จดหมายข่าวชุมชนคนรักสุขภาพ ฉบบั ปที ่ี 17 ฉบบั ที่ 233 มีนาคม 2564 20 ปี เสน้ ทางสร้างสุขภาวะ แจก สร้างโลกดว้ ยความเทา่ เทยี ม รจู้ ักความน่ากลวั ไวรัสกลายพนั ธุ์ ฟรี! สาํ นักงานกองทุนสนับสนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.)
การเกดิ ขึ้นของ สสส. และผลงานสร้างเสริมสุขภาพทส่ี ่ังสมมาตลอดเกือบ 20 ปี ทาำ ให้องคก์ ารอนามัยโลก ภาคพน้ื ตา่ ง ๆ เหน็ ถงึ ความสาำ คญั ของการมอี งคก์ รสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ จงึ มงุ่ สนบั สนนุ และผลกั ดนั ใหป้ ระเทศสมาชกิ กอ่ ตง้ั กองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ ตามอยา่ ง สสส. ไทย โดยให้ สสส. ไทย และหนว่ ยงานสขุ ภาพของไทย เปน็ พเ่ี ลย้ี ง ช่วยในการกอ่ ตัง้ องค์กร ใหค้ าำ แนะนาำ ในการกำาหนดหลักเกณฑก์ ารทำางาน และแบง่ ปนั ประสบการณก์ ารทาำ งานทสี่ าำ คญั เชน่ มาตรการทางภาษี กฎหมายคมุ้ ครองสขุ ภาพจากบหุ ร่ี การรณรงคง์ ดเหลา้ เขา้ พรรษา การสรา้ งสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื ตอ่ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ ความปลอดภัยทางถนน ขณะน้ีมีประเทศท่ีสามารถก่อต้ังกองทุนสร้างเสริมสุขภาพสำาเร็จจากความช่วยเหลือของ สสส. ไทย แล้วคอื มาเลเซีย ตองก้า มองโกเลีย เกาหลีใต้ เวยี ดนาม และ สปป.ลาว “สสส. อยใู่ นความสนใจของแวดวงสขุ ภาพทว่ั โลกมาโดยตลอดตง้ั แตก่ อ่ ตง้ั ขน้ึ มา การไดร บั รางวลั เนลสนั แมนเดลา จากองคก ารอนามยั โลก ในฐานะผนู าํ การสรา งเสรมิ สขุ ภาพในครง้ั น้ี ถอื เปน ครงั้ แรก ของไทยที่ไดรับรางวัลที่สําคัญ ไม่ใช่แค่ความภาคภูมิใจของ สสส. แต่เปนรางวัลเกียรติยศของคน ทง้ั ประเทศ ทร่ี ว่ มกนั สนบั สนนุ งานสรา งเสรมิ สขุ ภาพใหแ ตกหนอ่ ออกผลกระจายทว่ั ประเทศ ลงลกึ ถงึ ระดับชมุ ชนทองถ่ิน ใหม โี อกาสเขาถึงการมีสขุ ภาพทดี่ ี ซง่ึ ผลความสาํ เรจ็ ของการทํางานของ สสส. จะส่งแรงกระเพ่ือมไปถึงระดับนานาชาติสนับสนุนใหประเทศต่าง ๆ ผลักดันใหเกิดกองทุน สนบั สนนุ การสรา งเสริมสุขภาพไดม ากประเทศขึ้น” ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกจิ เลขาธกิ ารมลู นิธิรณรงค์ไมส่ ูบบหุ ร่ี และอดีตเลขาธิการเครือข่ายกองทุนสรา้ งเสริม สขุ ภาพนานาชาติ (เครือข่าย สสส. โลก) ปี 2554-2556 องคก์ ารอนามยั โลก ยินดีทไี่ ด้ร่วมงาน กับ สสส. เราทํางานภายใต้ แนวคดิ เดยี วกันท่ีวา่ การสร้างเสริมสขุ ภาพ คอื หนง่ึ ในรากฐาน สาํ คัญของ การสาธารณสุข ดร.แดเนยี ล เคอรเทซ ผูแ้ ทนองค์การอนามัยโลก ประจำาประเทศไทย ท่มี า : องคก์ ารอนามัยโลก ประกาศผลรางวัล Nelson Mandela for Health Promotion ให้แก่ สสส. ในฐานะองคก์ รทม่ี ผี ลงานสำาคญั ในการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ ซ่งึ เป็นครัง้ แรกของประเทศไทยทไี่ ดร้ ับรางวัลทรงเกียรตนิ ้ี ขอแสดงความยนิ ดกี ับผ้บู รหิ าร และบคุ ลากรทกุ ทา่ น ทไ่ี ดน้ าำ ความสาำ เรจ็ ระดบั นานาชาติ มาสู่ สสส. และประเทศไทย นพ.สุภกร บวั สาย ผจู้ ัดการกองทนุ เพือ่ ความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) และอดตี ผู้จดั การกองทุนสนับสนนุ การสรา้ งเสริมสุขภาพ (สสส.) ทม่ี า : รางวัล Nelson Mandela Award for Health Promotion 2021 ขององคก์ ารอนามัยโลก โดย สสส. จะเขา้ รบั มอบโล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ ในการประชมุ สมัชชาอนามัยโลก สมยั ท่ี 74 ในเดอื นพฤษภาคม 2564 นติ ยสารสรา้ งสุข 9
สุขสร้างได้ คนพิการมงี านท�ำ “ได้อะไรมากกว่าการจ้างงาน” ค วามเทา่ เทยี มเป็นส่งิ ทท่ี กุ คนในสังคมควรไดร้ ับ คนพกิ ารเปน็ กลมุ่ เปราะบางทมี่ กั เขา้ ไมถ่ งึ โอกาสและถกู ละเลยเพกิ เฉยจากสงั คม ท้ังที่หากเข้าถึงโอกาสในการดำ�เนินชีวิตได้เท่ากับผู้อ่ืน ก็สามารถแสดงศักยภาพ ออกมาเพอ่ื พฒั นาตนเองและสงั คมไดไ้ มแ่ ตกตา่ งกนั การท�ำ ใหส้ งั คมเกดิ ความเทา่ เทยี ม ถอื เปน็ วาระส�ำ คญั อยา่ งหนง่ึ ทต่ี อ้ งท�ำ ใหเ้ กดิ ขน้ึ จรงิ ซง่ึ ทผ่ี า่ นมา สสส. ไดท้ �ำ โครงการ ในหลากหลายมิติเพอื่ ทำ�ให้คนทุกกลุม่ เขา้ ถึงโอกาสการมสี ุขภาวะทด่ี ี คนพิการที่ได้รบั การออกบัตรประจำ�ตวั คนพกิ ารปี 2562 มจี ำ�นวน 2,015,385 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 2.89 ของประชากรทงั้ ประเทศ คนพิการสูงอายุคิดเป็นร้อยละ 53.67 ของคนพกิ ารทั้งหมด มีคนพิการท่ีอยู่ในวัยทำ�งาน คือ อายุ 15-59 ปีมีจำ�นวน 850,270 คน โดยคนพิการที่สามารถ ประกอบอาชพี ได้ แต่ไมไ่ ดป้ ระกอบอาชีพหรือเป็นคนพิการทีไ่ มม่ ีงานทำ� คิดเป็นรอ้ ยละ 59.20 10 นติ ยสารสรา้ งสขุ
จากการวิเคราะห์ปัญหาพบว่า คนพิการจำ�นวนมากติดปัญหาด้านการศึกษา ไม่สามารถเข้าถึง การศึกษาระดับสูงข้นึ ได้ เนอื่ งมาจากหลายปจั จัย ทั้งเรื่องเศรษฐสถานะ การเดินทาง ทำ�ใหส้ ว่ นใหญ่ สามารถเรียนได้เพียงช้ันประถมศึกษา ทำ�ให้กระทบไปถึงเร่ืองของการเลือกอาชีพ การหาเล้ยี งชีพ แม้ว่าภาครัฐจะมีนโยบายมาขับเคล่อื นเพ่อื กระต้นุ ให้เกิดการจ้างงาน คนพกิ าร ตามพระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ ารมาตรา 33-35 แต่ก็ยังมีช่องว่างและขาดการปฏิบัติได้จริง ผู้ประกอบการใช้ช่องว่างที่มีเพ่ือหลีกเล่ียง การจ้างงานคนพิการ เพราะไม่เข้าใจและมองวา่ เป็นเรอื่ งยงุ่ ยากในทางปฏบิ ตั ิ หน่ึงในเหตุผลสำ�คัญท่ี องค์การอนามัยโลก (WHO) ให้เหตุผลว่า สสส. ควรได้รบั รางวลั เนลสันแมนเดลา ดา้ นการส่งเสรมิ สุขภาพ (Nelson Mandela Award for Health Promotion) มาจากการสนับสนุนให้เกิดการ ปรับเปลี่ยนบรรทัดฐานทางสังคมไปสู่สังคมท่ีมีสุขภาวะและเท่าเทียม โดยเฉพาะการเตรียมความพร้อม และการจ้างงานคนพิการท่ีเป็นลูกจ้าง อยา่ งเป็นธรรม เ สน้ ทางการท�ำ งาน เพอื่ นำ�ไปสู่การปรบั เปลย่ี นโครงสรา้ งทางสังคม ปี 2556 สสส. รว่ มกบั มลู นธิ นิ วตั กรรมทางสงั คม ไดพ้ ฒั นา ปี 2561-2563 คณุ ภาพชวี ิตของคนพิการ ท่มี ีงานทำ� พบว่า มกี ารเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดขี ้ึน นวัตกรรมการจ้างงานคนพิการเชิงสังคม เพื่อเป็นทางเลือกใหม่ ในการจา้ งงานคนพกิ าร อย่างเห็นไดช้ ดั ใน 3 ด้าน คอื ปี 2557-2559 เกิดการจ้างงานคนพิการตามกฎหมาย ดา้ นสขุ ภาพ : คนพกิ ารมสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพ รวม 32,617คน เพม่ิ ขน้ึ จากปี 2556 ซง่ึ เปน็ ปตี ง้ั ตน้ จ�ำ นวน 4,119 คน จิตท่ีดีขึ้น ให้ความสำ�คัญกับการดูแลสุขอนามัย โดยคนพกิ ารมงี านท�ำ ภายใตก้ ารประสานงานของโครงการ ณ วนั ท่ี 29 กุมภาพันธ์ 2559 รวม 1,287 คน คิดเป็นจำ�นวนเงินที่สร้างรายได้ ของตนเองเพ่ิมข้ึน การทำ�งานสามารถทำ�ให้เกิดการ ให้กับคนพิการมลู คา่ ไมน่ อ้ ยกวา่ 140,926,500 บาท ปี 2558-2560 พฒั นารปู แบบการจา้ งงานคนพกิ ารภายใต้ ออกก�ำ ลงั กายไปในตวั สง่ ผลใหล้ ดการใชบ้ รกิ ารสขุ ภาพ การสนบั สนนุ จากสถานประกอบการใน 2 รปู แบบ คอื 1.การจา้ งงาน คนพิการเพื่อท�ำ งานสาธารณประโยชน์ในชมุ ชน และ 2. การสง่ เสริม ในระบบ และลดปจั จัยเสยี่ งทีท่ ำ�ให้เกดิ โรค การประกอบอาชีพอิสระของคนพิการและครอบครัวตามมาตรา 33 ดา้ นเศรษฐกจิ : คนพกิ ารมรี ายไดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ ปลี ะ และ 35 ถือเป็นจุดเปล่ียนสำ�คัญของการเปิดและกระจายโอกาสให้ 109,500 บาทต่อคน สามารถพึ่งพาตัวเองได้และ คนพกิ ารมงี านท�ำ จนพฒั นาเปน็ ตน้ แบบทด่ี ี สรา้ งอาชพี ใหก้ บั คนพกิ าร ได้มากกว่า 6,000 คน มีการประเมินผลลัพธ์ทางสังคม (SROI) สามารถนำ�รายได้ไปจุนเจือครอบครัว มีเหลือเก็บ ของคนพิการทีไ่ ด้รบั การจา้ งงานเชิงสงั คมว่า “ทุก 1 บาท กอ่ ใหเ้ กดิ ผลตอบแทนทางสังคมจ�ำ นวน 10.94 บาท” ช่วยเปล่ยี นการส่งเงนิ และมีการวางแผนการจัดการทางการเงิน เข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการไปเป็นรายได้ ดา้ นสงั คม : คนพกิ ารมคี วามภาคภมู ใิ จในตนเอง โดยตรงแกค่ นพกิ ารปลี ะ 700 ล้านบาท ได้รับการยอมรับจากครอบครัวและชุมชน สามารถ ออกมาทำ�กิจกรรมร่วมกับคนในชุมชนและรู้สึกเป็น ส่วนหน่ึงของสังคมมากข้ึน ทำ�ให้คนพิการมีคุณค่า สามารถดำ�รงชีวิตได้อย่างสมศักด์ิศรีแห่งความเป็น มนุษย์และมีส่วนร่วมกับสังคมได้อย่างเสมอภาค และมปี ระสิทธภิ าพ แม้ว่าจะมีการปรับเปล่ียนนโยบาย และสนับสนุนให้เกิดการจ้างงานคนพิการแต่ก็พบว่า บริษัทส่วนใหญ่เลือกส่งเงิน ใหก้ องทนุ สง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ ารมากกวา่ เลอื กจา้ งคนพกิ ารมาท�ำ งาน ทง้ั ทค่ี นพกิ ารในประเทศไทยมปี ระมาณ 5 แสนคนจาก 2 ลา้ นคน ทป่ี ระเมินแล้วมศี กั ยภาพในการท�ำ งานได้ นติ ยสารสรา้ งสุข 11
ปัญหามาจากอะไร? • ฝา่ ยนายจา้ ง ไมร่ วู้ า่ จะไปหาคนพกิ ารทเ่ี หมาะสมกบั งานตวั เองไดท้ ไ่ี หน และบางครง้ั หามาได้คนพิการก็ไม่ชอบงานท่ีเตรียมไว้ให้ หรือไม่สามารถจัดสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน ที่เหมาะสมให้ได้ เช่น ไมม่ ที างลาดส�ำ หรับรถเขน็ ไม่มอี ักษรเบรลล์ หรือไมม่ ลี ่ามภาษามือ • ฝ่ายคนพิการ อ ยากไปทำ�งานแต่ระบบการขนส่งไมเ่ อ้อื อำ�นวย ไมส่ ามารถเดินทาง จากบา้ นไดต้ ามล�ำ พงั หรอื ไปไดแ้ ตต่ อ้ งจา่ ยคา่ แทก็ ซห่ี รอื จา้ งคนพาไป ซง่ึ เปน็ รายจา่ ยทม่ี ากกวา่ เงินเดือนท่ีได้รับ หรือบางคร้ังเดินทางไปทำ�งานได้แต่ไม่ชอบลักษณะงานที่ได้รับมอบหมาย เช่น งานท�ำ ความสะอาด งานรบั โทรศัพท์ หรืองานต้องพบปะผคู้ นจ�ำ นวนมาก รวมถงึ ปญั หา ในการปรบั ตวั เขา้ กบั ผรู้ ว่ มงาน บางครงั้ ตอ้ งแกป้ ญั หาดว้ ยการเลอื กบรษิ ทั หรอื งานทอ่ี นญุ าต ให้ทำ�งานที่บ้านได้ สสส. มกี ระบวนการและบทบาท ในการเขา้ ไปมีสว่ นรว่ ม หนนุ สรา้ งโอกาสคนพิการ พัฒนารูปแบบการจ้างงานคนพิการในชุมชนและองค์กรสาธารณะประโยชน์ โดยใช้มาตรา 33 และ 35 ชว่ ยให้คนพกิ ารทำ�งานใกลบ้ า้ น และขบั เคล่ือนตอ่ เนือ่ งเปน็ การ จ้างงานคนพิการเชิงสังคม สร้างโอกาสการมีงานทำ�ให้กับคนพิการได้อย่างกว้างขวางและ สอดคล้องกับบริบทชีวิตของคนพิการส่วนใหญ่ของประเทศ สร้างโอกาสทำ�ให้คนพิการ สามารถมรี ายได้และนำ�ไปสู่การพงึ่ พาตนเองได้ เชอ่ื มประสานใหส้ ถานประกอบการทเ่ี คยสง่ เงนิ เขา้ กองทนุ ส่งเสริมสนับสนุนภาคีพื้นที่จำ�นวนกว่า เปล่ียนมาจ้างงานคนพิการเชิงสังคมและสนับสนุนทุนประกอบอาชีพ 1,300 หน่วยทั่วประเทศ ครอบคลุมหน่วยงาน เป็นจุดต้ังต้นสำ�คัญท่ีช่วยดึงภาคธุรกิจหลากหลายให้เข้ามาสานต่อ สาธารณสุข องค์กรการศึกษา องค์กรปกครองส่วน ความร่วมมือ เพื่อยกระดับไปสู่การขยายการจ้างงานกระแสหลัก ท้องถิ่น และเครือข่ายที่มีภารกิจด้านคนพิการที่ ตอ่ ไป ณ ปจั จบุ นั มสี ถานประกอบการ 342 แหง่ จา้ งงานและสนบั สนนุ หลากหลาย ร่วมขับเคลื่อนเป็นหน่วยจัดการในพ้ืนท่ี อาชีพคนพิการ 3,000 คนอย่างต่อเน่ือง และบูรณาการเชิงนโยบาย (นจพ.) นำ�คนพิการไปช่วยปฏิบัติงาน โดยสถาน- ร่วมกับกระทรวงแรงงาน และกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคง ประกอบการเป็นผู้จ่ายค่าจ้าง ทำ�ให้ นจพ. สามารถให้ ของมนุษย์ สนับสนุนให้เกิดการจ้างงานคนพิการภายใต้นโยบาย บรกิ ารชมุ ชนไดม้ ากขน้ึ หรอื ดขี น้ึ กวา่ เดมิ ในขณะเดยี วกนั “ทางเลือกใหม่ของการจ้างงานคนพิการ” และร่วมกันประกาศความ คนพิการท่ีไปปฏิบัติงานมีโอกาสได้รับการดูแลทาง ร่วมมือและเจตนารมณ์ “สานพลังประชารัฐ สร้างงาน สร้างอาชีพ สขุ ภาพจาก นจพ. อยา่ งสม�่ำ เสมอเปน็ อกี ปจั จยั ชว่ ยใหม้ ี คนพกิ าร 10,000 ต�ำ แหนง่ ” เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหค้ นพกิ ารมงี านท�ำ มรี ายได้ สุขภาพท่ีดีขึ้น อีกท้ังคนพิการท่ีมีศักยภาพเพียงพอ เพียงพอสำ�หรับการดำ�รงชีพ และได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นธรรม สามารถได้รับการพัฒนาให้เป็นนักสร้างเสริมสุขภาวะ มคี ุณภาพชีวิตทด่ี ีขึน้ (นสส.) ขยายการสรา้ งเสริมสุขภาพไปสูค่ นในชมุ ชน 12 นิตยสารสร้างสุข
• ฝา่ ยหนว่ ยงานรฐั เนอ่ื งจากขาดกาำ ลงั คนทาำ งานเชงิ ลกึ กบั กลมุ่ เปา หมาย มขี อ้ ตดิ ขดั ในการบูรณาการความร่วมมือข้ามหน่วยงาน ทำาให้ขับเคลื่อนงานได้ยากและใช้เวลานาน อีกท้ังติดกรอบการทำางานภายใต้กฎระเบียบและแนวปฏิบัติท่ีเคยทำามา ทำาให้ไม่สามารถ สร้างผลลัพธใ์ หม่ได้ • การจ้างงานเชิงสังคม ม.33 หมายถึง นายจ้างเปิดรับสมัครคนพิการมาทำางาน ตามโควตาท่ีมีแต่ไม่ต้องให้เดินทางมาทำางานในสถานประกอบการของตนแต่ให้ไปทำางาน ในองคก์ รสาธารณประโยชนแ์ ทน เชน่ โรงเรยี น โรงพยาบาล ฯลฯ โดยคนพกิ ารไดร้ บั สทิ ธปิ ระโยชน์ เงินเดือน สวัสดิการ โบนัส ทุกอย่างเหมือนพนักงานทั่วไปของบริษัท ส่วนนายจ้างก็ได้สิทธิ ลดภาษีเพม่ิ เปน็ 2 เทา่ แทน •การจ้างงานเชิงสังคม ม.35 เป็นการจ้างเหมาให้คนพิการไปทำางานในองค์กร สาธารณะประโยชนท์ เ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ สงั คม ผา่ นการจา้ งเหมาตามอตั ราคา่ แรงขน้ั ตาำ่ ในแตล่ ะปี ซึ่งป็นจำานวนตัวเลขเทา่ กบั ท่ีจ่ายเข้ากองทนุ คนพิการ คนพกิ ารทบี่ รรลุนิตภิ าวะ และผูด้ แู ลคนพกิ ารตามกฎหมาย สามารถกู้ยมื เงนิ ทุนประกอบอาชีพหรอื ขยายกจิ การ จากกองทนุ สง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ าร โดยการใหบ้ รกิ ารกยู้ มื เงนิ เปน็ การบรกิ าร คนพิการ และผู้ดูแลคนพิการ เพื่อเป็นทุนประกอบอาชีพหรือขยายกิจการ รายบุคคล รายละไม่เกิน 60,000 บาท รายกลุ่ม กลมุ่ ละไมเ่ กนิ 1 ลา้ นบาท ผ่อนชำาระภายในระยะเวลาไม่เกิน 5 ป โดยไม่คิดดอกเบ้ีย ทง้ั น้ี หากมผี ปู้ ระสงคจ์ ะกยู้ มื เงนิ เกนิ กวา่ วงเงนิ ทก่ี าำ หนด ใหม้ กี ารพจิ ารณาเปน็ ราย ๆ ไป โดยไมเ่ กนิ 120,000 บาท สสส. โดยสำานักสนับสนุนสุขภาวะประชากรกลุ่มเฉพาะ ทำางานส่งเสริมศักยภาพ คนพิการครอบคลุมใน 4 มิติ คือ 1. การส่งเสริมสุขภาพ 2. ด้านเศรษฐกิจ 3. สังคม และการเรยี นรู้ และ 4. สภาพแวดลอ้ มบ รบิ ททม่ี ตี อ่ การทาำ งานของคนพกิ ารคอื งานทค่ี นพกิ ารทาำ เป็นงานที่มีคุณค่า (Decent work) ทำาแล้วมีความสุขเหมาะสมกับตัวของคนพิการ ทำาแล้ว เกิดความภาคภูมิใจ มีศักดิ์ศรี และแสดงให้เห็นถึงพลังในตนเอง และนำาพลังน้ีไปพัฒนา ชุมชน/สังคมไดอ้ ยา่ งเทา่ เทียม สิ่งท่ี สสส. ทำาในวันน้ีเป็นการเปิดศักยภาพในการทำางานของคนพิการ ท่ีมีข้อจำากัด ในดา้ นตา่ ง ๆ การทาำ งานจะเป็นการเสรมิ สร้างความม่นั ใจใหก้ ับคนพิการวา่ คนพิการมอี าชพี สามารถเลย้ี งดูตนเองและครอบครัวไดโ ้ ดยไม่เป็นภาระของคนอื่น นางภรณ ี ภูป่ ระเสรฐิ ผู้อาำ นวยการสำานักสนับสนุนสุขภาวะประชากรกลุม่ เฉพาะ สสส. 20 Big Changes “คนพกิ ารมงี านทาำ ” เปน็ 1 ใน 20 Big Changes จากผลการดาำ เนนิ งานตลอด 20 ปี ของ สสส. ทม่ี งุ่ เนน้ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทางสขุ ภาวะทง้ั 4 มติ อิ ยา่ งยง่ั ยนื โดยมพี ลงั ความรว่ มมอื จากภาคเี ครอื ขา่ ยหลากหลายกลมุ่ รว่ มคดิ รว่ มทาำ รว่ มสรา้ ง จนเกดิ เปน็ ผลงานทส่ี รา้ งสรรค์ ทง้ั หมดน้ี มีจดุ ม่งุ หมายสงู สุดเพ่อื สรา้ งสงั คมไทยใหเ้ ป็นสงั คมสุขภาวะท่ยี ั่งยืน นติ ยสารสรา้ งสขุ 13
คนสรา้ งสุข คนพิการต้องมีงานทํา โอกาสสร้างได้ อภิชาติ การุณกรสกุล ประธานมูลนิธินวัตกรรมทางสังคม และกรรมการผู้อํานวยการ บริษัท เอเซีย พรีซิชั่น จํากัด (มหาชน) (APCS) บรษิ ัทผผู้ ลติ ชิน้ ส่วนโลหะในอุตสาหกรรมยานยนต์ จุดเร่ิมต้นท่ีก้าวเข้ามาทํากิจการเพื่อสังคม เพราะต้องการสร้างโอกาสให้คนพิการ มีงานทํามากข้ึน ได้รับแรงบันดาลใจหลังจาก ได้ร่วมงานกับ สสส. ในโครงการ Happy WorkPlace จงึ เปน็ ทม่ี าของการจดุ ประกาย ขับเคล่ือนงานทางสังคม ส่งเสริมอาชีพ คนพิการรูปแบบ “การจ้างงานเชิงสังคม และสนบั สนนุ การประกอบอาชพี คนพกิ าร” ถือว่ามีหมุดหมายเดียวกันกับ สสส. ที่ ตอ้ งการสรา้ งความเทา่ เทยี มและเสมอภาค ในสงั คมเพื่อคนทกุ กลุ่ม กฎหมายได้เปิดทางให้บริษัทต่าง ๆ จ้างงานคนพิการ เพื่อสิทธิทางภาษี โดยกําหนดว่า หากมีพนักงานตั้งแต่ 100 คนข้ึนไป จะต้องรับคนพิการเข้าทํางานด้วย 1 คน ตามอัตราส่วน 100:1 ตามมาตรา 33 และมาตรา 35 แต่ในทางปฏิบัติสถานประกอบการส่วนใหญ่เลือกใช้วิธี การจ่ายเงินเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพกิ ารเพราะสะดวกกวา่ แต่การจ้างงานคนพิการน้ัน มีอะไรมากกว่าการทํา ตามกฎหมาย ยอ้ นกลบั ไปเมอ่ื ปี 2556 สสส. และ มลู นธิ ิ นวตั กรรมทางสงั คม รว่ มกนั พฒั นา “นวตั กรรมการจา้ งงาน คนพิการเชิงสังคม” เพอ่ื เปน็ ทางเลอื กใหม่ในการจา้ งงาน คนพกิ าร จนในปี 2557 แผนงานพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ าร แบบครบวงจร : สขุ ภาวะจากการทาํ งาน สสส. ไดด้ าํ เนนิ โครงการ นาํ รอ่ งจา้ งงานคนพกิ ารในพน้ื ท/่ี ชมุ ชน จาํ นวน 229 คน โดยสง่ เสรมิ ให้นายจ้างและเจ้าของสถานประกอบการกว่า 20 บริษัทชั้นนํา จ้างงานคนพิการทํางานในพน้ื ท่ี/ชมุ ชน เปน็ ครงั้ แรก 14 นิตยสารสรา้ งสุข
คณะผวู้ จิ ยั จากโรงเรยี นสขุ อนามยั และเวชศาสตร์ “ผลการศึกษาน้ีเป็นหลักฐานท่ีไปยืนยันจำ�นวนผู้เสียชีวิต เขตร้อนแห่งลอนดอน พบว่า อัตราการเสียชีวิตใน ในอังกฤษที่เพ่ิมขึ้นมากตามอัตราการติดเช้ือสายพันธ์ุกลายพันธ์ุ” กลมุ่ ผู้ติดเช้ือไวรัสโคโรนา สายพันธ์ุกลายพันธุ์ที่พบ เฮ็นริก สาลเย นักระบาดวิทยา ผู้เช่ียวชาญด้านโรคติดเชื้อ จาก ในอังกฤษสูงกว่าในกลุ่มที่ติดเช้ือตัวท่ีไม่กลายพันธุ์ มหาวิทยาลัยแห่งเคมบริดจ์ กล่าวถึงผลการวิจัยของทีมโรงเรียน มากถึง 35% อย่างไรก็ตาม ผลวิจัยดังกล่าวยังอยู่ สขุ อนามัยและเวชศาสตรเ์ ขตร้อนแห่งลอนดอน ระหวา่ งการทบทวนวา่ จะตพี มิ พใ์ นวารสารทางการแพทย์ หรือไม่ในตอนนี้ แต่ก็พบการวิจัยของทีมอ่ืน ๆ ที่ช้ีไป ขณะที่ มูกี กล่าวเสริมว่า ผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุอังกฤษ ในทิศทางเดียวกันว่า เชื้อกลายพันธ์ุนี้ ทำ�ให้ผู้ติดเชื้อ เสยี ชวี ติ ในอตั ราที่สูงกวา่ เชอ้ื ไม่กลายพันธ์ุ ท่ีเป็นคนหนุ่มสาว ซ่ึงนับรวมถึงการศึกษาที่มีล่าสุดน้ัน ยังมีจำ�นวน นับต้ังแต่เดือนกันยายนปีที่แล้ว ท่ีมีการตรวจ พบเช้ือ B.1.1.7 ในทางตอนใต้ของประเทศอังกฤษ ไม่มากนัก จึงจำ�เป็นต้องมีการทำ�วิจัยให้มากกว่าน้ีก่อนท่ีจะสามารถ จนเช้ือตัวน้ีแพร่กระจายไปท่ัวสหราชอาณาจักร และ อีกกว่า 30 ประเทศทว่ั โลก นิโคลสั เดวีส์ และทมี วจิ ัย สรปุ ไดอ้ ยา่ งเปน็ ทางการวา่ ไวรสั สายพนั ธอ์ุ งั กฤษนม้ี ผี ลตอ่ อตั ราการตาย จาก โรงเรียนสุขอนามัยและเวชศาสตร์เขตร้อน แหง่ ลอนดอน ไดศ้ กึ ษาและวเิ คราะหข์ อ้ มลู จากผตู้ ดิ เชอ้ื ที่สูงขึน้ ในทกุ กลุ่มอายจุ รงิ ๆ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในกลุม่ ผสู้ ูงอายุ จำ�นวนกว่า 850,000 คน ที่ยืนยันว่าติดเช้ือตั้งแต่ “เชอ้ื กลายพนั ธน์ุ ้ี สรา้ งผลกระทบกบั กลมุ่ ผตู้ ดิ เชอ้ื ทเ่ี ปน็ ผสู้ งู อายุ วนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2563 - วนั ที่ 11 มกราคม 2564 หนักเป็นพิเศษ” มกู ี กล่าว และพบว่าเชื้อสายพันธุ์กลายพันธ์ุอังกฤษนั้น มีความ ดา้ น โทน่ี เบลคลยี ์ นกั ระบาดวทิ ยาจาก มหาวทิ ยาลยั แหง่ เมลเบริ น์ เปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในตำ�แหน่งของหนาม ประเทศออสเตรเลีย กล่าวถึงเรื่องผลกระทบของเชื้อสายพันธุ์อังกฤษ โปรตีน ซ่งึ เปน็ ตำ�แหนง่ ทีเ่ ชื้อไวรัสโคโรนาใชเ้ กาะเซลล์ ตอ่ กลมุ่ ผตู้ ดิ เชอ้ื สงู อายวุ า่ จรงิ ๆ แลว้ กเ็ ปน็ เรอ่ื งทค่ี าดไดอ้ ยแู่ ลว้ เพราะ ของผู้ติดเชื้อ และเป็นจุดท่ีหากร่างกายของคนท่ีได้ รับเช้ือมีภูมิคุ้มกันอยู่แล้ว ไม่ว่าจะจากการฉีดวัคซีน แม้แต่ในการติดเชื้อสายพันธ์ุปกติ อัตราการเสียชีวิตในกลุ่มผู้ติดเชื้อ หรอื จากผลของการตดิ เชอ้ื มากอ่ นหนา้ และรกั ษาหายแลว้ จะสามารถจดั การไมใ่ หเ้ ชอ้ื ทต่ี ดิ ใหมไ่ ปกอ่ อาการเจบ็ ปว่ ย ทเ่ี ปน็ ผูส้ ูงอายนุ น้ั กม็ ักจะสูงกวา่ ในผตู้ ดิ เชือ้ อายนุ อ้ ย ๆ อยู่แล้ว ไดอ้ ีกตอ่ ไป โทน่ี ใหค้ วามเหน็ อกี ดว้ ยวา่ ผลการวจิ ยั ของทมี โรงเรยี นสขุ อนามยั และเวชศาสตรเ์ ขตรอ้ นแหง่ ลอนดอนน้ี สอดคลอ้ งกบั ผลการวจิ ยั เบอ้ื งตน้ นอกจากองคค์ วามรทู้ ว่ี า่ นแ้ี ลว้ ทมี วจิ ยั ยงั ศกึ ษา ตอ่ เนอ่ื งและพบวา่ เชอ้ื กลายพนั ธ์ุ B.1.1.7 ยงั สง่ ผลให้ หลายงานวจิ ยั ทไ่ี ดร้ วบรวมเปน็ รายงาน และไดต้ พี มิ พใ์ นวารสารวชิ าการ อัตราการเสียชีวิตในกลุ่มผู้ติดเชื้อเพิ่มสูงขึ้นกว่าปกติ โดยคณะผู้ให้ค�ำ ปรกึ ษาของรัฐบาลองั กฤษ เก่ียวกับเชอ้ื ไวรสั ทางระบบ ในทกุ กลุ่มอายุอีกด้วย ทางเดนิ หายใจทอ่ี บุ ตั ใิ หม่ (New and Emerging Respiratory Virus Threats Advisory Group) โดยหนึง่ ในผลการวจิ ยั ที่รวบรวมไว้เป็น ผลงานวจิ ยั ของคณะผวู้ จิ ยั จากมหาวทิ ยาลยั อมิ พเี รยี ล คอลเลจ ลอนดอน ทพ่ี บวา่ อตั ราการเสยี ชวี ติ ในกลมุ่ ผตู้ ดิ เชอ้ื สายพนั ธก์ุ ลายพนั ธ์ุ B.1.1.7 นน้ั สงู กวา่ ปกตถิ งึ 36% นติ ยสารสร้างสขุ 17
สุขไรค้ วัน ฝรงั่ เศสต้งั เป้าปนั้ ประชากรยุคปลอดควันบหุ รี่ แอมานแุ อล มาครง ประธานาธบิ ดีฝรง่ั เศส ออกมาประกาศเม่อื วันท่ี 4 กมุ ภาพนั ธ์ ซ่งึ ตรงกบั วนั มะเรง็ โลกว่า จะทุ่มสรรพกําลงั ในการรณรงคต์ อ่ ต้านการสบู บุหรี่ โดยมี ความปรารถนาทจ่ี ะเหน็ ประชากรฝรง่ั เศส ทจ่ี ะมีอายุครบ 20 ปี ในปี พ.ศ. 2573 กลายมาเป็นประชากรรุ่นแรกในประวัติศาสตร์ของฝรั่งเศสท่ีเป็นคนรุ่นปลอด ควันบุหร่ี โดยรัฐบาลตั้งเป้าว่า จะเร่ิมรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่ในประชากร กลมุ่ นกี้ นั อยา่ งเขม้ ขน้ และตอ่ เนอ่ื ง ตง้ั แตท่ พ่ี วกเขายงั อยใู่ นวยั เรยี นกนั อยใู่ นตอนน้ี ทงั้ นี้ ประธานาธิบดฝี รัง่ เศส ได้ใหค้ ํามนั่ ต่อสาธารณะวา่ รฐั บาลจะเพ่มิ งบประมาณ เพอ่ื การรณรงค์ตอ่ ต้านการสูบบหุ รี่ให้อีกถงึ 20% ในชว่ งหา้ ปตี อ่ จากน้ี เหตุผลก็เพราะการสูบบุหรี่น้ันพบว่า เป็นปัยจัยหลักท่ีคร่าชีวิตของชาวฝรั่งเศส ท้ังชายหญิงจากโรคมะเร็ง รัฐบาลตั้งเป้าไว้ชัดเจนว่า เงินอุดหนุนที่จะเพิ่มขึ้นน้ี ต้องนําไปสู่การลดจํานวนผู้เสียชีวิต จากโรคมะเรง็ ในฝรง่ั เศส ให้น้อยลงจากปัจจุบนั ราวๆ 150,000 คนต่อปี เปน็ 100,000 ให้ได้ ฉะนั้นแล้วหากประเทศฝรั่งเศสสามารถลดอัดตราการสูบบุหร่ีได้ตามที่ต้ังเป้าไว้ในกลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ ของฝรง่ั เศสและกลมุ่ อน่ื ๆ รวมกนั ประธานาธบิ ดฝี รง่ั เศสเชอ่ื แนว่ า่ อตั ราการเสยี ชวี ติ จากโรคมะเรง็ ในประเทศ จะตอ้ งลดลงไปอยา่ งนอ้ ยครงึ่ หนึ่ง ในอีก 10 ปีขา้ งหน้านแ้ี นน่ อน รฐั อนิ เดยี นา ผลกั ดนั กฎหมายบงั คบั สแกนบตั รผซู้ อื้ บหุ รที่ กุ ราย ไมใ่ ชแ่ คเ่ พยี งเปน็ การมงุ่ หวงั ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ ดก็ และเยาวชนเขา้ ถงึ บหุ รไ่ี ดเ้ ทา่ นน้ั หากแตเ่ ปน็ การปอ้ งปรามและตรวจจบั พฤตกิ รรมมพี ริ ธุ ของผใู้ หญบ่ างคน ทอ่ี าจเปน็ นกั คา้ บหุ รผ่ี ดิ กฎหมาย ใหแ้ กผ่ เู้ ยาวด์ ว้ ยเชน่ กนั โดยเมอ่ื รา่ งกฎหมายใหมน่ ผ้ี า่ นและมผี ลบงั คบั ใช้ ทกุ ครง้ั ทร่ี า้ นคา้ ปลกี จะคิดเงินค่าสินค้าให้กับลูกค้าซ่ึงมีบุหร่ีรวมอยู่ด้วย ระบบจ่ายเงินจะหยุดและเรียกให้เสียบ บัตรประชาชนเข้าไปคดิ เงิน เพื่อยืนยันอายวุ า่ ผซู้ อ้ื คนน้นั ๆ มอี ายถุ ึงเกณฑใ์ หซ้ ้ือได้เสียก่อน ระบบจงึ จะยอมคดิ เงนิ ต่อให้ ในเมอ่ื ผซู้ อ้ื บหุ รท่ี กุ คนถกู บงั คบั ใหย้ นื ยนั ตวั ตนเชน่ นน้ั แลว้ ทางการกจ็ ะไดอ้ านสิ งสจ์ าก ขอ้ มูลการซอื้ บุหร่ีของคนคนน้นั สามารถดึงไปวเิ คราะหต์ รวจจบั การซ้ือบุหรี่ทผ่ี ดิ ปกติได้ เช่น ซอ้ื เปน็ จาํ นวนมาก ซอ้ื ถ่ี ๆ กจ็ ะถกู สงสยั วา่ เปน็ นกั คา้ บหุ รใ่ี หแ้ กผ่ เู้ ยาวไ์ วก้ อ่ น และจะถกู ตรวจสอบ หาข้อเท็จจริงต่อไป ท้ังนี้ ร่างกฎหมายดังกล่าวไม่เพียงแต่ครอบคลุมผลิตภัณฑ์ยาสูบเท่านั้น หากแต่ยังรวมไปถึงนิโคตินเหลว ทใ่ี ช้กับบุหรี่ไฟฟ้าดว้ ย ดา้ นประธานาธิบดฝี ร่งั เศส แอมานุเอล มาครง ได้ออกมาประกาศเม่ือวนั ที่ 4 กุมภาพนั ธ์ 2564 ซึ่งตรงกบั วันมะเร็งโลกว่า ฝรัง่ เศสต้งั เป้าลดการเสียชวี ิตจากโรคมะเร็งท่ีสามารถปอ้ งกันไดใ้ ห้ได้ 50% ในอีก 10 ปีขา้ งหน้า ซึ่งแนน่ อนวา่ หนึง่ ในมาตรการ ทจี่ ะทาํ คอื การตงั้ เป้าลดการสบู บุหร่ีของประชากรนัน่ เอง 18 นิตยสารสรา้ งสขุ
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: