายก่อน 7. เจตคติจะต้องมีสิ่งเร้าจึงมีการตอบสนองขึ้น แต่ก็ไม่จำเป็นว่าเจตคติที่แสดงออกจาก พฤติกรรม ภายใน และพฤติกรรมภายนอกจะตรงกัน เพราะ ก่อนแสดงออก บุคคลนั้นต้องปรับปรุงให้ เหมาะสมกับ ปทสั ถานของสงั คมแลว้ จงึ แสดงออกเปน็ พฤตกิ รรมภายนอก ธีรวฒุ ิ เอกะกุล (2549, น.1) ไดอ้ ธบิ ายลกั ษณะเจตคติ คือ 1. เจตคติเป็นเรื่องของอารมณ์ (Feeling) อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามเงื่อนไข หรือ สถานการณ์ต่าง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ บคุ คลจะมกี ารกระทำท่ีเสแสรง้ โดยแสดงออกไมใ่ ห้ตรงกบั ความรู้สึกของคน 2. เจตคติเป็นเรื่องเฉพาะตัว (Typical) ความรู้สึกของบุคคลอาจเหมือนกัน แต่รูปแบบ การ แสดงออกแตกต่างกันไป หรืออาจมกี ารแสดงออกที่เหมอื นกัน แตค่ วามรู้สกึ ต่างกันได้ 3. เจตคติมีทิศทาง (Direction) การแสดงออกของความรู้สึกสามารถแสดงออกได้ 2 ทิศทาง เช่น ทิศทางบวกเป็นทศิ ทางที่สังคมปรารถนา และทศิ ทางลบเป็นทิศทางท่สี งั คมไม่ ปรารถนา ไดแ้ ก่ ซอื่ สัตย์ - คด โกง รัก - เกลยี ด ชอบ - ไมช่ อบ ขยัน - ขเ้ี กยี จ เป็นตน้ 4. เจตคตมิ ีความเขม้ ข้น (Intensity) ความรสู้ ึกของบุคคลอาจเหมอื นกันในสถานการณ์ เดียวกัน แต่ อาจแตกต่างกนั ในเรื่องความเข้มทีบ่ ุคคลรู้สึกมากนอ้ ยต่างกัน เช่น รักมาก รักน้อย ขยัน มาก ขยันน้อย เป็น ตน้ 5. เจตคติต้องมีเป้า (Target) ความรู้สึกจะเกิดขึ้นลอย ๆ ไม่ได้ เช่น รักพ่อแม่ ขยันเข้า ชั้นเรียน ข้ี เกยี จทำการบ้าน เป็นต้น” จากลกั ษณะของเจตคติ สามารถสรุปได้วา่ เจตคติมีลกั ษณะเปน็ การเรียนร้จู ากประสบการณ์ ในอดีต ซึ่งบคุ คลท่มี เี จตคติทีด่ ีหรอื ไมด่ ใี นทางความคิดเหน็ ชอบหรือไม่ชอบทีพ่ รอ้ มจะสามารถแสดงออกมา เจตคติมี การเปลี่ยนแปลงได้ตามเหตุปัจจัยของ เวลา อารมณ์สถานการณ์ซ่ึงข้ึนอยู่กับบุคคล และสิ่งแวดล้อม โดยเจต คติจะขึ้นอยู่กับพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรู้สึกในแต่ละบุคคลที่สะท้อนถึง มีการเจตคติในสิ่งนั้น ๆ ที่ได้ พบเจอในสถานการณ์นน้ั ๆ 2.2.4 องคป์ ระกอบของเจตคติ ปรียาพร วงศ์อนตุ รโรจน์ (2546, น.247-248) ได้อธบิ ายองค์ประกอบเจตคติ คือ 1. องค์ประกอบด้านความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Component) เป็นองค์ประกอบด้าน ความรู้ ความเขา้ ใจของบุคคลท่ีมีต่อสง่ิ เร้านน้ั ๆ เพอ่ื เปน็ เหตผุ ลท่จี ะสรปุ ความ และรวมเปน็ ความเชือ่ 2. องค์ประกอบด้านความรู้สึกหรืออารมณ์ (Affective Component) เป็นองค์ประกอบด้าน ความรู้สกึ หรอื อารมณข์ องบคุ คลทีม่ คี วามสัมพนั ธก์ ับสง่ิ เร้า เป็นผลเนอื่ งมาจากการที่บุคคลประเมนิ ผล สิ่งเร้า น้ัน
3. องค์ประกอบพฤตกิ รรม (Behavioral Component) เป็นองคป์ ระกอบทางด้านความ พรอ้ มหรือ ความโน้มเอียง ทบ่ี คุ คลจะประพฤติปฏิบตั ิ หรอื ตอบสนองต่อส่ิงเร้าในทศิ ทางท่ีจะสนบั สนนุ หรอื คดั ค้าน จากองค์ประกอบของเจตคติ สามารถสรุปได้ว่า องค์ประกอบของเจตคติเป็นการ แสดงออกพฤติกรรมทาง ความรู้สึก ทั้งทางอารมณ์เข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งทุกองค์ประกอบในแต่ละด้านมี ความสัมพันธ์กันทั้งทางบวกและ ทางลบ ดงั นน้ั ในการเรียนการสอนครูควรคำนงึ ถึงองคป์ ระกอบทงั้ สามด้าน เพอ่ื สร้างเจตคติทางบวกตอ่ การ เรยี นของนกั ศกึ ษา 2.2.5 การเกดิ และการเปล่ยี นแปลงเจตคติ ปรียาพร วงศ์อนตุ รโรจน์ (2546, น.250) ไดอ้ ธบิ ายการเกิดเจตคติ ไวด้ ังน้ี คอื 1. การเพมิ่ และการรวมกนั ของการตอบสนอง ทเ่ี กดิ จากการเรยี นรใู้ นดา้ นต่าง ๆ และ จากบคุ คล ตา่ ง ๆ 2. แบบแผนของตนเอง ความแตกตา่ งของประสบการณ์ ทำใหเ้ กดิ เจตคตขิ องแตล่ ะ คนแตกต่างกนั ไป และความเจริญเติบโตของคนนนั้ 3. อิทธพิ ลของประสบการณท์ ีเ่ กิดขึ้นอย่างกะทนั หนั หรือความตกใจ จะเป็นผลให้ จดจำ ประสบการณ์นน้ั ไดน้ าน ๆ เปน็ ส่ิงท่ีทำให้คนมีเจตคตติ ่อส่งิ นัน้ ๆ 4. การเลียนแบบของคนเราชอบหรอื มแี นวโน้มทจ่ี ะเลยี นแบบบุคคลสำคญั ทีเ่ ราช่นื ชอบเจตคติจงึ เนน้ การถา่ ยทอดจากคนทเ่ี ราพึงพอใจ และนับถือ ธีรวุฒิ เอกะกลุ (2549, น.11) ได้อธิบายการเปลี่ยนแปลงเจตคติ ไว้ดงั น้ี คอื 1. ประสบการณ์เฉพาะอยา่ ง (Specific experiences) วิธกี ารหนงึ่ ทเี่ ราเรยี นร้เู จตคติ คือจากการมี ประสบการณเ์ ฉพาะอยา่ งกบั สิง่ ทีเ่ กย่ี วข้องกบั เจตคตนิ นั้ 2. การติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่น (Communication from others) เจตคติหลาย อย่างของ บุคคลเกิดขึ้นจากผลของการได้ติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการเรียนรู้ อย่างไม่เป็น ทางการทเ่ี ดก็ ได้รบั ในครอบครวั และสังคม 3. สิ่งที่เป็นแบบอย่าง (Models) เจตคติบางอย่างของบุคคลถูกสร้างขึ้นจากการ เลียนแบบจากคน อื่น กระบวนการเลียนแบบเริ่มขึ้นตั้งแต่การสังเกตพฤติกรรมของคนอื่น ขั้นต่อไป เป็นการแปลความหมาย การปฏิบัติให้อยู่ในรูปของความเชื่อ ยิ่งบุคคลที่เป็นแบบอย่างเป็นที่เคารพ หรือได้รับการยกย่องอยู่แล้วจะมี ผลตอ่ ความเช่อื มากยิง่ ข้ึน 4. องค์ประกอบท่ีเกีย่ วข้องกับสถาบัน (Institutional factors) เจตคติของบุคคล หลายอยา่ งเกิดขึ้น สืบเนื่องมาจากสถาบัน เป็นทั้งแหล่งที่มา และสิ่งช่วยสนับสนุนให้เกิดเจตคติ บางอย่างได้จากการ เปลี่ยนแปลงเจตคติ สามารถสรุปได้ว่า เจตคติของบุคคลเกิดและเปลี่ยนแปลงขึ้น จากการเรียนรู้ และ ประสบการณ์ต่าง ๆ รวมถึงเหตุปัจจัยต่าง ๆ ที่บุคคลเข้าไปเกี่ยวข้องที่สั่งสมมา ตั้งแต่วัยเด็กจากที่บ้าน โรงเรียน ชุมชน สังคม รวมทั้งอิทธิพลของประสบการณ์ที่ประทับใจ และการ เลียนแบบบุคคลที่ตนชื่นชอบ ได้แก่ การได้รับประสบการณ์ตรง การติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นการ เลียนแบบบุคคลที่เคารพยกย่อง และ การมสี ่วนรว่ มอยู่ในโรงเรยี น สถานท่ปี ระกอบพิธที างศาสนา และหน่วยงานตา่ ง ๆ
2.2.6 ทฤษฎกี ารเปลีย่ นแปลงเจตคติ วรรณ์ดี แสงประทีปทอง (2544, น.8) ได้อธิบายทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงเจตคติ คือเจตคติไม่ได้ เกิดขึ้นโดยกำเนิด หรือพันธุกรรมแต่เกิดขึ้นภายหลัง ซึ่งอาจเกิดจากการเรียนรู้ การเลียนแบบ หรืออิทธิพล จากสิง่ อืน่ ๆ การศึกษาเจตคติจึงควรศกึ ษาทฤษฎที เี่ กี่ยวข้องกบั การเปลย่ี นเจตคตดิ ว้ ย ซง่ึ ไดแ้ ก่ 1. ทฤษฎคี วามสอดคล้องของความคิด 2. ทฤษฎคี วามขดั แยง้ ของความคดิ 3. ทฤษฎเี กย่ี วกบั การมีส่วนร่วม 4. ทฤษฎกี ารเรียนร้ทู างสงั คม 5. ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตผุ ล “1. ทฤษฎีความสอดคล้องของความคิด (Theories of Cognitive Consistency) ทฤษฎีนี้มีแนวคิด ที่ว่า การคิดหรือการรู้เรื่องหนึ่ง ๆ ของบุคคลท˚าให้เกิดความรู้หลายๆ ด้าน หรือมีส่วนประกอบของการรู้ หลายอย่าง รู้ในทางที่ดีหรือไม่ดี ถ้าเรารู้ในสิ่งใดสิ่งหนึ่งในทางที่ดี มากกว่าในทางที่ไม่ดี ก็จะเกิดความ สอดคล้องของความรู้ขึ้น ทำให้เราเกิดเจตคติที่ดีในสิ่งนั้น และในทำนองเดียวกัน ถ้าเรารู้สึกในทางที่ไม่ดี มากกว่าในทางทดี่ ีต่อส่งิ ใดกต็ าม เรากจ็ ะเกิดเจตคติท่ีไม่ดตี ่อ สง่ิ น้นั 2. ทฤษฎีความขัดแย้งของความคิด (Theories of Cognitive Dissonance) ทฤษฎีนี้คิดโดย เฟส ติงเกอร์ (Festinger) โดยมาจากความคิดท่ีว่ามนุษย์ไม่สามารถทนต่อความขัดแย้งหรือความไม่สอดคล้องกัน ได้ จึงจำเป็นต้องลดความขัดแย้งนั้นด้วยการเปลี่ยนแปลง เจตคติ เฟสติงเกอร์ กล่าวว่า ถ้าเจตคติไม่ สอดคล้องกับการกระทำแล้ว เจตคติต่อสิ่งเร้านั้น จะเปลี่ยนไป หลักการของทฤษฎีนี้คือ ถ้าพฤติกรรมของ บุคคลประกอบด้วยส่วนประกอบของความ ขัดแย้ง สามารถเปล่ียนพฤติกรรมของบุคคลได้ โดยการเปลี่ยน ส่วนประกอบของการรับรทู้ ที่ ˚าให้เกดิ ความความขัดแย้งกนั นน้ั 3. ทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม (Active Participation Theory) แนวความคิดของทฤษฎีเกี่ยวกับ การมีส่วนร่วมเป็นผลมาจากการวิจัยทางจิตวิทยาสังคมบางเรื่องเกี่ยวกับการเปลี่ ยนแปลงเจตคติ ซึ่ง เสนอแนะว่า การเปลี่ยนเจตคติ และการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมทำให้เกิดขึ้นได้โดยการสร้างสถานการณ์ให้ เกดิ การมีส่วนรว่ มในกล่มุ บุคคลอยา่ งมี ประสิทธภิ าพมีขอ้ มลู ท่ีศึกษาและแสดงให้เป็นวา่ กลุ่มบุคคลมีส่วนร่วม ของอทิ ธิพลท่ีมีต่อเจตคตแิ ละ พฤตกิ รรมของบุคคลเช่น จอหน์ และนีล ไดส้ รปุ ผลการวจิ ยั หลายเร่ืองสามารถ นำมาประยุกตใ์ นการ เปลีย่ นแปลงเจตคติไดด้ ังนี้ 1. เจตคตขิ องบคุ คลจะมผี ลอยา่ งมากจากกล่มุ ทเ่ี ขามสี ว่ นร่วม และกลมุ่ ท่เี ขาต้องการรว่ มดว้ ย 2. ถ้าเจตคติของบุคคลสอดคล้องกับมาตรฐานของกลุ่ม จะเป็นแรงเสริมก˚าลังให้กับเจตคตินั้นมาก ขึ้นในทางตรงข้ามจะเปน็ การลงโทษ ถา้ บุคคลนน้ั มีเจตคติไมต่ รงกบั มาตรฐานของกล่มุ 3. บุคคลขึ้นอยู่กับกลุ่มอย่างมากจะเป็นบุคคลที่เปลี่ยนแปลงเจตคติได้ยากที่สุด ถ้าการเปลี่ยนน้ัน เป็นความพยายามของบคุ คลภายนอก
4. การสนับสนุนเจตคติบางอย่างของสมาชิกในกลุ่ม ถึงแม้เพียงหนึ่งคนก็จะสามารถลด พลังของ กล่มุ ใหญท่ จ่ี ะมอี ทิ ธพิ ลตอ่ เจตคติของสมาชิกในกลมุ่ ได้ 5. ถึงแม้จะเป็นเพียงสมาชิกในกลุ่มจำนวน 2 คนเท่านั้นที่ยึดมั่นในเจตคติบางอย่างก็จะ มีอิทธิพล ของสมาชกิ ของคนอ่ืน ๆ ในกลุ่มได้เช่นกนั 6. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายกลุ่ม และการตัดสินใจของกลุ่ม จะช่วยแก้ไขการ ต่อต้านที่จะ เปล่ยี นเจตคติใหม่ ๆ ถา้ กล่มุ ตัดสนิ ใจท่จี ะยอมรบั เจตคติใหม่ สมาชิกในกลมุ่ กจ็ ะยอมรบั เจตคตนิ น้ั ด้วย 7. ถ้าบุคคลเปลี่ยนแปลงกลุ่มอา้ งอิงของตน เจตคติของบคุ คลมแี นวโน้มทจี่ ะเปล่ียนแปลงด้วย 4. ทฤษฎีการเรยี นรู้ทางสังคม (Social Learning Theory) แนวความคดิ ของทฤษฎกี ารเรียนร้ทู างสงั คม มีความเช่ือวา่ กระบวนการเปล่ียนแปลง พฤติกรรมของบุคคลนั้นจะอยู่ในรูปแบบของการเรียนรู้ และการที่จะแสดงพฤติกรรมนั้น ๆ ถ้าผล สืบเนื่องเป็นไปในทางที่ดี พฤติกรรมนั้นก็จะมีแนวโน้มเกิดขึ้นอีก แต่ถ้าผลสืบเนื่องเป็นไปในทางที่ไม่ดี พฤติกรรมนั้นก็จะมีแนวโน้มไม่เกิดขึ้นอีก กล่าวคือ พฤติกรรมของบุคคลจะเปลี่ยนแปลงไปทิศทางใดหรือไม่ นัน้ ขนึ้ อย่กู ับการเรียนรู้ทเ่ี ขาได้รบั จากสังคมแวดล้อม สงั คมจะเป็นตวั ก˚าหนดพฤติกรรมรวม ของบุคคล และ จะมีปฏิกิริยาซึง่ กันและกนั เกิดขึน้ อย่างต่อเนื่องเสมอระหวา่ งพฤติกรรมของบคุ คล สิ่งที่เกิดขึน้ ในตัวบุคคลซ่ึง ได้แก่ ความคิด อารมณ์ ความคาดหวัง ฯลฯ และผลสืบเนื่องที่เกิดขึ้นหลังจากบุคคลกระทำพฤติกรรมน้ัน พฤตกิ รรมทจี่ ะแสดงออกตอ่ ไปนน้ั ข้นึ อยู่กับการประเมนิ ผล ย้อนกลับของพฤตกิ รรมที่เขาไดแ้ สดงออกไปแลว้ องค์ประกอบทีม่ ีผลต่อการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของบคุ คลทส่ี ำคญั มี 4 อยา่ ง คือ 1. การให้แรงเสริมก˚าลังโดยตรง (Direct Reinforcement) เป็นวิธีการที่ใช้ในการ เปลี่ยนแปลง พฤติกรรมโดยวิธีค่อย ๆ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการตอบสนองของบุคคลให้กระท˚า พฤติกรรมที่มีความยาก เพิ่มขึ้น บุคคลก็จะเรียนรู้ปฏิกิริยาตอบสนองใหม่ และมีประสบการณ์ตรงกับ ผลสืบเนื่องจากการกระทำ ปฏิกริ ยิ าตอบสนองนนั้ 2. การหยุดพฤติกรรม (Extinction) ถ้าต้องการจะให้บุคคลหยุดกระทำพฤติกรรมใด พฤติกรรม หนง่ึ สามารถกระทำได้โดยไมใ่ หผ้ ลสืบเนอ่ื งที่เขาคาดหวงั เกดิ ขึน้ 3. การให้รู้ถึงแรงเสริมก˚าลัง และการหยุดพฤติกรรมโดยการสังเกตจากบุคคล อื่น (Vicarious Reinforcement and Vicarious Extinction) การให้บุคคลสังเกตการกระท˚าของ บุคคลอื่นแทนที่จะได้ ประสบการณโ์ ดยตรง จะชว่ ยทำใหบ้ คุ คลนัน้ เปล่ยี นเจตคตหิ รือพฤติกรรมได้ 4. การสื่อสาร (Communication) การให้ข่าวสารท่ีแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า กับการ ตอบสนอง สิง่ ท่ใี หน้ แ้ี ตกต่างจากความเชอื่ ของบคุ คล อาจช่วยเปลี่ยนเจตคติ และพฤตกิ รรมได้ 5. ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล (A Theory of Reasoned Action) แนวคิดของทฤษฎีการกระทำ ด้วยเหตุผล ได้มีการพัฒนาและเสนอเต็มรูปแบบโดยไอเซนและพิชบายน์ มีสาระดังนี้มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผล และใช้ข้อมูลที่ตนมีอยู่อย่างเป็นระบบ มนุษย์พิจารณาผลที่ อาจเกิดจากการกระทำของตนเองก่อนตัดสินลง มอื หรือไม่ทำพฤติกรรม ใจความทฤษฎกี ารกระทำ ด้วยเหตุผล มีดังน้ี
1. พฤตกิ รรมส่วนมากอยูภ่ ายใตก้ ารควบคมุ ของเจตนาของบคุ คล เจตนาเชงิ พฤตกิ รรม (Behavioral Intention) ของบุคคลจงึ เปน็ ตัวกำหนดทใี่ กล้ชิดกบั การกระทำ 2. เจตนาเชิงพฤตกิ รรมข้ึนอยูก่ ับตัวกำหนด 2 ตัวคือ 2.1 ปัจจัยส่วนบุคคล เป็นการประเมินทางบวก หรือลบของบุคคลต่อการกระทำเรียกว่า เจตคติต่อพฤติกรรม เจตคติต่อพฤติกรรมขึ้นอยู่กับความเชื่อเกี่ยวกับผลของการกระทำ (Behavior of Consequences) 2.2 ปัจจยั ทางสังคม เป็นการประมาณของบคุ คลว่าตนจะมกี ารคลอ้ ยตามกลุ่มอา้ งองิ (Subjective Norm) เพยี งใด กลุ่มอา้ งองิ หมายถงึ บคุ คลใกลช้ ดิ ทีม่ คี วามสำคญั ตอ่ บุคคลผูน้ น้ั การ คล้อย ตามกลมุ่ อา้ งองิ ข้นึ อยกู่ ับความเชอ่ื เกยี่ วกับทศั นะของกลมุ่ อ้างองิ ต่อการกระทำของตน (Normative Belief) ซ่งึ หมายถงึ ความเช่ือท่ีวา่ บคุ คลแตล่ ะคนทอ่ี ยูใ่ นกลมุ่ อา้ งองิ ประสงค์จะใหต้ นทำหรอื ไม่ทำพฤติกรรมนั้น เพียงใด และยังขึ้นอยู่กับแรงจงู ใจท่จี ะคลอ้ ยตามกลมุ่ อ้างองิ (Motivation to Comply) 3. ความสำคัญของเจตคตติ อ่ พฤติกรรม และการคลอ้ ยตามกลุม่ อา้ งองิ สว่ นหน่งึ ขนึ้ อยกู่ ับ เจตนาเชิง พฤตกิ รรม หรอื พฤติกรรมเอง น่ันคือ พฤติกรรมบางพฤตกิ รรมอาจถกู กำหนดโดยเจตคตติ อ่ พฤตกิ รรม มากกวา่ การคลอ้ ยตามกลมุ่ อา้ งองิ สว่ นพฤตกิ รรมบางพฤตกิ รรมอาจได้รบั อิทธิพลจาก ปัจจยั ทั้งสองไลเ่ ลย่ี กัน ความสำคญั ของปัจจยั ท้งั สองอาจแตกต่างกันจากบคุ คลหนง่ึ ไปสู่อกี บุคคลหนง่ึ 4. ตวั แปรภายนอก (External Variable) เช่น ตวั แปรชวี สังคม เจตคตติ ่อเป้าหมายอ่ืนท่ี เกย่ี วขอ้ งกับพฤติกรรมนน้ั ๆ หรอื บุคลิกภาพจะมอี ทิ ธิพลต่อพฤตกิ รรมกต็ อ่ เม่ือตวั แปรนัน้ ๆ มี อทิ ธพิ ลตอ่ เจตคตติ อ่ พฤตกิ รรม มอี ทิ ธิพลต่อการคล้อยตามกลุม่ อา้ งอิง หรอื มอี ทิ ธพิ ลตอ่ นำ้ หนัก ความสำคญั ของตัวแปร ทง้ั สองที่สอ่ เจตนาเชงิ พฤติกรรม 5. การกำหนดพฤตกิ รรมท่จี ะศึกษาจำเปน็ ต้องกำหนดโดยคำนงึ ถงึ 5.1 การกระทำ (Action) จะต้องกำหนดว่าเป็นการกระทำอย่างเดียว (Single Act) เช่น การให้ลูกดื่มนม การสูบบุหรี่ เป็นต้น หรือเป็นกลุ่มการกระทำ (Behavior Category) เช่น การออก ก˚าลัง กาย ซึ่งอาจประกอบด้วยการกระทำย่อยๆ หลายการกระทำ เช่น การวิ่ง การกระโดดเชือก และ การเล่น ฟตุ บอล เป็นตน้ 5.2 เปา้ หมาย (Target) หมายถึง เป้าหมายของการกระทำ เช่น การให้ลกู ดืม่ นมอาจ กำหนดเป้าหมายเปน็ ใหด้ ม่ื นมแม่ 5.3 เวลา (Time) หมายถึง เวลาท่พี ฤตกิ รรมท่ีเราสนใจจะเกิดขึน้ เช่น การด่ืมนมแม่ ตอนคำ่ 5.4 บริบท (Context) หมายถึง สถานการณท์ พ่ี ฤตกิ รรมทเี่ ราสนใจศึกษาจะเกิดข้ึน เชน่ การดื่มนมแม่ทีบ่ ้าน”จากทฤษฎกี ารเปลย่ี นแปลงเจตคติ สามารถสรุปได้วา่ เจตคติของแต่ละบุคคลเมือ่ เกดิ ข้ึน แล้ว ถึงแม้จะมีความคงทนถาวรพอสมควร แต่เจตคติก็สามารถเปลี่ยนแปลงได้ โดยเปลี่ยนแปลงใน องคป์ ระกอบท่สี ามของเจตคติตามทไี่ ดก้ ล่าวมาแล้วในตอนต้น ซงึ่ อาจจะเปล่ยี นโดยตวั บุคคล
สถานการณ์ ข่าวสาร การชวนเชอ่ื และสิ่งต่าง ๆ ซึ่งทำใหเ้ ขาเกิดการยอมรับในสง่ิ ใหม่น้นั แต่จะต้อง มี ความสัมพันธ์กับค่านิยมเดิมของบุคคล นอกจากสิ่งต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดการยอมรับแล้ว ก็อาจจะเกิด การ ยอมรบั จากการบงั คับกไ็ ด้ เชน่ กฎหมาย ขอ้ บังคับสงิ่ ทจ่ี ะทำใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงเจตคติได้ดี น้ัน ข้นึ อยู่กับ ข้อมูลต่าง ๆ ที่เขาได้รับทราบ ทำให้บุคคลเกิดความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งด้วยตนเอง หรือ ที่เรียกว่าเกิดการ หยั่งรู้ หรืออีกอย่างก็ขึ้นอยู่กับแหล่งที่ให้ข้อมูลต่าง ๆ และตัวข้อมูลเหล่านั้น ตลอดจนบุคลิกลักษณะของ บุคคลนั้น เช่น คนที่มีความเชื่อมั่นสูง คิดว่าตนเองรู้ดีทุก ๆ เรื่อง ไม่สนใจ ข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งอื่น ส่ิง เหลา่ นีย้ ่อมเปน็ อปุ สรรคตอ่ การเปลีย่ นแปลงเจตคติ 2.2.7 การวดั เจตคติ วรรณ์ดี แสงประทีปทอง (2544, น.15) ได้อธิบายการวัดเจตคติ คือ การวัดเจตคติอาจใช้วิธีการต่าง ๆ ได้ 6 วิธีได้แก่ วิธกี ารสงั เกต วิธกี ารสัมภาษณ์ วิธีการใชม้ าตรวัด วิธีการวัดทางอ้อม วธิ ีการวัดร่องรอย และ วิธกี ารวดั ทางสรีระ ดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี 1. วธิ กี ารสังเกต การสังเกตเป็นวิธีการเก็บข้อมูลที่เก่าแก่ที่สุด การสังเกต หมายถึง การเฝ้ามอง และจด บันทึก พฤติกรรมของบุคคลอยา่ งมีแบบแผน โดยการสังเกตน้ีผู้ศึกษาจะตอ้ งอนมุ านเจตคติของบคุ คล เป้าหมายจาก พฤติกรรมที่เขาแสดง ในการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลน้ี ผู้สังเกตจะต้องสังเกต พฤติกรรมตามธรรมชาติ ของบคุ คล กล่าวคอื ไมใ่ หผ้ สู้ งั เกตรวู้ า่ กำลังถูกสงั เกต ไม่ขอความร่วมมอื จาก ผู้ถูกสังเกต และไม่เปล่ียนแปลง ปรากฏการณ์ทตี่ อ้ งการวัด 2. วธิ ีการสมั ภาษณ์ การสัมภาษณ์ เป็นการถามให้ตอบด้วยปากเปล่า ผู้สัมภาษณ์อาจจดบันทึกคำตอบ หรืออัดเสียง คำตอบไว้แล้วนำมาวิเคราะห์ในภายหลัง การสัมภาษณ์จะทำให้ได้ข้อมูลที่ครอบคลุมทั้ง ข้อมูลในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตข้อดีของการสัมภาษณ์ คือ การเก็บข้อมูลทำได้สะดวก และ สามารถเก็บข้อมูลได้มาก เปน็ ทแี่ น่ชดั ในระยะเวลาอันสน้ั และอาจจะไดข้ อ้ มลู บางอย่างทีเ่ ป็น ประโยชน์แกเ่ รอ่ื งทศ่ี ึกษา 3. วธิ กี ารใช้มาตรวัด มาตรวดั เจตคติ หมายถึง เครอ่ื งมือทีส่ รา้ งข้นึ โดยอาศัยระเบียบวธิ ีที่มกี ารศึกษาวิจัย กันซึ่งนิยมใช้ใน ปัจจุบัน ได้แก่ มาตรอันตรภาคเท่ากันของเทอร์สโตน มาตรวัดรวมของลิเคอร์ทมาตร วัดของกัตต์แมน และ มาตรจำแนกความหมายของออสกูดข้อดีของการใช้มาตรวัด คือ สามารถใช้กับคนจำนวนมากได้ในเวลา เดียวกนั มาตรวดั ทใ่ี ช้จะ มคี วามชัดเจนในเชิงทฤษฎี และสามารถนำคะแนนการวัดเจตคตทิ ่ีไดไ้ ปเปรียบเทยี บ ระหว่างบคุ คล หรอื เป็นกล่มุ ไดว้ ธิ กี ารน้จี งึ เปน็ ทีน่ ยิ มมาก
ข้อจำกัดของการใช้มาตรวัด คือ การสร้างเครื่องมือต้องใช้เวลามากกว่าวิธีการอื่น เช่น มาตร วัดรวมของ ลิเคอรท์ ที่สร้างข้นึ สำหรบั วัดเจตคติต่อการเรยี นวิชาภาษาองั กฤษ ก็ไม่สามารถนำไปใช้วดั เจตคติตอ่ การเรียน วิชาภาษาไทยได้ นอกจากนีก้ ารใช้มาตรวัดจะใชไ้ ดเ้ ฉพาะผู้ทอี่ า่ นออกเขยี นได้ และ กล่มุ เป้าหมายอาจไม่ยอม ตอบ และไม่ส่งแบบสอบถามกลับคืนการวดั เจตคติเปน็ การสมั ภาษณ์ หรอื การสงั เกตเปน็ รวมถงึ ใช้เครื่องมือที่ สร้างขนึ้ เพ่ือใช้ใน การวัดเจตคติ โดยในขอ้ ดีของการสมั ภาษณ์คือการเก็บข้อมูลได้สะดวก รวดเร็ว ได้ข้อมูลท่ี ชัดเจน และการสังเกตนับเป็นการบันทึกพฤติกรรมบุคคล ข้อดีในการสังเกตคอื การรับรู้สิง่ ทีพ่ ฤติกรรมบคุ คล นั้นแสดงออกจากการกระทำนั้นเป็นอยา่ งไร โดยผู้วิจัยได้เลือกใช้วิธกี ารใช้มาตรวัดเป็นการวัดเจตคติ เพราะ คะแนนที่ได้จากมาตรวัดประเภทนี้จัดแบ่งเป็นช่วง โดยแต่ละช่วงมีขนาดเท่ากัน สามารถนำมา เปรียบเทียบ ความมากน้อยของเจตคติได้ส่วนประสิทธิภาพของมาตรวัดเจตคติขึ้นอยู่ว่าผู้ตอบจะตอ้ ง เต็มใจและสามารถ รายงานความรู้สกึ ของตัวเองได้อยา่ งเท่ียงตรงไมเ่ สแสร้ง 2.2.8 เจตคติตอ่ การเรียนวชิ าประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย เจตคติต่อการเรียนวชิ าประวตั ิศาสตร์ชาติไทย หมายถงึ ความคิด ความรูส้ ึก ความสนใจ ความชอบ ความพึงพอใจของแต่ละบุคคลที่แสดงออกผ่านพฤติกรรม การกระทำ คำพูด โดยมีเจตคติ ทางด้านบวก หรือทางด้านลบซง่ึ ขึน้ อยแู่ ต่ละสถานการณ์ของแตล่ ะบคุ คลท่ีแสดงออกมาว่าช่วงเวลา นั้นมีเจต คตดิ า้ นใดตอ่ วชิ าประวัติศาสตร์ชาติไทย ผ้วู ิจยั ได้แบ่งเจตคตติ ่อการเรยี นวชิ าประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย ออกเป็น 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1. เจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ด้านความรู้ความเข้าใจ หมายถึง การเห็น คุณค่า ความสำคัญ และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ประกอบด้วย เนื้อหาสาระ วิชา ประวัตศิ าสตร์ชาติไทย และการเข้าใจสาระเนื้อหาวชิ าประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย 2. เจตคติต่อการเรียนวิชาประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย ด้านความรูส้ ึก หมายถงึ ความชอบ ความพึง พอใจ และความสนกุ สนานท่ไี ด้รับจากการเรียนวชิ าประวัตศิ าสตรช์ าติไทย 3. เจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ด้านพฤติกรรมที่แสดงออก หมายถึง ท่าที การ แสดงออกถงึ ความต้ังใจทีจ่ ะนำความรู้ ความเขา้ ใจท่ไี ด้รับจากการเรียนวชิ าประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยนำมาใช้ ใน ชวี ติ ประจำวันได้ 4. เจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ด้านการจัดกิจกรรม หมายถึง เจตคติที่มีต่อ การ จดั กิจกรรมอยา่ งใดอย่างหน่งึ เพือ่ เสริมทกั ษะการเรยี นรู้ รวมทัง้ การบรรยาย หรือการเชญิ วทิ ยากรมาอธิบาย ในกิจกรรมนั้น ๆ
2.3 งานวจิ ยั ท่เี กยี่ วข้อง ณชพล สมณา (2552) ศึกษาเรื่อง การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาสังคมศึกษาของนักศึกษาระดับ ชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ของนักศึกษาโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดเจตคติของนักศึกษาที่ มีต่อ วิชาสังคมศึกษา ของนักศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี ในภาคเรียน ที่ 2 ปี การศึกษา 2552 กลุ่มทดลองเป็นนักศึกษาชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 5 จำนวน 420 คน โดยให้ นักศึกษาทำ แบบสอบถามวัดเจตคติจำนวน 15 ข้อ ที่คณะผู้วิจัยได้สร้างขึ้น จำนวน 1 ฉบับ จากนั้นจึง ทำการวิเคราะห์ ผลคะแนนโดยใช้วิธีการหาค่าเฉลี่ยผลการศึกษาปรากฏว่า คะแนนเฉลี่ยของ แบบสอบถามมีค่าเท่ากับ 3.56 ซึ่งแปลความไดว้ า่ นักศึกษามีเจตคติทด่ี ีตอ่ วิชาสงั คมศกึ ษา วิเชียร สุวรรณโชคอิสาน (2559) ศึกษาเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการคิด วิเคราะห์และเจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยของนักศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยการจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษา ประสิทธิภาพของแผนการจดั กิจกรรมการเรียนร้วู ิชาประวตั ิศาสตร์ชาติไทย ของนกั ศึกษาช้นั มัธยมศึกษา ปีท่ี 4 ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ ที่มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และเพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชา ประวัติศาสตร์ชาติไทย ของนักศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปัญหาเป็น ฐานและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน การคิด วิเคราะห์ และ เจตคติตอ่ การเรียนวิชาประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทยของนกั ศกึ ษาชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ท่ไี ด้รบั การจดั กจิ กรรม การเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติระหว่างก่อนและหลัง เรียน และเพื่อ เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น การคิดวเิ คราะห์และเจตคติตอ่ การเรียนวิชา ประวัติศาสตรช์ าตไิ ทยของ นกั ศกึ ษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบปัญหาเป็น ฐานกับการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้แก่ นักศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 2 ห้องเรียน ได้แก่ นักศึกษาช้ัน มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4/2 จ˚านวน 45 คน และนกั ศึกษาชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4/4 จ˚านวน 45 คน ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2558 ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานและ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติจำนวน รูปแบบละ 4 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชนิดปรนัย 5 ตัวเลือกจำนวน 30 ข้อ มีค่า อำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.20 – 0.73 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.90 3) แบบทดสอบวัดการคิด วิเคราะห์ชนิดปรนัย 4 ตัวเลือกจำนวน 25 ข้อ มีค่าความยากตั้งแต่ 0.40 – 0.63 ค่าอำนาจจ˚าแนกตั้งแต่ 0.25- 0.73 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.87 4) แบบวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติ ไทยเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5ระดับจำนวน 20 ข้อ มีค่าอำนาจจ˚าแนกรายข้อตั้งแต่ 0.22 – 0.65 และคา่ ความเชอ่ื ม่นั ท้งั ฉบับเทา่ กบั 0.88 สถิติทใ่ี ช้วิเคราะห์ขอ้ มลู ไดแ้ ก่ ร้อยละ คา่ เฉล่ยี สว่ นเบ่ยี งเบน
มาตรฐาน และทดสอบ สมมติฐาน ด้วย t-test (Dependent Samples) และ Hotelling T2 ผลการวิจัย พบว่า 1. แผนการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานและแบบปกติ ของนักศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพเทา่ กับ 84.79/87.56 และ 82.54/85.19 ตามลำดับ 2. คา่ ดชั นีประสิทธิผลของ แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานและแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติมีค่า เท่ากับ 0.6633 และ 0.6015 ตามลำดบั 3. นกั ศึกษาทีเ่ รียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปัญหา เปน็ ฐานและแบบปกติ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อการเรียนวิชา ประวัติศาสตร์ชาติไทยหลังเรียนสูง กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 4. นักศึกษาที่เรียนโดย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ปัญหาเป็นฐานและแบบปกติ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิด วิเคราะห์และเจตคติต่อการเรียนวิชา ประวัติศาสตรช์ าตไิ ทยหลังเรยี นไม่แตกต่างกนั กวินนาถ วังธะพันธ์ุ (2557) ศึกษาเรื่อง การสำรวจเจตคติทีม่ ผี ลต่อการเรยี นรายวิชาสังคม ศึกษาใน ด้านวินัย ขยันอดทน ใฝ่เรียนของนักศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา เจตคติที่มีผลต่อ การเรียนวิชาสังคมศึกษาเห็นความสำคัญของจริยธรรม โดยเฉพาะพฤติกรรมด้านวินัย ในตนเอง โดยเห็นว่า วินัยในตนเองเป็นคุณลักษณะในตัวบุคคลที่ควบคุมตนเองได้ ทั้งในด้านอารมณ์ และพฤติกรรม ผู้ที่มีวินัยใน ตนเองจะเป็นบุคคลที่รู้จักกาลเทศะ สนใจและเอาใจใส่ต่อสังคม เป็นผู้ที่มี ระเบียบและปฏิบัติตามกฎของ สังคมจากการศึกษาความหมายและขอบข่ายและพฤติกรรมของความ มีวินัยในตนเอง ทำให้เห็นความสำคญั ของวินัยในห้องเรียน ความขยันอดทนและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ โดยการสุ่มตัวอย่างนักศึกษาโรงเรียนเซนต์โย เซฟ บางนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3/4 จานวน 43 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เพ่ือ ศึกษาเจตคติที่มตี ่อวนิ ยั ในตนเองดา้ นวินยั ใน ห้องเรียน ความขยนั อดทนทางการเรยี นและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ทางการเรียน ของนักศึกษาชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3/4 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนเซนต์โยเซฟ บางนา ผลการวิจัย พบว่า เจตคติที่มีต่อ วินัยในตนเองด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่อความพยายามทางการเรียน นักศึกษามีแนวโน้มที่จะมีความ พยายามทางการเรียนอย่างเต็มท่ี ท˚าสิ่งที่ดี เหมาะสมอย่างที่ตั้งใจไว้ พยายามที่จะพัฒนาตนเอง ใฝ่หา ความรู้ด้วยตนเอง ทั้งจากตำราเรียน ค้นคว้าในห้องสมุด รวมทั้งการฝึก ทักษะจากบทเรียนที่ยาก การวางแผนการเรียนที่ดีตั้งแต่ต้นปีการศึกษา ส่วนนักศึกษาที่ไม่เคยทำมีจำนวน น้อย ซึ่งในนักศึกษา กลุ่มนี้จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาเจตคติที่ให้นักศึกษาเห็นเป้าหมาย คุณประโยชน์ คณุ ค่า ของความ พยายาม รวมทัง้ การยอมรับของสังคมทมี่ ตี ่อผทู้ ม่ี คี วามพยายาม รวมท้งั กระตุน้ นกั ศกึ ษาที่มี ผลการ เรียนไม่ดีให้มีความพยายาม ขยันหมั่นเพียรในด้านการเรียน ให้นักศึกษาตระหนักในการวางแผน ทางด้านการเรียน มีความมุ่งมั่น มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธท์ิ างการเรยี น และหากได้ปฏบิ ตั ิตนจนเป็นนสิ ยั ก็จะเปน็ ผทู้ มี่ ีความสำเรจ็ ในชวี ิตตามทต่ี นได้มุง่ หวังไว้อยา่ งแน่นอน
ฉัตรชัย ปันชาติ (2544) ศึกษาเรื่อง เจตคติต่อการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษาของนักศึกษา ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ในโรงเรยี นเอกชน จงั หวดั เชียงใหม่ วัตถุประสงคเ์ พอ่ื ศึกษาเจตคตติ ่อการเรียน การสอนวิชา สังคมศึกษาของนกั ศกึ ษาชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ที่มผี ลการเรยี นอยู่ในระดับต่ำและ ปานกลาง ในโรงเรยี นเอกชน จังหวดั เชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2556 จ˚านวน 252 คน เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการศกึ ษาแบบวัดเจตคติ วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยวิธหี าคา่ ร้อยละ ค่าเฉล่ยี และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั พบวา่ เจตคตติ ่อการเรียน การสอนวิชาสังคมศึกษาของนักศึกษาชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ต่อสังคมศึกษา ด้านความรู้หรือความเชื่อ และ ด้านความรู้สึก ในระดับปานกลาง ส่วนด้านกิจกรรมหรือการแสดงออก อยู่ในระดับปานกลาง สำหรับเจตคติ ของนักศึกษาทีมีต่อวิชา สังคมศึกษา ด้านความรู้หรือความเชื่อ อยู่ในระดับปานกลาง ด้านความรู้สึก อยู่ใน ระดบั ปานกลาง และดา้ นพฤติกรรมหรอื การแสดงออก
บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ยั ในการศึกษาเจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยของนักศึกษา กศน.ตำบลคูขาด ซึ่งผู้วิจยั ไดด้ ำเนินการและเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในการค้นควา้ โดยมปี ระเดน็ ใน การดำเนนิ งาน ดังน้ี 3.1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 3.2. เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการวิจัย 3.3. ขน้ั ตอนในการสร้างเครอ่ื งมอื 3.4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.5. การวิเคราะหข์ ้อมูล 3.6. สถติ ิทีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 3.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง ประชากร ประชากร ทใี่ ชใ้ นการวิจัยครัง้ น้ี เป็นนักศกึ ษา กศน.ตำบลคูขาด สงั กดั ศนู ย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอคง ปกี ารศึกษา 2565 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนกั ศกึ ษาทงั้ หมด 31 คน กลุ่มตวั อย่าง กลุ่มตัวอย่าง ที่ใชใ้ นการศึกษา เป็นนักศึกษา กศน.ตำบลคขู าด สังกัดศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอคง ปีการศึกษา 2565 จำนวนนักศึกษาทั้งหมด 31 คน โดยใช้ วิธีการคัดเลือก แบบเจาะจง (Purposive Sampling) ผู้วิจัยดูจากเจตคติของนักศึกษาจากการ พิจารณาว่าในเวลาสอนจะมี เจตคติทางทัง้ ทางบวกและทางลบจึงนำมาใช้เปน็ กลมุ่ ตัวอยา่ งเพื่อ พิจารณาว่านักศึกษามีเจตคตอิ ย่างไรต่อการ สอนและน ามาปรับในการสอนครง้ั ต่อไป 3.2 เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ยั เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ในครั้งน้เี ปน็ แบบสอบถาม แบ่งออกเปน็ 2 ตอน คอื ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 คำถามการวดั เจตคติต่อการเรยี นวชิ าประวตั ศิ าสตร์ปรบั ปรงุ มาจากแบบสอบถาม เจตคตติ ่อการเรยี นวิชาประวตั ิศาสตร์ชาติไทยของสมนกึ ออ่ นแสง (2555) ได้แก่ 20 ข้อ แบ่งเปน็ 4 ดา้ น คือ ด้านความรู้ความเข้าใจ ด้านความรู้สกึ ด้านพฤติกรรมท่ีแสดงออก และด้านการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย เจตคติทางบวก 11 ข้อ และเจตคติทางลบ 9 ข้อ ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น จำนวน 1 ฉบับ จากนั้นจึงทำการวเิ คราะห์ ผลคะแนนได้ดำเนนิ การซ่ึงมีรายละเอียดเป็นขนั้ ตอน ดงั นี้
3.3 ขัน้ ตอนในการสร้างเครอื่ งมอื 1. ศึกษาค้นคว้า ตำรา เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเจตคติต่อการเรียนวิชา ประวัติศาสตร์ชาติ ไทยในการปรบั ปรุงข้อคำถามในแบบสอบถาม 20 ขอ้ โดยใชม้ าตราส่วนประมาณคา่ 5 ระดบั ตามวิธีการของ Likert (1932) ซึ่งมีตัวเลือก 5 ข้อ โดยยึดถือเกณฑ์น้ำหนักในการให้คะแนน ตัวเลือกข้อคำถามประเภทบวก และประเภทลบดงั น้ี (ศรณั ย์ ร่ืนณรงค์, 2553) ขอ้ คำถามประเภททางบวก ขอ้ คำถามประเภททางลบ ไม่เหน็ ด้วยอย่างยิ่งให้ 1 คะแนน ไม่เหน็ ด้วยอยา่ งยง่ิ ให้ 5 คะแนน ไม่เหน็ ด้วยให้ 2 คะแนน ไม่เห็นดว้ ยให้ 4 คะแนน ไมแ่ นใ่ จให้ 3 คะแนน ไม่แนใ่ จให้ 3 คะแนน เหน็ ด้วยให้ 4 คะแนน เหน็ ด้วยให้ 2 คะแนน เหน็ ด้วยอยา่ งยง่ิ ให้ 5 คะแนน เหน็ ด้วยอย่างยิง่ ให้ 1 คะแนน คะแนนเฉลี่ย 4.50-5.00 หมายถึง มีเจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยอยู่ในระดับมาก ที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.50-4.49 หมายถึง มีเจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยอยู่ในระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 2.50-3.49 หมายถึง มีเจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยอยู่ในระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.50-2.49 หมายถึง มีเจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยอยู่ในระดับน้อย คะแนน เฉลย่ี 1.00-1.49 หมายถงึ มเี จตคตติ ่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาตไิ ทยอยใู่ นระดบั นอ้ ยท่สี ุด 2. นำแบบสอบถามมาใหอ้ าจารยน์ เิ ทศตรวจสอบ 3.จากนั้นนำแบบสอบถามเจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างในการ ทำวจิ ยั เพอ่ื วดั เจตคติต่อการเรียนวชิ าประวัตศิ าสตร์ชาติไทยและเพ่ือรวบรวมข้อมูล 3.4 กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 1. นำแบบสอบถามเจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยของนักศึกษา กศน.ตำบลคูขาด จำนวน 31 คน ทำเพื่อวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยของนักศึกษา และทำการบันทึก คะแนน 2. ดำเนนิ การหาคา่ เฉลยี่ ของแตล่ ะข้อคำถาม 3. ดำเนินการหาค่าเฉลย่ี ของแบบสอบถามวดั เจตคตทิ ้ังฉบบั และเขียนสรุป 3.5 การวิเคราะห์ข้อมลู ในการวิเคราะห์เกีย่ วกับการศึกษาเจตคติต่อการเรยี นวิชาประวัติศาสตร์ชาตไิ ทยของนักศึกษา ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ปีการศึกษา 2565 จำนวน 31 คน โดยการใช้ แบบสอบถามเกี่ยวกับเจตคติต่อการ เรียนวิชาประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย ผู้วิจยั ไดด้ ำเนินการตามขั้นตอน ดงั นี้ 1. ศึกษาผลคะแนนแบบสอบถามเจตคตติ ่อการเรยี นวชิ าประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย จำนวน 31 คน 2. หาค่าเฉลี่ยของแบบสอบถามวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย จำนวน 31 คน ว่า อยใู่ นระดบั คะแนนเทา่ ไหร่ ก่อนทจ่ี ะทำการวเิ คราะหข์ ัน้ ตอนตอ่ ไป
3. หาเฉลี่ยของคะแนนแตล่ ะข้อของแบบสอบถามเจตคติต่อการเรยี นวิชาประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย โดย อยูใ่ นระดบั การใหเ้ กณฑ์คะแนนดังนี้ โดยใช้มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามวิธกี ารของ Likert (1932) 3.6 สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวิจยั ใชส้ ถติ ดิ งั ตอ่ ไปนี้ 1. การหาค่ารอ้ ยละ (Percentage) (สมนึก ภทั ทิยะธนี, 2551, น.76) เมอ่ื p แทน คะแนนคา่ เฉล่ยี f แทน ความถี่ทต่ี อ้ งการหาค่าร้อยละ N แทน ขนาดของกลุม่ ตัวอยา่ ง 2. การค่าเฉลย่ี (Mean) (สมนึก ภทั ทยิ ะธนี, 2551 น.77) 3. การหาค่าสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (สมนึก ภัททยิ ธนี, 2551น.250) เม่ือ S. D. แทน ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน X แทน รายข้อมูล N แทน ขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ ง
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู การวจิ ยั เรื่อง การศกึ ษาเจตคตติ ่อการเรียนวชิ าประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทยของนกั ศึกษา กศน.ตำบลคขู าด ผวู้ จิ ยั ไดน้ ำเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ตามลำดับตอ่ ไปน้ี 1. สญั ลักษณ์ทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู 2. การนำเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมลู 4.1 สญั ลักษณท์ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยไดก้ ำหนดใช้สญั ลักษณต์ ่าง ๆ ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู ดังน้ี P แทน ร้อยละข้อมูล N แทน จำนวนนักศึกษาในกลุม่ ตวั อย่าง X แทน คา่ เฉลีย่ คะแนนแบบสอบถาม S. D. แทน สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน 4.2 การน าเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล การศกึ ษาเจตคตติ ่อการเรียนวิชาประวัตศิ าสตร์ชาติไทยของนักศึกษา กศน.ตำบลคูขาด มลี ำดบั การ นำเสนอขอ้ มลู ดังน้ี 4.2.1 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลทัว่ ไปของนกั ศึกษา 4.2.2 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลของผตู้ อบแบบสอบถามวัดเจตคตดิ ้านความรคู้ วามเขา้ ใจ ทางการเรยี น วชิ าประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย 4.2.3 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ของผตู้ อบแบบสอบถามวดั เจตคติด้านความรู้สกึ ทางการเรยี น วิชา ประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย 4.2.4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ของผู้ตอบแบบสอบถามวัดเจตคติดา้ นพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออก ทางการ เรยี นวิชาประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย 4.2.5 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ของผู้ตอบแบบสอบถามวัดเจตคตดิ ้านการจดั กจิ กรรมทางการ เรยี นวิชา ประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย 4.2.6 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ของผ้ตู อบแบบสอบถามวดั เจตคติดา้ นความรคู้ วามเข้าใจ ดา้ น ความรู้สกึ ด้านพฤตกิ รรมท่ีแสดงออก และดา้ นการจดั กจิ กรรมที่มีทางการเรยี นวชิ าประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย
4.3 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู นำเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ของผู้ตอบแบบสอบถามวดั เจตคตติ อ่ การเรยี นวิชา ประวตั ศิ าสตร์ชาติ ไทย ตาราง 4.3.1 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลทั่วไปของนักศึกษา เพศ จ˚านวน รอ้ ยละ ชาย 10 34.38 หญงิ 21 65.62 รวม 31 100.00 ตาราง 4.3.1 พบวา่ นกั ศึกษา กศน. มจี ำนวน ทั้งหมด 31 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 เปน็ นักศึกษาชาย 10 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 34.38 นกั ศกึ ษาหญงิ 21 คน คดิ เป็นร้อยละ 65.62 ตาราง 4.3.2 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลของผตู้ อบแบบสอบถามวัดเจตคตดิ า้ นความรู้ความเข้าใจทางการ เรียนวชิ าประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย ขอ้ ความคดิ เห็นของนกั ศึกษา X̅ S.D. แปลผล ดา้ นความรูค้ วามเข้าใจ 1. วิชาประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยเป็นวชิ าท่ีตอ้ งใชค้ วามรู้ 4.09 0.82 มาก รอบตวั มาก 2. วชิ าประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยเป็นวิชาท่เี น้ือหาเยอะ 4.22 0.87 มาก มาก 3. การเรยี นประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทยชว่ ยใหข้ า้ พเจา้ 3.72 0.81 มาก เข้าใจความคดิ ของคนในสังคม 4. วิชาประวตั ศิ าสตร์ชาติไทยมเี น้ือหาสาระทนี่ ่าเบ่ือ 3.22 0.94 ปานกลาง หน่าย 5. วิชาประวตั ศิ าสตร์ชาติไทยเปน็ วิชาทีเ่ รยี นรู้ได้ยาก 3.38 1.24 ปานกลาง มาก รวม 3.73 0.94 มาก จากตาราง 4.3.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามวัดเจตคติด้านความรู้ความ เข้าใจ ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย จ านวน 5 ข้อ ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึน้ พบว่า นักศึกษามีเจตคติใน ระดับ มากดา้ นความรู้ความเข้าใจทางการเรยี นวิชาประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย ( X̅=3.73, S.D. = 0.94) เมอื่ พจิ ารณา รายข้อ พบว่า วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยเป็นวิชาที่เนื้อหาเยอะมากในระดับมาก ( x̅ =4.22 , S.D.= 0.87) รองลงมาคือ วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยเป็นวิชาที่ต้องใช้ความรู้รอบตัวมากในระดับมาก ( x̅ =4.09 ,S.D.=0.82) การเรียนประวัติศาสตร์ชาติไทยช่วยให้ข้าพเจ้าเข้าใจความคิดของคนในสังคมในระดับมาก ( x̅
=3.72 , S.D. = 0.81) และด้านความรู้ความเข้าใจทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยน้อยที่สุดคือ วิชา ประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยมีเนอ้ื หาสาระที่น่าเบ่อื หนา่ ยในระดับปานกลาง ( x̅ =3.22, S.D. = 0.94)
ตาราง 4.3.3 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ของผตู้ อบแบบสอบถามวัดเจตคตดิ ้านความรสู้ กึ ทางการเรยี นวิชา ประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย ขอ้ ความคดิ เหน็ ของนักศกึ ษา X̅ S.D. แปลผล ด้านความรู้สกึ 1. ข้าพเจ้ารสู้ กึ วา่ ชวั่ โมงเรยี นวิชาประวตั ศิ าสตร์ชาติ 2.94 1.29 ปานกลาง ไทยนานเกนิ ไป 2. ข้าพเจา้ ร้สู ึกเสยี ดาย หากไม่สามารถมาเรยี น 3.19 1.15 ปานกลาง วิชาประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยได้ 3. ข้าพเจา้ มคี วามสขุ มากเม่อื ได้เรยี นวชิ า 3.13 1.18 ปานกลาง ประวัตศิ าสตรช์ าติไทย 4. ขา้ พเจา้ รู้สกึ สบายใจเมอื่ ทำงานวชิ า 3.13 1.26 ปานกลาง ประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย 5. ขา้ พเจา้ รู้สกึ ไมส่ บายใจทกุ ครง้ั เมอ่ื เรียน 2.63 1.24 ปานกลาง ประวัตศิ าสตร์ชาติไทย รวม 3.00 1.22 ปานกลาง จากตาราง 4.3.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามวัดเจตคติด้านความรู้สึก ทางการ เรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย จำนวน 5 ข้อ ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น พบว่า นักศึกษามีเจตคติระดับ ปานกลาง ด้านความรู้สึกทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ( x̅ =3.00 , S.D. = 1.22) เมื่อพิจารณา รายข้อ พบว่า ขา้ พเจา้ รู้สึกเสยี ดายหากไม่สามารถมาเรยี นวิชาประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทยได้ในระดับปานกลาง ( ̅x =3.19 , S.D. = 1.15) รองลงมาคอื ข้าพเจ้ามีความสุขมากเมอื่ ไดเ้ รยี นวิชาประวัติศาสตร์ชาตไิ ทยในระดบั ปานกลาง ( ̅x =3.13 , S.D.= 1.18) ข้าพเจ้ารู้สึกสบายใจเมื่อทำงานวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยในระดับ ปานกลาง (x ̅ =3.13 , S.D. = 1.26) และดา้ นความรสู้ กึ ทางการเรียนวิชาประวตั ศิ าสตร์ชาติไทยนอ้ ยท่สี ุดคือ ข้าพเจ้ารู้สึกไม่ สบายใจทุกคร้งั เมื่อเรียนประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยในระดบั ปานกลาง (x ̅ =2.63 , S.D. = 1.24)
ตาราง 4.3.4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ของผตู้ อบแบบสอบถามวัดเจตคตดิ า้ นพฤติกรรมทแ่ี สดงออก ทางการ เรยี นวิชาประวตั ิศาสตร์ชาติไทย ขอ้ ความคดิ เหน็ ของนักศึกษา X̅ S.D. แปลผล 2.75 1.48 ปานกลาง ดา้ นพฤตกิ รรมที่แสดงออก 3.22 1.13 ปานกลาง 1. ข้าพเจ้าชอบใช้เวลาวา่ งในการศึกษาหาความรู้ 3.19 1.12 ปานกลาง ทางประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทย 2.88 1.21 ปานกลาง 2. วิชาประวตั ิศาสตร์ชาติไทยเป็นวชิ าทำให้คนกลา้ 2.66 1.23 ปานกลาง แสดงออก 2.94 1.23 ปานกลาง 3. วิชาประวตั ศิ าสตร์ชาติไทยทำใหเ้ กดิ ความคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรค์ 4. ในการพดู คุยแลกเปล่ียนในเรอื่ งเกย่ี วกับ ประวัติศาสตรช์ าติไทยเป็นเรอื่ งที่น่าเบื่อหนา่ ย 5. เวลาข้าพเจ้าไมเ่ ข้าใจเน้ือหาท่ีครูสอนจะซักถาม ปญั หาหลงั เลกิ เรียนประจำทกุ ครง้ั รวม จากตาราง 4.3.4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลของผู้ตอบแบบสอบถามวดั เจตคติด้านพฤตกิ รรมที่ แสดงออก ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย จำนวน 5 ขอ้ ทผ่ี ู้วิจัยไดส้ ร้างขึ้น พบว่า นักศกึ ษา มีเจตคติระดับปาน กลางในด้านพฤติกรรมที่แสดงออกทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย (x ̅ =2.94,S.D. = 1.23) เมื่อ พิจารณารายข้อ พบว่า วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยเป็นวิชาทำให้คนกล้าแสดงออกในระดับปานกลาง (x ̅ =3.22 , S.D. = 1.13) รองลงมาคือ วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยทำให้เกิดความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ในระดับ ปานกลาง ( x̅ =3.19 , S.D. = 1.12) ในการพูดคุยแลกเปลี่ยนในเรื่องเกีย่ วกับ ประวัติศาสตร์ชาติไทยเปน็ เรื่องที่น่าเบื่อหน่ายในระดับปานกลาง (x ̅ =2.88 , S.D. = 1.21) และด้าน พฤติกรรมที่แสดงออกวิชา ประวัติศาสตร์ชาติไทยน้อยที่สุดคือ เวลาข้าพเจ้าไม่เข้าใจเนื้อหาที่ครูสอนจะซักถาม ปัญหาหลังเลิกเรียน ประจำทุกครัง้ ในระดับปานกลาง ( x̅ =2.66 , S.D. = 1.23)
ตาราง 4.3.5 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ของผู้ตอบแบบสอบถามวัดเจตคตดิ ้านการจดั กิจกรรมทางการ เรียนวิชาประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย ข้อ ความคดิ เหน็ ของนกั ศึกษา X̅ S.D. แปลผล 3.38 1.18 ปานกลาง ดา้ นการจดั กิจกรรม 2.78 1.29 ปานกลาง 1. วิชาประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยมกี ระบวนการทีย่ ่งุ ยาก 2.47 1.37 ทำให้ขา้ พเจ้าเกดิ ความทอ้ ถอย น้อย 2. การเชิญวิทยากรมาบรรยายเกี่ยวกับวิชา 3.84 1.05 ประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย ทำให้เสยี เวลาเรียน 3.78 1.21 มาก 3. ข้าพเจ้าไม่สนใจทจ่ี ะเขา้ รว่ มกิจกรรมที่เกยี่ วข้อง 3.35 1.22 มาก กับการแสดงนทิ รรศการทางประวตั ศิ าสตร์ชาติ มาก ไทย 4. ขา้ พเจ้าชอบฟังบรรยายในเรอ่ื งราวเก่ียวกบั เหตุการณ์ ประวัติศาสตรช์ าตไิ ทย 5. ขา้ พเจา้ สนใจเขา้ รว่ มสัมมนาวิชาการเรอื่ ง ประวตั ศิ าสตรช์ าติไทย รวม จากตาราง 4.3.5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามวัดเจตคติด้านการจัด กจิ กรรมทางการเรียนวชิ าประวตั ิศาสตร์ชาติไทย จำนวน 5 ขอ้ ทผ่ี ู้วจิ ยั ได้สร้างข้นึ พบว่า นักศึกษา มี เจตคติระดับมากในด้านการจัดกิจกรรมทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ( ̅x =3.35 , S.D. = 1.22) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ข้าพเจ้าชอบฟังบรรยายในเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ ประวัติศาสตร์ชาติไทย ใน ระดับมาก ( ̅x =3.84 , S.D. = 1.05) รองลงมาคือ ข้าพเจ้าสนใจเขา้ ร่วมสัมมนาวิชาการเรื่อง ประวัติศาสตร์ชาติไทยในระดับปานกลาง (x ̅ =3.78 , S.D. = 1.21) วิชา ประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย มีกระบวนการ ที่ยุ่งยากทำใหข้ ้าพเจ้าเกดิ ความท้อถอยในระดับปานกลาง ( ̅x =3.38 , S.D. = 1.18) และด้านการจัด กิจกรรมวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยน้อยที่สุดคือ ข้าพเจ้าไม่ สนใจที่จะเข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการแสดง นิทรรศการทางประวัติศาสตร์ชาติไทยในระดับ น้อย (x ̅ =2.47 , S.D. = 1.37)
ตาราง 4.3.6 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ของผ้ตู อบแบบสอบถามวดั เจตคตดิ า้ นความรู้ความเข้าใจ ดา้ น ความรสู้ กึ ดา้ นพฤตกิ รรมทแี่ สดงออก และดา้ นการจดั กิจกรรมท่ีมที างการเรียนวชิ าประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทย เจตคติดา้ นรวม ̅x S.D. แปลผล 3.73 0.94 มาก ดา้ นความรคู้ วามเขา้ ใจ 3.00 1.22 ปานกลาง ดา้ นความรู้สึก 2.94 1.23 ปานกลาง ด้านพฤติกรรมทแี่ สดงออก 3.25 1.22 ปานกลาง ด้านการจดั กิจกรรม 3.23 1.15 ปานกลาง รวม ตาราง 4.3.6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามวัดเจตคติด้านความรู้ความเข้าใจ ด้านความรสู้ ึก ดา้ นพฤตกิ รรมท่ีแสดงออก และด้านการจดั กจิ กรรมทีม่ ที างการเรยี นวชิ าประวตั ิศาสตร์ชาติ ไทย จำนวน 4 ด้าน ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น พบว่า นักศึกษามีเจตคติด้านรวมมีระดับปานกลางทางการเรียน วชิ า ประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย ( ̅x =3.23 , S.D. = 1.15) เมอื่ พิจารณารายดา้ นพบว่า ดา้ นความรูค้ วามเข้าใจ ในระดับ มาก (x ̅ =3.73 , S.D. = 0.94) รองลงมาคือ ด้านการจัดกิจกรรมในระดับปานกลาง (x ̅ =3.25, S.D. = 1.22) ด้านความรู้สึกในระดับปานกลาง ( ̅x =3.00 , S.D. = 1.22) และเจตคติด้านรวมที่มี ด้าน นอ้ ยทีส่ ดุ คือ ดา้ นพฤติกรรมทีแ่ สดงออกในระดับปานกลาง ( x̅ =2.94 , S.D. = 1.23)
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ การวิจัยเรื่อง เจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยของนักศึกษา กศน.ตำบลคูขาด มี วัตถุประสงค์ในการวิจัย คือ เพื่อศึกษาเจตคติต่อการเรียนวิชา ประวัติศาสตร์ชาติไทยเครื่องมือที่ใช้ในการ รวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามเจตคตติ อ่ การเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาตไิ ทยของนักศกึ ษา กศน.ตำบลคู ขาด ซึ่งเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (rating scale)การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม สำเร็จรปู ทางสถิตคิ ำนวณหาคา่ รอ้ ยละ (P) ค่าเฉล่ีย (x)̅ และค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) 5.1 สรปุ ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู เกย่ี วกับการศึกษาวิจยั เรอ่ื ง เจตคตติ ่อการเรียนวชิ าประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทยของ นักศึกษา กศน. ตำบลคูขาด สามารถสรุปได้ ดังน้ี นักศึกษา ของกศน.ตำบลคูขาด มีจำนวนทั้งหมด 31 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 เปน็ นกั ศึกษาชาย 10 คน คิดเปน็ ร้อยละ 34.38 นักศึกษาหญงิ 21 คน คิดเปน็ ร้อยละ 65.62 เจตคตดิ า้ นความรู้ความเขา้ ใจทางการเรยี นวชิ าประวตั ศิ าสตรช์ าติไทย จำนวน 5 ข้อ ทผ่ี ู้วิจยั ได้สร้าง ข้นึ พบวา่ นกั ศึกษามเี จตคติในระดับมากดา้ นความร้คู วามเข้าใจทางการเรยี นวิชาประวัติศาสตรช์ าติไทย (x̅ =3.73, S.D. = 0.94) เจตคติด้านความรู้สึกทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย จำนวน 5 ข้อ ที่ผู้วิจัยได้สร้างข้ึน พบว่านกั ศึกษามีเจตคตริ ะดับปานกลางดา้ นความรู้สึกทางการเรียนวชิ าประวัติศาสตรช์ าตไิ ทย (x̅ =3.00,S.D. = 1.22) เจตคติด้านพฤติกรรมที่แสดงออกทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย จำนวน 5 ข้อ ที่ผู้วิจัยได้ สร้างขึ้น พบว่า นักศึกษามีเจตคติระดับปานกลางในด้านพฤติกรรมที่แสดงออกทางการเรียนวิชา ประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย (x̅ =2.94, S.D. = 1.23) เจตคตดิ า้ นการจดั กจิ กรรมทางการเรยี นวชิ าประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย จำนวน 5 ขอ้ ทผ่ี ู้วจิ ัยได้สร้างขึ้น พบว่า นกั ศกึ ษามีเจตคตริ ะดับมากในด้านการจดั กจิ กรรมทางการเรยี นวชิ าประวตั ศิ าสตรช์ าติไทย (x̅ =3.35, S.D. = 1.22) เจตคตดิ า้ นความร้คู วามเข้าใจ ดา้ นความรสู้ กึ ดา้ นพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออก และดา้ นการจัด กิจกรรมที่ มที างการเรยี นวชิ าประวตั ิศาสตรช์ าติไทย จำนวน 4 ดา้ น ท่ีผวู้ ิจัยไดส้ ร้างขึ้น พบวา่ นกั ศึกษามี เจตคติรวมใน ระดับปานกลางตอ่ การเรยี นวิชาประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย (x̅ =3.23 , S.D. = 1.15)
5.2 การอภิปรายผล จากผลการศกึ ษาผลการวจิ ัยเรือ่ ง เจตคตติ ่อการเรียนวชิ าประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยของนักศึกษา กศน. ตำบลคูขาด ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวมนักศึกษามีเจตคติอยู่ใน ระดับปานกลาง ซึ่งไม่เป็นไปตาม สมมติฐานที่ตั้งไว้ว่า เจตคติด้านความรู้ความเข้าใจ ด้านความรู้สึก ด้านพฤติกรรมที่แสดงออก และด้านการ จัดกิจกรรมต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทยของนักศึกษา กศน.ตำบลคูขาด อยู่ในระดับต่ำ ทั้งนี้เป็น เพราะการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนของครูผู้สอนจะเน้นสื่อการสอนเพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ความ เข้าใจท่ีง่ายกวา่ การจดบนั ทึก ตามที่ครูสอน จึงสง่ ผลใหน้ กั ศึกษามีเจตคติทด่ี กี วา่ สมมติฐานที่ตั้งเอาไว้ ไม่เกิด ความเบื่อหน่ายต่อการ เรียนวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคล้องกับผลงานวิจัยฉัตรชัย ปันชาติ (2544) ศกึ ษาเรื่อง เจตคติตอ่ การเรยี นการสอนวิชาสงั คมศึกษาของนักศึกษา กศน.ผลการวจิ ัยพบว่า เจตคติต่อการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษาของนักศึกษา กศน. ต่อสังคมศึกษา ด้านความรู้หรือความเช่ือ และด้านความรู้สึก ในระดับปานกลาง ส่วนด้านกิจกรรมหรือการแสดงออก อยู่ในระดับปานกลาง สำหรับ เจตคติของนักศึกษาทีมีต่อวิชา สังคมศึกษา ด้านความรู้หรือความเชื่อ อยู่ในระดับปานกลาง ด้านความรู้สกึ อย่ใู นระดบั ปานกลาง และด้านพฤตกิ รรมหรอื การแสดงออก อยใู่ นระดับปานกลาง ตามลำดบั 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 5.3.1 ขอ้ เสนอแนะจากผลการศกึ ษา ในการสร้างแบบสอบถามเจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตรช์ าตไิ ทยอาจเป็นรปู แบบของการ สมั ภาษณ์ เพื่อเป็นการเก็บข้อมลู เชิงลกึ ท่ีเปน็ ประโยชน์ในการพัฒนาการเรียนการสอนต่อไป 5.3.2 ข้อเสนอแนะเพอ่ื การศึกษาวิจยั คร้ังต่อไป ในการวิจยั คร้ังต่อไปอาจเพ่มิ ปริมาณของกล่มุ ตัวอยา่ งหรอื กลุม่ นกั ศึกษาในระดบั ชนั้ อื่น ๆ และแยกหัวข้อของ แบบสอบถามเพอื่ ให้เกบ็ ขอ้ มลู ได้อย่างครบถว้ น
บรรณานุกรม กรมวชิ าการ. (2545). หลักสตู รการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2545.กรุงเทพฯ: องค์การรับสง่ สินคา้ และ พัสดภุ ัณฑ์. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2552). หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ:ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทยจ ากดั กวินนาถ วังธะพนั ธุ์. (2557). การส ารวจเจตคตทิ ่ีมผี ลตอ่ การเรียนรายวชิ าสังคมศกึ ษาในดา้ นวนิ ยั ขยัน อดทนใฝ่เรยี นของนกั ศึกษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3. กรงุ เทพฯ: โรงเรียนเซนตโ์ ยเซฟ บางนา. ฉตั รชัย ปนั ชาติ. (2544). เจตคตติ อ่ การเรียนการสอนวชิ าสังคมศกึ ษาของนักศกึ ษาช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 3ใน โรงเรยี นเอกชน จังหวดั เชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาศึกษาศาสตร์มหาบณั ฑิ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เฉลมิ นิติเขตตป์ รชี า. (2545). เทคนคิ การสอนประวตั ิศาสตร์. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพาณชิ . ชาญวทิ ย์ เกษตรศิริ. (2540). การท่องเทีย่ วทางวัฒนธรรม. กรงุ เทพฯ: สานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย. ชชู พี ออ่ นโคกสงู . (2550). จิตวทิ ยศพั ท์. กรงุ เทพฯ: ภาควชิ าการแนะแนวและจติ วิทยาการศึกษา คณะ ศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. ณชพล สมณา. (2552). การวดั เจตคตทิ ่มี ตี อ่ วิชาสงั คมศกึ ษาของนักศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ของ นักศกึ ษาโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี. กรุงเทพฯ: โรงเรียนอสั สัมชัญธนบุรี. ธนวัฒน์ ค าเบา้ เมอื ง. (2553). การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ แรงจูงใจใฝส่ ัมฤทธิ์ ตอ่ การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรอื่ ง รูปส่ีเหลีย่ ม ชั้น ประถมศึกษาปที ี่ 6 ระหวา่ ง การจดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน (PBL) กบั การจดั กิจกรรมการเรียนรแู้ บบปกติ. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาการศกึ ษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. ธรี วฒุ ิ เอกะกลุ . (2549). การวดั เจตคติ. อบุ ลราชธานี: วทิ ยาออฟเซท. นันทา ส้รู กั ษา. (2544). เอกสารประกอบการสอนวิชาจติ วิทยาทั่วไป. กรงุ เทพฯ: ภาควชิ าการ แนะแนวและ จติ วิทยาการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ปรยี าพร วงศอ์ นตุ รโรจน.์ (2546). จิตวทิ ยาการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: ศนู ย์ส่ือเสรมิ กรุงเทพ. ราชบณั ฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. พิมพค์ ร้งั ท่ี 1. กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน. ล้วน สายยศ และ องั คณา สายยศ. (2543). การวดั ด้านจติ พิสยั .กรงุ เทพฯ: สุวรี ิยสาสน์ .
ลักขณา สรวิ ัฒน์. (2549). จิตวิทยาในชวี ิตประจ าวัน. พมิ พ์ครงั ้ ท่ี 2. กรุงเทพฯ: โอเดยี นสโตร์. วฒั นา รัตนพ รหม. (2548). การเรยี นรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. ศึกษาศาสตรป์ รทิ ศั น์. 1(1) : 33-45 ; มกราคม- เมษายน, 2548. วงเดือน นาราสจั จ์. (2549) ประวัตศิ าสตร์: วธิ ีการและพัฒนาการ. วทิ ยานพิ นธป์ ริญญา การศึกษา มหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ. วรรณด์ ี แสงประทปี ทอง. (2544). เจตคติ: แนวคดิ วธิ กี ารวดั และมาตราวดั . นนทบุรี: โรงพิมพ์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช. วันเพญ็ วรรณโกมล. (2544). การสอนสงั คมศกึ ษาในระดับมัธยมศกึ ษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ราชภฎั ธนบรุ ี. วิเชียร สวุ รรณโชคอิสาน. (2559). การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นการคดิ วิเคราะหแ์ ละเจต คตติ อ่ การเรียนวชิ าประวตั ศิ าสตร์ของนักศกึ ษาชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 โดยการจดั กิจกรรม การเรียนรแู้ บบ ปัญหาเป็นฐานและการจดั กิจกรรมการเรียนรแู้ บบปกติ. วทิ ยานพิ นธ์ ปรญิ ญาศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. สมนึก ภัททยิ ะธน.ี (2551). การวัดผลการศึกษา. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาศกึ ษาศาสตรม์ หาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. สมุ นทิพย์ บุญสมบัติ. (2533). ความหมายและความส าคัญของวชิ าสงั คมศกึ ษาเอกสารการสอนชุด วชิ าการ สอนสงั คมศกึ ษา หนว่ ยที่ 1-7. (พมิ พค์ รง้ั ที่3). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมธิราช. สรุ างค์ โค้วตระกูล. (2550). จิตวทิ ยาการศกึ ษา. พมิ พ์ครั้งที่ 8. กรงุ เทพฯ: ส านกั พมิ พจ์ ุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. อุทุมพร จามรมาน. (2548). การพัฒนาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น. นนทบุรี : มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช. Newton, H. B. (2001). Neurologic complications of scuba diving. Am Fam Physic
ภาคผนวก
Search
Read the Text Version
- 1 - 43
Pages: