Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือสื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน

หนังสือสื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน

Description: หนังสือสื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน

Search

Read the Text Version

51 ไวรัส เอน็ พี วี ทำลายแมลงอยา งไร มีค ขอ ไวรัส เอน็ พี วี จะทำใหแมลงเปนโรคและตาย โดยการที่ตวั ออ นของแมลงตอ งกนิ ตอ ไวรสั ที่ปะปนอยูบนใบพืชอาหาร เม่ือไวรสั เขาสูกระเพาะอาหารผลกึ โปรตีน แล ทีห่ อหมุ อนภุ าคของไวรสั จะถกู ยอยสลายโดยน้ำยอยในกระเพาะอาหารของ ใชร แมลงที่มีฤทธิ์เปนดาง อนุภาคไวรัสจะหลุดออกมาและเขาทำลายเซลลกระเพาะอาหาร ลักษณะอาการ โรคเร่ิมตน จากการทห่ี นอนจะลดการกินอาหารลง เม่ือไวรัสไปทำลายเซลลก ระเพาะอาหาร อนุภาคของ ไวรัสขยายพนั ธุทวีจำนวนมากขึน้ แพรก ระจายเขา สภู ายในลำตวั ของแมลง เขา ไปทำลายอวยั วะสวนตา ง ๆ ของแมลง เชน เม็ดเลอื ด ไขมนั กลา มเนอื้ ผนงั ลำตวั เปนตน เมื่อเซลลเหลา น้ีถูกทำลาย การทำงาน ของอวยั วะตางๆ จะเสยี ไป ทำใหหนอนตายในท่สี ดุ เกษ เปน ลกั ษณะอาการของโรคไวรัส เอน็ พี วี เมอ่ื หนอนกนิ ไวรัส เอ็น พี วี เขา ไป 1-2 วนั ผนงั ลำตวั จากสเี ขยี วสดจะมสี ซี ดี จางลง หนอนลดการกินอาหาร การเคลอื่ นไหวชา ลง จนไมเคลือ่ นท่ี ระยะตอ มาผนังลำตวั จะมสี ขี าวขุนหรอื สคี รีม หนอนจะหยุดกนิ อาหารและจะพยายามไตข ้ึนสูบริเวณสว นยอด ของตนพืชมักตายในลักษณะหอยหัวและสวนทองลงเปนรูปตัว “วี” หัวกลับ เมื่อหนอนตายผนังลำตัว จะแตกงา ยและจะเปลย่ี นเปน สดี ำอยา งรวดเรว็ ของเหลวภายในซากหนอนตายเตม็ ไปดว ยผลกึ ของไวรสั

เทคโนโลยีสารชีวภณั ฑ์ ขอดขี องการใชไ วรสั เอ็น พี วี น ทเปพ่ี น บจใุลนินปทรระียเท ศไทย ตีน แมลงศตั รสู รา งความ อง มีความเฉพาะเจาะจงตอ ชนดิ ตสาานรทฆาานแมไดลชงากวา ของแมลงศตั รูพืช จึงปลอดภัย าร ตอแมลงศัตรูธรรมชาติ ง และแมลงท่ีมีประโยชนอนื่ ๆ ๆ าน ใชร วกมำกจดัับศสตัารรเพู คชื มอปี ่ืนอ ๆงกไันด โดยทปี่ ระสทิ ธิภาพ ไมลดลง เเปกนษกตรารกปรรสะาหมยาดัรเถงตนิ อคเาชสื้อใาชรเฆอางแไมดลองีก ผา นการทดสอบแลว วา ปลอดภยั ตอ มนษุ ย สัตว และสภาพแวดลอม จึงไมม พี ษิ ตกคางบนพชื ขอจำกัดของไวรสั เอน็ พี วี 1 ใชเ วลาฟก ตัวกอ นทีห่ นอนจะแสดงอาการโรค และตาย โดยท่วั ไปใชเวลา 2-7 วนั ขึ้นอยูกับขนาดของหนอน และปรมิ าณเช้อื ไวรัสท่กี ินเขาไป 2 ตองทำความเขา ใจและศึกษาวธิ ีการใชอ ยา งถกู ตอ ง จึงจะสามารถนำไปใชอ ยา งไดผล 3 คงอยูบนพืชไดร ะยะเวลาสัน้ เนื่องจากรงั สีอลุ ตราไวโอเลตจากแสงแดด ตัว ผลติ ภัณฑเ พ่ืออาหารปลอดภยั รสั

53 พชื อาหารของหนอนกระทูหอม และหนอนกระทผู กั ĀîĂîÖøąìĎšĀĂöǰǰĒúąĀîĂîÖøąìñšĎ ĆÖǰǰöóĊ ČßĂćĀćøÖüćš Ü×üćÜöćÖǰǰ ÝċÜóïÖćøøąïćéĂ÷ĎŠêúĂéðŘǰǰóïìĈúć÷óČßÿĈÙĆâìćÜđýøþåÖĉÝ öćÖÖüŠćǰǰßîĉéǰǰđߊîǰǰóøĉÖǰǰĀĂöĒéÜǰǰĀĂöĀĆüĔĀâŠǰǰÖøąđìĊ÷öǰǰ ëĆęüòŦÖ÷ćüǰǰëĆęüđ×Ċ÷üǰǰëĆęüđĀúČĂÜǰǰëĆęüúĉÿÜǰǰöąđ×ČĂđìýǰǰĀîŠĂĕöšòøĆęÜǰǰ ךćüēóéĀüćîǰǰñĆÖÖćé×ćüðúĊǰǰÖøąĀúęĈðúĊǰǰÖąĀúęĈéĂÖǰǰòŜć÷ǰǰ ĒêÜēöǰǰđñČĂÖǰǰĒêÜÖüćǰöąøąǰǰĂÜčŠîǰǰÖčĀúćïǰǰéćüđøČĂÜǰǰÖúšü÷ĕöšǰǰ ĒúąñĆÖßĊ อัตราการใชและวธิ กี ารพน ǰĕüøĆÿǰđĂĘîǰóĊǰüĊ ǰóîŠ ìčÖǰǰǰǰüĆîǰǰ óŠîìčÖđǰöǰČĂę ǰóǰüïîĆ øêąĉéïêćŠĂéÖøĆîîč ǰĒǰøÜǰǰÙøÜĚĆ ǰǰ ĀîĂîÖøąìĎĀš Ăö ǰǰöĉúúúĉ êĉ ø óîŠ ĂĆêøćǰǰǰǰöúĉ úĉúĉêø ĀîĂîÖøąìñĎš ÖĆ êĂŠ îĚĈǰǰǰǰúêĉ ø êĂŠ îĚĈǰǰǰǰúĉêø ĀîĂîđÝćąÿöĂòćŜ ÷ǰ ขอมูลโดย 9+$5 n ไว โรงงานตนแบบผลิตไวรัส เอน็ พี วี เพอื่ ควบคุมแมลงศัตรพู ชื ( VNPV ) ǰǰǰ หนวยวจิ ยั ไวรัสวทิ ยาและเทคโนโลยีแอนตบิ อดี ( VAU ) Āú ศนู ยพ นั ธุวิศวกรรมและเทคโนโลยชี วี ภาพแหงชาติ (ไบโอเทค) ýĆê โทรศัพท 0 2564 6700 ตอ 3781, 3811 öñĊ -F ตดิ ตอ สัง่ ซือ้ ÿĈ Āî บริษทั ไบรทอ อรแ กนิค จำกัด โทรศัพท 064 536 3549 บรษิ ทั บไี บโอ จำกดั โทรศพั ท 081 806 1268 ติดตอสัง่ ซ้อื สถาบนั การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยแี หง ชาติ (สวทช.)

เทคโนโลยีสารชวี ภัณฑ์ รายการ Club Farmday The Series ตอน NPV ไวรสั ก�ำ จดั หนอนรา้ ย

55 NPV “รวู้ า่ ใช้เคมี อนั ตราย ไวรสั กำ�จัดหนอนรา้ ย แตเ่ ห็นผลทนั ที” ค�ำตอบทม่ี กั คุ้น แม้จะร้พู ิษภัยของการใช้สารเคมี แต่ดว้ ย “อยากใชช้ วี ภัณฑน์ ะ ปัจจัยแวดล้อมหลายอย่าง ท�ำให้เกษตรกรจ�ำนวนไม่น้อยไม่อาจ แตอ่ อกฤทธิ์ช้า ตัดใจเลิกใช้สารเคมีน้ันได้ แต่ใช่ว่าเม่ือใช้สารเคมีแล้ว จะต้องเป็น ไมท่ นั การณ์” ทาสของสารเคมีตลอดไป ในวนั ทสี่ ารเคมไี มส่ ามารถจดั การ “ศตั รู พชื ” ได้อยู่ “สารชีวภณั ฑ”์ เป็นตัวเลอื กทไ่ี มค่ วรมองข้าม “ไวรัส เอ็นพวี ”ี เป็นหน่ึงในสารชวี ภัณฑท์ ี่ถกู พดู ถึงน้อย แต่ประสทิ ธิภาพ ฉกาจนกั ท่ีสำ� คญั ยังใช้ได้ทงั้ เกษตรเคมีและเกษตรอินทรยี ์อกี ดว้ ย

เทคโนโลยสี ารชีวภัณฑ์ รจู้ ัก “ไวรัสเอ็นพีวี” ไวรัสเอ็นพีวี (Nuclear Polyhedriosis Virus: NPV) เปน็ ไวรัสกล่มุ หนึง่ ท่มี อี ยู่ในธรรมชาตแิ ละทำ� ให้แมลงเกิดโรค มี การทดสอบความปลอดภยั ของไวรสั เอน็ พวี แี ละผลติ เปน็ การคา้ จำ� หนา่ ยทว่ั โลก ไวรสั เอน็ พวี มี คี วามจำ� เพาะตอ่ หนอนแตล่ ะชนดิ ๆ โดยในประเทศไทยพบไวรสั เอ็นพวี จี �ำเพาะหนอน 3 ชนิด ได้แก่ หนอนกระทหู้ อม หนอนกระทผู้ กั และหนอนเจาะสมอฝา้ ย ซึง่ ล้วนแล้วแต่เปน็ ศัตรพู ชื ทท่ี ำ� ลายพชื เศรษฐกจิ ของไทย ไม่วา่ จะเปน็ องุ่น สตรอว์เบอรร์ ี่ แตงโม ดาวเรอื ง ผักตระกลู กะหล�ำ่ ผกั สลัด เป็นต้น คณุ สมั ฤทธ์ิ เกยี ววงษ์ ผจู้ ดั การโรงงานตน้ แบบผลติ ไวรัสเอ็นพีวีเพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืช สวทช. บอกว่า ลกั ษณะการเข้าท�ำลายของไวรัสเอน็ พวี ี จะออกฤทธิ์แบบกนิ ตาย คอื หนอนตอ้ งกนิ เชอื้ ไวรสั เขา้ ไป ในลำ� ไสส้ ว่ นกลางของ หนอนมีสภาพเป็นด่างจะละลายผลึกที่หุ้มตัวไวรัส เชื้อไวรัส จะเริ่มท�ำลายกระเพาะของหนอนและกระจายไปทั่ว ท�ำให้ หนอนติดเชือ้ และตายในที่สุด

57 “ไวรัสเป็นสิ่งมีชีวิต ต้องการเวลาในการเพิ่มจ�ำนวนและออกฤทธิ์ จะท�ำให้หนอนป่วยและตาย ด้วยกลไกแบบนี้ หนอนที่ป่วยจากเช้ือไวรัส การเคล่ือนไหวจะช้า กินอาหารได้น้อยลง และตายในท่ีสุด โดยหนอนจะตายบนยอด ห้อยหัวลง เปน็ ลักษณะตัววี (V Shape) ซ่งึ เปน็ ลักษณะการตายจ�ำเพาะของหนอนท่ีได้รบั เชือ้ ไวรสั เอ็นพวี ี เมื่อลมพดั ตัวหนอนปรแิ ตก ไวรัสจะไหลลงตน้ พชื หนอนตวั อน่ื มากนิ กจ็ ะได้รบั เชื้อตอ่ ไป” ดว้ ยกลไกการทำ� งานตามธรรมชาตนิ ี้ ทำ� ใหเ้ มอื่ พน่ ไวรสั เอน็ พวี แี ลว้ หนอนไมต่ ายทนั ที ซง่ึ เปน็ เรอื่ งทเ่ี กษตรกรตอ้ งเขา้ ใจ และยอมรับได้ จึงจะทำ� ให้เกษตรกรใชไ้ วรัสเอ็นพีวีได้ดว้ ยความม่นั ใจและสบายใจ เคมีใช้ได้ อนิ ทรีย์ใชด้ ี ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งงา่ ยทเี่ กษตรกรจะปรบั เปลย่ี นมาใชส้ าร ชีวภัณฑ์ แต่ก็ไม่ใช่เร่ืองยากท่ีเกษตรกรจะใช้สารชีวภัณฑ์ ควบคกู่ บั สารเคมี คณุ สมั ฤทธิ์ บอกวา่ ไวรสั เอน็ พวี ใี ชไ้ ดก้ บั เกษตรปลอดภยั เกษตรอนิ ทรยี ล์ ว้ น หรอื แมแ้ ตเ่ กษตรเคมี ซึ่งปัญหาการใช้สารเคมีท่ีพบในการท�ำเกษตร คือ ใช้ปริมาณเกินความจ�ำเป็นและพ่นติดต่อหลายคร้ัง ทำ� ใหแ้ มลงหรอื โรคดอื้ ตอ่ สารเคมนี นั้ แตถ่ า้ ใชไ้ วรสั เอน็ พวี ี รว่ มดว้ ย หนอนจะออ่ นแอลง เมอ่ื ใชส้ ารเคมี หนอนจะตาย ดขี น้ึ “สารเคมีท่ีหนอนเคยด้ือ ถ้าใช้ไวรัสเอ็นพีวี น�ำไปก่อน พบว่าสารเคมีที่เคยใช้ไม่ได้ผลก็สามารถใช้ ควบคุมหนอนได้ด้วย ท�ำให้เกษตรกรลดต้นทุนการใช้ สารเคมีและลดความเส่ียงจากที่พ่นเคมีไปแล้ว แทนที่จะ ตอ้ งเพม่ิ อตั ราการใชส้ ารเคมี ก็ใหส้ ลบั มาใช้ไวรสั เอน็ พวี ”ี ส�ำหรบั การท�ำเกษตรอินทรียน์ น้ั คณุ สัมฤทธิ์ บอกว่า ไวรสั เอ็นพวี คี ือค�ำตอบของคนทำ� เกษตรอนิ ทรีย์ และมน่ั ใจทีจ่ ะ ใชไ้ วรสั เอน็ พวี ไี ด้ เพราะสหพนั ธเ์ กษตรอนิ ทรยี น์ านาชาติ (International Federation of Organic Agriculture Movement; IFOAM) อนญุ าตใหใ้ ชไ้ วรสั เอน็ พวี ใี นโปรแกรมควบคมุ แมลงศตั รพู ชื ได้ แตม่ เี งอ่ื นไขวา่ ผจู้ ำ� หนา่ ยตอ้ งขอการรบั รองจาก IFOAM หรือหนว่ ยงานมาตรฐานในประเทศน้ันๆ รู้เขา รเู้ รา วธิ กี ารใชไ้ วรสั เอน็ พวี ไี มแ่ ตกตา่ งจากการใชส้ ารควบคมุ ศตั รพู ชื ทวั่ ไป คอื ผสมนำ้� แลว้ ฉดี พน่ แตก่ ารใชใ้ หไ้ ดป้ ระสทิ ธภิ าพ ยงั มเี ทคนคิ วธิ แี ละความรทู้ เ่ี กษตรกรตอ้ งใสใ่ จ ซง่ึ คณุ สมั ฤทธบิ์ อกวา่ เกษตรกรตอ้ งรจู้ กั ชนดิ ของหนอน เพอ่ื เลอื กใชไ้ วรสั เอน็ พวี ี ใหถ้ ูกกับหนอน และตอ้ งประเมนิ ความรนุ แรงของหนอนที่เขา้ ทำ� ลายพชื เพ่อื จะไดใ้ ชไ้ วรสั เอน็ พวี ใี นปริมาณท่ีเหมาะสม “ต้องดูว่าหนอนกัดกินระยะไหน น้อย ปานกลาง หรือรุนแรง ถ้าน้อยก็ใช้ 10 ซีซี/น้�ำ 20 ลิตร ถ้ารุนแรงต้องใช้ 20 ซีซี/น้�ำ 20 ลิตร ส่วนการฉดึ พน่ ควรฉีดหลังบ่ายสามโมง เพอ่ื หลกี เลี่ยงแสงยวู ที จ่ี ะส่งผลตอ่ การท�ำลายไวรสั ผสมสาร จับใบเพ่ือให้ไวรัสเอ็นพีวีเกาะอยู่บนใบพืช การใช้หัวสเปรย์ฝอยท�ำให้ได้ละอองมากกว่า ไวรัสเอ็นพีวีเกาะติดบนใบได้ดีกว่า สเปรยห์ วั ใหญ่”

เทคโนโลยสี ารชวี ภณั ฑ์ บทพิสูจน์ เมอ่ื สารเคมีเอาไมอ่ ยู่ ไวรสั เอ็นพวี ชี ว่ ยได้ ในวนั ท่ีแปลงปลูกหอมแบง่ กว่า 10 ไร่ในอำ� เภอ หนองใหญ่ จ.ชลบุรี กลายเป็นอาหารช้ันเลิศให้กับเหล่า “หนอนกระทหู้ อม” สารเคมชี นดิ ไหน แรงมากเทา่ ไรกไ็ ม่ สามารถจัดการศัตรูพืชตัวฉกาจน้ีได้ คุณวิชัย สวัสดี เกษตรกรเจา้ ของแปลงไดค้ น้ ควา้ หาขอ้ มลู ผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ และพบทางออกก�ำจัดหนอนร้ายน้ี “บ้านผมปลูกหอมมา 20 กว่าปี ตั้งแต่รุ่นพ่อ รนุ่ แม่ ใชส้ ารเคมมี าตลอด จนระยะหลงั หนอนระบาดหนกั สารเคมีก็เอาไม่อยู่ จนมาเจอข้อมูลว่าไวรัสเอ็นพีวี ช่วยได้” คุณวิชัยไม่รอช้าค้นหาแหล่งจ�ำหน่ายไวรัสเอ็นพีวี จนได้เข้ามาพูดคุยกับเจ้าหน้าท่ีโรงงานต้นแบบผลิตไวรัสเอ็นพีวี เพอ่ื ควบคมุ แมลงศตั รูพชื สวทช. และกลับไปพรอ้ มกบั ขวดไวรัสเอน็ พวี ี “ผมมองว่าผลิตภัณฑ์ทีม่ าจากกระทรวงวทิ ยาศาสตร์ฯ น่าจะดี พอไปคุยกบั เจ้าหนา้ ท่ีกท็ �ำให้มัน่ ใจขึน้ ตอนทเี่ อามา ฉีดครั้งแรกเป็นช่วงที่หนอนระบาดแล้ว อยู่ในระยะหนอนเต็มวัย ก็ยังไม่เห็นผลชัดเจน แต่ในรอบการผลิตใหม่ เห็นผลชัดเจน มาก หนอนกระท้หู อมน้อยลง” คุณวิชยั ใช้ไวรัสเอน็ พีวคี วบคุมหนอนกระท้หู อมต้งั แตห่ อมอายุได้ 11 วัน หลังจากนัน้ ฉีดซ้ำ� อาทติ ย์ละครงั้ แตล่ ะแปลง ฉดี ไม่เกิน 3 คร้งั ท�ำให้สามารถก�ำจดั หนอนกระทหู้ อมไดช้ ะงกั ดังทีค่ ุณวชิ ัยบอกวา่ “หายไปและแทบจะไม่มเี ลย” ปจั จบุ นั คุณวิชัยใช้ไวรสั เอน็ พวี ีกำ� จดั หนอนกระทู้หอมมากวา่ 3 ปี คณุ วิชัยบอกวา่ ตอนน้ีมัน่ ใจวา่ ไวรสั เอน็ พีวีชว่ ยได้ ใช้ แลว้ ได้ผล แมว้ ่าจะเห็นผลชา้ กว่าเคมี แตห่ นอนไม่ดอื้ ยาและยังปลอดภยั กบั ผ้ใู ช้ดว้ ย ตดิ ตอ่ สงั่ ซ้ือไวรัสเอ็นพีวี ได้ที่ โรงงานตน้ แบบผลิตไวรสั เอน็ พวี ีเพ่อื ควบคุมแมลงศตั รพู ืช ส�ำนักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โทรศัพท์ 0 2564 6700 ตอ่ 3781 บริษทั ไบรทอ์ อร์แกนิค จำ� กัด 114/146 หมู่ 10 ต.วัดชลอ อ.บางกรวย จ.นนทบรุ ี 11130 โทรศัพท์ 064 5363549 บริษทั บไี บโอ จ�ำกดั 106/8 ซอยลาดพรา้ ว 35 ถนนลาดพรา้ ว เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศพั ท์ 081 8061268

59 เทคโนโลยี ดา้ นสัตว์ ชันโรง อาหารหมกั โค ไรนำ้� นางฟา้ หนอนแม่โจ้ ปลาไหลนา 59

เทคโนโลยดี า้ นสัตว์ ชนั โรง แมลงผสมเกสรพชื ชัน้ ยอด ชันโรง (Stingless bee) เปนแมลงผสมเกสรจำพวกผึ้งชนิดหนึ่งไมมีเหล็กใน ชนั โรงเปน แมลงผสมเกสรประจำถน่ิ ทว่ั โลกพบชนั โรงมากกวา 400 ชนดิ ในประเทศไทย พบชนั โรง 37 ชนดิ เกษตรกรนยิ มเลย้ี งชนั โรงเพอ� เปน แมลงผสมเกสรในสวนผลไม พชื ผกั เชน เงาะ ลน้ิ จ่ี ลำไย มะพรา ว สม โอ พรกิ แตงกวา ฟก ทอง เปน ตน เนอ� งจาก ระยะบนิ หากนิ ไมไ กล หากเลย้ี งในสวนทเ่ี ปน เกษตรอนิ ทรยี  นำ้ ผง้ึ ชนั โรงท่ีไดก จ็ ะเปน นำ้ ผึง้ อนิ ทรยี ดวยเชน กัน ชันโรงชว ยใหอตั ราการตดิ ผลเพมิ่ ข้นึ 80-90% ชวยผสมเกสรดอกไมพ ืชเศรษฐกิจที่บานอยูในรศั มหี ากนิ ไดเกือบทกุ ชนิด ชนั โรงบนิ ออกหาอาหาร เก็บเกสรและนำ้ ตอ ยในรศั มปี ระมาณ 300 เมตร ชันโรงไมม พี ฤติกรรมทงิ้ รัง เลย้ี งชนั โรงไดท ง้ั ในรปู แบบอยกู ับทหี่ รอื เคลอ� นยายไปตามแหลงอาหาร ประเภทของชันโรงในประเทศไทย ¶ÇŒ ¹Óé ¼§Öé 䢹‹ Ò§¾ÞÒ 1. ชันโรงปา เชน ชนั โรงสริ ินธร ¶ÇŒ Âà¡Êà (T. sirindhronae (Michener and Boongird)) เปนตน à«ÅŪ ѹâç 2. ชันโรงกึ่งปากึ่งบาน เชน ¹Òª§¾¹Ñ âÞÃÒ§ ชันโรงใตดนิ (T. collina (Smith)) ชันโรงญ่ีปนุ (T. hirashimai (Sakagami)) ªÑ¹âç§Ò¹ 3. ชันโรงบานหรือผึ้งจิ๋ว เชน ชันโรงหลงั ลาย (T. fuscobalteata (Cameron)) ชนั โรงขนเงนิ (T. pagdeni (Schwarz)) ชนั โรงรงุ อรณุ (T. laeviceps (Smith)) ชนั โรงเปน แมลงสังคมแทจ ริง แบง หนา ทที่ ำงานตามวรรณะ 1. วรรณะนางพญา (Queen caste) วางไขแ ละควบคมุ รงั 2. วรรณะชันโรงงาน (Worker caste) ทำงานทุกอยางในรงั และนอกรัง ออกหาอาหาร เก็บเกสร นำ้ หวาน ยางไม 3. วรรณะชันโรงตัวผู (Male caste) ผสมพนั ธกุ บั นางพญาพรหมจรรย วงจรชีวิต 6 – 7 วนั 6 – 7 วนั 26 วนั ไขชนั โรง หนอน ดักแด ตัวเตม็ วัย 39-40 วนั ภาพโดย รศ.ดร.สมนกึ บญุ เกิด สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารเกษตร คณะวทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง

61 พืชอาหารของชันโรง ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ชว งการบานของพชื อาหาร แคลแน้ิ สจี่ด ลำไย กระถินนา แคแสด เงาะ ลนิ้ จี่ ทานตะวนั งา มะกอกนำ้ พทุ รา ทานตะวนั งิว้ นนุ มะมว ง ยางพารา ไมยราบยักษ เสม็ด ขา วโพด ดาวกระจาย ฟกทอง แตงกวา บัวทุกชนดิ ชมพู ขเี้ หลก็ ปาลม นำ้ มนั และมะพรา ว ทีม่ า: กลมุ สงเสรมิ แมลงเศรษฐกิจ กรมสงเสรมิ การเกษตร ผลผลติ และการใชประโยชนจากชนั โรง น้ำผึ้งชันโรง มีลักษณะเดนคือ มีสีคอนขางดำหรือสีเขม มีความเปนกรดสูง มีรสเปรี้ยว น้ำผึ้งชันโรงมีคุณประโยชนสูง มีสารอาหารมากกวา 22 ชนดิ เชน คารโบไฮเดรท กรดอะมโิ น วติ ามิน แรธาตุ และเอนไซมตา งๆ นอกจากนี้น ้ำ ผงึ้ ชนั โรง นำไปผสมกับเครอ� งสำอางเพอ� บำรุงผวิ พรรณไดห ลากหลาย เชน สบู โลชัน่ ครีม ยาสระผม เปนตน ชนั ของชนั โรง (Propolis) เปน สารปฏชิ วี นะในธรรมชาติ มสี ารประกอบฟลาโวนอยส (Flavonoid) และสารตานอนุมูลอิสระจากพืชที่มีคุณสมบัติตอตานการเกิด ปฏิกิริยาออกซิเดชั่น ตอตานเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อรา และมีคุณสมบัติ ยับยั้งการอักเสบไดดี ใชเปน สอ� ผสมเกสรพืช ใชไดก ับไมผ ล พชื ผกั เศรษฐกิจ เชน ทุเรยี น มะมว ง ลำไย เงาะ เปน ตน “อาชีพเพาะเลีย้ งชนั โรง” ผทู ีจ่ ะเพาะเลีย้ งชนั โรงเปน อาชีพหลัก จำเปน ตอง... 1. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับชันโรง เชน ชีววิทยาของชันโรง พฤติกรรม การผสมพนั ธุ การหาอาหาร ไดแ ก เกสร นำ้ ตอ ย และชนั ผง้ึ 2. มพี น้ื ทท่ี ำการเกษตร เพอ� ใชเ ปน สถานทต่ี ง้ั รงั ชนั โรงทง้ั แบบถาวรและชว่ั คราว 3. ตอ งมขี อ มลู สภาพพน้ื ท่ี ปรมิ าณชนั โรงตอ พชื อาหารของชนั โรง 4. มจี ดุ มงุ หมายชดั เจนในการเพาะเลย้ี งชนั โรงเพอ� ผลติ นำ้ ผง้ึ ชนั ผง้ึ หรอื การ จำหนา� ยรงั หรอื เพอ� บรกิ ารผสมเกสรไมผ ล ผทู จี่ ะเลยี้ งชนั โรงเปน อาชพี จำเปน ตอ งแยกขยายรงั ใหไดจ ำนวนมาก จะชว ยใหม รี ายไดจ ากการจำหนา� ยนำ้ ผงึ้ ไมต ำ่ กวา เดือนละ 30,000-40,000 บาท ทุกเดือน นอกจากนี้ยังมีรายไดจากการแยกรังจำหน�ายายรารคาาคา1,12,0200-01-,15,05000บาบทา/ทร/ังรัง และบริการเชารังเพ�อผอสผมสเมกเสกรสรรารคาาคเาชเาชวาันวลันะละ3030บาบทา/ทร/ังรัง สถาบนั การจดั การเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมเกษตร (สท.) สำนกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีแหง ชาติ (สวทช.) 111 อุทยานวิทยาศาสตรป ระเทศไทย ถ.พหลโยธนิ ต.คลองหนึง่ อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 11120 โทรศัพท 0 2564 7000 โทรสาร 0 2564 7004 สายดวน สท. 096 996 4100 อีเมล agimriit@[email protected]/.tahim/aigritec

เทคโนโลยดี า้ นสตั ว์ “ชันโรง” “ใชผ่ งึ้ มยั้ ” “เกบ็ นำ้� ผง้ึ ผง้ึ จว๋ิ รายไดแ้ จม่ ขายได้ม้ัย” ค�ำถามยอดนิยมที่ คณุ วสนั ต์ ภผู า เกษตรกรสวนผลไมแ้ ละ ผู้ประกอบการเพาะเลี้ยงชันโรง ได้ยินเสมอ จากผู้มาเย่ียมชม “ศูนย์สาธิตการเพาะเลี้ยง ชันโรง (ผ้ึงจ๋ิว)” ซึ่งตั้งอยู่ในพ้ืนที่อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม แต่กว่าจะเป็นผู้เช่ียวชาญ เรอื่ งชนั โรงและมศี นู ยส์ าธติ เพาะเลยี้ งผง้ึ จว๋ิ แหง่ ใหญ่น้ไี ด้ กไ็ มใ่ ช่เร่ืองจวิ๋ ๆ “ใช่ผ้ึงม้ัย” “เก็บน�้ำผ้ึงขายได้มั้ย” ค�ำถามยอดนิยมท่ีคุณวสันต์ ภูผา เกษตรกรสวนผลไม้และผู้ประกอบการเพาะเล้ียง ชนั โรง ไดย้ ินเสมอจากผมู้ าเย่ยี มชม “ศนู ยส์ าธติ การเพาะเลยี้ งชันโรง (ผ้งึ จว๋ิ )” ซึง่ ตงั้ อย่ใู นพ้นื ท่อี .อมั พวา จ.สมุทรสงคราม แต่ กวา่ จะเป็นผ้เู ชี่ยวชาญเรอื่ งชนั โรงและมศี ูนยส์ าธติ เพาะเล้ียงผ้ึงจ๋วิ แหง่ ใหญน่ ไ้ี ด้ ก็ไมใ่ ช่เรื่องจ๋วิ ๆ จาก “ผึง้ ” สู่ “ชันโรง” ตอบโจทยส์ วนผลไม้ เช่นเดียวกับเกษตรกรท่ัวไปที่ต้องการให้สวนผลไม้ตนเองมีผลผลิตเพ่ิม เมื่อรู้ว่าสวนลิ้นจ่ีในพ้ืนที่ได้ผลผลิตเพิ่มข้ึน ดจาังกทกี่คาารดเหล้ียวังง “ดผ้วง้ึย”พฤชตว่ ิยกผรรสมมขเกอสงรผึ้งคทณุ ่ีจวะสผนัสตม์ไพมัน่รธีรุ์บอทน่จีอะาเกราียศนรจแู้ ึงลกะลลางยทเปุน็นรว่อมาคหราง่ึรลอา้ ันนโบอาชทะเขลอีย้ งงนผกง้ึ ปในรพะื้นจ�ำทถี่ขิ่นอองตย่านงแ“ตน่กกลจับาไบมค่เปาน็” แมส้ ญู เงนิ จำ� นวนมากไปแลว้ แตด่ ว้ ยความตอ้ งการเพมิ่ ผลผลติ ใหส้ วนผลไมต้ นเอง คณุ วสนั ตย์ อ้ นนกึ ถงึ แมลงผสมเกสรอกี ชนดิ หนง่ึ ท่คี ้นุ เคยมาแตเ่ ด็ก “รู้ว่าชันโรงเป็นแมลงผสมเกสร ก็ไปแคะรังชันโรงท่ีอยู่ ใตเ้ ตยี งนอนไดม้ า 4 รงั เอามาใสร่ งั ทเ่ี หลอื จากการเลยี้ งผง้ึ ผา่ น ไป 6 เดอื นจ�ำนวนเพ่มิ ขน้ึ เต็มรัง ก็ลองแยกรังเอง” แม้จะรู้ว่าชันโรงเป็นแมลงผสมเกสรตระกูลเดียวกับผึ้ง เพยี งแตไ่ มม่ เี หลก็ ไน แตพ่ ฤตกิ รรมการใชช้ วี ติ การหาอาหาร หรอื แม้แต่การผสมพันธุ์ ก็เป็นเรื่องใหม่ที่คุณวสันต์ต้องเรียนรู้และ ท�ำความรจู้ กั กบั ผงึ้ จ๋วิ ชนิดน้ีถงึ 3 ปี “นางพญาชันโรงกลางคืนจะไม่นอน จะไข่ในรังตลอด ชันโรงงานจะหาอาหารในรัศมี 300 เมตร ออกผสมเกสร

63 ตอนเชา้ ประมาณ 6 โมง ถา้ หนา้ หนาวจะออก 7 โมง แต่ละตวั บินออกไปผสมเกสรวันละไมน่ ้อยกว่า 16 เที่ยว ถ้าแดดดี อากาศดี จะออกบินมากกว่าน้ัน แล้วจะกลับเข้ารงั ตอนมืด ท่สี �ำคัญชนั โรงไมเ่ ลอื กชนดิ ดอกไมแ้ ละไมท่ งิ้ รัง” จากการสงั เกตพฤตกิ รรมอยา่ งใกลช้ ดิ ชนดิ ทวี่ า่ คลกุ อยกู่ บั ชนั โรงทงั้ วนั ทงั้ คนื คณุ วสนั ตพ์ บวา่ อาหารหลกั ของชนั โรงเปน็ เกสรดอกไม้ 80% ขณะทกี่ นิ นำ้� หวานเพยี ง 20% และนน่ั ไดต้ อบโจทยค์ วามตอ้ งการเพม่ิ ผลผลติ ในสวนมะพรา้ ว สม้ โอ และลน้ิ จี่ ของคุณวสนั ต์อยา่ งชัดเจน และผลลัพธ์ทีไ่ ดก้ เ็ ปน็ ไปตามทห่ี วัง “ชันโรงเป็นแมลงท่ีมีอยู่ในธรรมชาติ ตามบ้านเรือนไทยก็มี คนสมัยก่อนไม่ชอบชันโรงเพราะว่ามันดุ จะกัดแต่ไม่มี เหลก็ ไนนะ และยางจากชันโรงจะเลอะเทอะตามบ้าน แต่ปจั จุบันคนเริม่ หนั มาเลี้ยงเพอื่ ผสมเกสร” เม่อื “ผง้ึ จว๋ิ ” สรา้ งรายได้ เรม่ิ ตน้ จากความตอ้ งการเพมิ่ ผลผลติ ในสวนใหต้ วั เองขยาย สู่การท�ำธุรกิจเพาะเล้ียงชันโรง โดยให้บริการเช่ารังชันโรงและ จ�ำหน่ายรังชันโรง รวมถึงต่อยอดผลพลอยได้จากรังชันโรงเป็น ผลิตภัณฑ์ กลุ่มลูกค้าหลักท่ีมาใช้บริการเช่ารังชันโรงเพื่อช่วย ผสมเกสรเป็นเกษตรกรเจ้าของสวนผลไม้ ซ่ึงยอมเสียค่าเช่ารัง หลกั หมนื่ ต่อรอบการผสมเกสร เพอ่ื แลกกับผลผลิตท่ีมคี ุณภาพและรายได้ท่ีเพมิ่ ขน้ึ หลายเท่าตัว “เคยมีเจา้ ของสวนมะมว่ งเช่ารงั ไป 100 รงั 10 วัน ค่าเชา่ รงั ละ 30 บาท/รัง/วัน จากผลผลิตทีเ่ คยได้ 3 แสนบาท เพม่ิ ขน้ึ เป็นลา้ นบาท ผลผลติ สูญเสยี นอ้ ยลง คุณภาพดพี รอ้ มสง่ ออกได้ หรือสวนเงาะเดมิ ได้ 7-8 แสน แต่พอใชช้ นั โรง ได้ 4 ลา้ นบาท” คณุ วสนั ตจ์ ะทำ� สญั ญากบั ผเู้ ชา่ ในเรอื่ งการดแู ลและรกั ษารงั ชนั โรง หากชนั โรงตายจากการฉดี ยาฆา่ แมลงหรอื รงั ชนั โรงหาย ผ้เู ชา่ ตอ้ งเสียคา่ ใช้จา่ ยเพ่ิมรงั ละ 2,000 บาท นอกจากการใหเ้ ชา่ รังแลว้ หากเกษตรกรต้องการซือ้ รังชนั โรง คุณวสนั ตจ์ ะขายใหใ้ น ราคา 1,500 บาท/รัง “ถา้ อยา่ งเขาเชา่ รงั ผมจะไปวางต�ำแหนง่ รงั ให้ โดยค�ำนวณจากพนื้ ทสี่ วน หาจดุ กง่ึ กลางแปลง แลว้ กระจายวางรงั ชนั โรง ไปแตล่ ะดา้ น ซงึ่ เจา้ ของสวนจะตอ้ งไมเ่ คลอื่ นยา้ ยต�ำแหนง่ ของรงั ชนั โรงทว่ี างให้ เพราะชนั โรงจะจ�ำทางเขา้ รงั ไม่ได้ และจะสง่ ผลตอ่ ผลผลิตของสวน โดยทั่วไปถ้าเป็นสวนท่ปี ลูกผลไมเ้ ตม็ พ้ืนท่ี จะใชร้ ังชนั โรงไม่ต�่ำกว่า 10 รงั /ไร่ ส่วนคนท่ีซือ้ ขาด ตอ้ งเป็นพน้ื ที่ท่ี มอี าหารให้ชันโรงตลอด เพราะถ้าเป็นสวนท่ีมผี ลไม้ติดดอกครัง้ เดยี วต่อปี ชันโรงจะขาดอาหารและตาย” นอกจากรายได้จากการให้บริการเช่ารังแล้ว ผลผลิตท่ีเกิดข้ึนรังชันโรงไม่ว่าจะเป็น น�้ำผ้ึง และชัน (propolis) เป็น ผลพลอยไดท้ ่ีคณุ วสนั ตไ์ ดน้ �ำไปแปรรูปเป็นผลติ ภณั ฑจ์ �ำหนา่ ยภายใต้ตราสินคา้ “ภูผา” ไมว่ ่าจะเปน็ น้ำ� ผ้งึ สบู่ และยาหมอ่ ง น�้ำผ้ึงชันโรงรสชาติจะออกเปร้ียวและมีกล่ินตามผลไม้ที่ชันโรงไปผสมเกสร และด้วยปริมาณน้�ำผึ้งท่ีได้แต่ละครั้งไม่มาก เนอื่ งจากชนั โรงกนิ นำ�้ หวานเพยี ง 20% บวกกบั งาน วิจัยท่ีพบสารส�ำคัญในน้�ำผึ้งชันโรง ท�ำให้ราคาของ น้�ำผ้ึงชนั โรงสูงถึงกโิ ลกรัมละ 1,500 บาท นอกจาก น้ีชันของชันโรงมีสาร ประกอบฟลาโวนอยด์ (flavonoid) และสารต้านอนุมูลอิสระต่อต้านเช้ือ แบคทเี รยี ไวรสั เชอ้ื รา ยับยง้ั การอกั เสบไดด้ ี “ผมเน้นให้เกษตรกรน�ำชันโรงไปเพ่ิม ผลผลิตในแปลง น�้ำผ้ึงหรือชันเป็นแค่ผลพลอยได้ อยา่ งเกษตรกรทซี่ อื้ รงั ไป ถา้ จะแปรรปู ดว้ ย ผมก็ให้

เทคโนโลยดี ้านสตั ว์ ความรู้หมด ไปท�ำขายสร้างแบรนด์ของตัวเองได้ หรือจะส่งเป็นวัตถุดิบมาให้ ผม ผมก็รบั ซ้ือหมด” “อนรุ กั ษ์” ดว้ ย “ใจรัก” ค้นคว้าหาวิธแี ยกขยายรงั ดว้ ยตวั เอง เมื่อได้เรียนรู้รู้จักผึ้งจ๋ิวอย่างใกล้ชิดกลายเป็นความผูกพันท่ีเกิดข้ึน คณุ คา่ ทมี่ อี ยใู่ นตวั แมลงผสมเกสรชนดิ นท้ี ำ� ใหค้ ณุ วสนั ตศ์ กึ ษาสายพนั ธต์ุ า่ งๆ ของ ชันโรงและพยายามรวบรวมสายพันธุ์ที่มีอยู่ในประเทศไทยให้มากที่สุด รวมถึง “ทัว่ โลกมีประมาณ 140 สายพนั ธุ์ ในประเทศไทยเหลือไมถ่ ึง 40 สายพนั ธ์ุ แตล่ ะสายพันธ์มุ คี วามต่างกนั บา้ งทีข่ นาด และความชอบอาหาร อยา่ งสายพนั ธ์ทุ ตี่ วั ใหญ่จะเนน้ เก็บนำ�้ หวาน เชน่ พันธป์ุ ากแตร พันธ์ุอติ ามา่ สายพันธ์ุตวั เล็กผสมเกสร เช่น พันธขุ์ นเงิน พันธ์หุ ลงั ลาย และยังมพี นั ธุ์สวยงามทีเ่ ลีย้ งไวด้ ูเล่น อย่างพันธคุ์ ิชกฎู ” เมอื่ คณุ วสนั ตไ์ ดร้ บั ชนั โรงสายพนั ธต์ุ า่ งๆ จากชาวบา้ นหรอื เกษตรกรแลว้ เขาจะเขยี นไวห้ นา้ รงั วา่ เปน็ พนั ธอ์ุ ะไร ไดม้ าจาก ท่ไี หน เม่ือไหร่ หาขอ้ มูลเพ่ิมเติมเก่ยี วกบั สายพนั ธน์ุ ้ัน และทดลองเพาะเลีย้ งขยาย เพือ่ ไมใ่ ห้สญู พันธเ์ุ หมือนอดตี “ชันโรงเป็นแมลงผสมเกสรที่พบได้ตามธรรมชาติ มีโอกาสท่ีจะสูญพันธุ์ได้ เหมือนอย่างพันธุ์สิรินธรที่ปัจจุบัน ไมพ่ บแล้ว” มองอนาคตเพาะเลีย้ ง “ชันโรง” เกือบครึ่งชีวิตนับแต่เร่ิมท�ำความรู้จักชันโรงอย่างจริงจัง จนขยายสู่การท�ำธุรกิจเพาะเลี้ยงชันโรงและถือเป็นผู้เช่ียวชาญ ด้านชันโรงคนหน่ึงของประเทศก็ว่าได้ คุณวสันต์มองว่ายังมีเรื่องที่ต้องศึกษาเรียนรู้ต่ออีก โดยเฉพาะการเพาะเลี้ยงขยาย นางพญาชันโรง คุณวสันต์ได้เรียนรู้และฝึกฝนเทคนิคการเพาะเลี้ยงนางพญาชันโรงกี่งธรรมชาติจาก รศ.ดร.สมนึก บุญเกิด และ คุณพุทธวัฒน์ แสงสุริโยทัย มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง โดยได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาจาก สวทช. จะท�ำให้สามารถ เพาะเลี้ยงขยายนางพญาชันโรงได้เร็วขึ้นกว่าตามธรรมชาติและได้จ�ำนวนมาก นอกจากนี้คุณวสันต์ยังมองถึงการแปรรูปผลผลิต จากชันโรงเป็นผลิตภณั ฑ์อ่ืนเพม่ิ ข้นึ ซึ่งอยู่ระหว่างศึกษาขอ้ มูลร่วมกับมหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ “กจ็ ะเพาะเลยี้ งชนั โรงตอ่ ไปเรอ่ื ยๆ ใหเ้ กษตรกรเอาไปใชเ้ พม่ิ ผลผลติ ใครเอาไปเลย้ี งไดเ้ อาไป ชว่ ยขยายพนั ธ์ุ จะได้ไมส่ ญู พันธ์ุ ถา้ คนที่สนใจจะเพาะเลย้ี งชันโรงเปน็ อาชีพ ความรกู้ ็ต้องมี แตส่ ่งิ ส�ำคัญสดุ คอื ตอ้ งใจรัก” แมท้ กุ วนั นี้ “ชนั โรง” หรอื ผงึ้ จว๋ิ จะเพม่ิ ผลผลติ ใหก้ บั สวนผลไมข้ องคณุ วสนั ต์ ตอ่ ยอดสรา้ งเปน็ ธรุ กจิ และอาชพี เพาะเลย้ี ง ชนั โรง สรา้ งรายได้ไมน่ อ้ ยใหก้ ับครอบครัว แตม่ ากกวา่ เงินทองทีไ่ ดร้ ับ คณุ วสันตบ์ อกท้ิงทา้ ยวา่ “ได้ความสขุ ” จากผึง้ จว๋ิ น้ี รายการ Club Farmday The Series ตอน ชันโรง ผ้ึงจิ๋ว ราคาแจ่ม

65

เทคโนโลยีดา้ นสตั ว์

67

เทคโนโลยีดา้ นสตั ว์

69 สลับŒนตปละราดด สลบัŒนตปละราดด สำนักพฒั นาอาหารสัตว ศูนยราชการปศสุ ตั ว 91 หมู‹ 4 ต.บางกระดี อ.เมอื ง จ.ปทมุ ธานี 12000 โทรศพั ท 085 6609904

เทคโนโลยีดา้ นสตั ว์

71

เทคโนโลยดี ้านสัตว์ บทเรียนออนไลน์: การผลติ อาหารหมกั โคจากเศษวัสดทุ างการเกษตร

73 ไรน�้ำนางฟา้ : จากงานวจิ ยั ส่ธู รุ กจิ อนาคตไกล ปุ๋ยมูลไส้เดือนดินและน้�ำหมักมูลไส้เดือนดิน “ เ ร า ไ ม ่ ไ ด ้ อ ยู ่ ใ น ภายใตแ้ บรนด์ “เพอื่ นดนิ ” เปน็ ธรุ กจิ แรกของคณุ นจุ รี โลหะกลุ แวดวงเกษตรมาก่อน อย่าง หรือคุณเจ๊ียบ ท่ีต่อยอดจากการเข้าร่วมอบรมเรียนรู้จน ไรนำ้� นางฟา้ คนถามบอ่ ยมากวา่ มโี รค สามารถผนั ชวี ติ จากมนษุ ยเ์ งนิ เดอื นมาเปน็ เจา้ ของธรุ กจิ เตม็ มย้ั เอาไปเลยี้ งปลาแลว้ ปลาจะตายมย้ั มนั จะ ตัว “ปุ๋ยไส้เดือนดิน” ยังพาคุณเจ๊ียบให้รู้จักกับ “ไรน�้ำ เอาโรคไปติดต่อกันม้ัย เราเป็นคนเล้ียงก็ต้อง นางฟ้า” อีกหนึ่งงานวิจัยด้านเกษตรท่ีปัจจุบันกลายเป็น บอกว่าดี แตถ่ า้ มงี านวชิ าการทท่ี �ำวจิ ยั มาแล้ว ธรุ กจิ ของผ้หู ญิงเก่งคนนอี้ ีกเช่นกนั รองรับว่าไม่มีโรคและไม่ติดต่อ เราสามารถ พูดได้ ความน่าเชื่อมี ตรงน้ีงานวิจัย ชว่ ยพี่มากๆ”

เทคโนโลยดี ้านสตั ว์ จากงานออกร้านจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ “เพื่อนดิน” ใน ได้รับเชิญอย่าง “โรติเฟอร์” แพลงก์ตอนสัตว์ขนาดเล็กจะมา งานประชุมวิชาการของ สวทช. คุณเจี๊ยบได้รู้จักกับงานวิจัย เย่ยี มเยียน และจะท�ำใหส้ ่งิ ทลี่ งทุนไปสูญเปลา่ ทันที “ไรน้�ำนางฟ้า” ด้วยความน่าสนใจของสัตว์น�้ำตัวเล็กๆ ท่ีเป็น แหล่งโปรตีนคุณภาพสูงและยังให้สารเร่งสีส�ำหรับสัตว์น�้ำด้วย “พ่ีไม่ใช้น�้ำจากแหล่งอ่ืนเลยนอกจากน�้ำบาดาลใน คุณเจี๊ยบจึงตัดสินใจเข้าร่วมอบรมเรียนรู้การเพาะเลี้ยงไรน�้ำ ฟาร์มตัวเอง นอกจากโรติเฟอร์แล้ว แอมโมเนียเป็นอุปสรรค นางฟา้ เมือ่ ปี 2555 ส�ำคัญอีกอย่างในการเล้ียงไรน�้ำนางฟ้า ถ้ามีแอมโมเนียในน้�ำ ไรไมก่ นิ อาหาร ซง่ึ วธิ งี า่ ยทสี่ ดุ ในการไลแ่ อมโมเนยี คอื ปลอ่ ยนำ�้ “อบรมกลับมาก็ไม่คิดจะท�ำเป็นธุรกิจ เพราะไรน้�ำ ทง้ิ เอาน�้ำใหมใ่ ส่ แต่จะสนิ้ เปลืองน้ำ� ซึ่งตอนน้ที ่ฟี ารม์ ใชว้ ิธีเอา นางฟา้ เลยี้ งยากมาก เรายงั ไม่มคี วามรมู้ ากพอ ไขท่ ่ีไดม้ าจาก น�้ำที่ใช้แล้วมาบ�ำบัดโดยใส่อออกซิเจนเพื่อไล่แอมโมเนีย ท�ำให้ การอบรมกแ็ ช่ไว้ในต้เู ย็นอยหู่ ลายเดอื น จนพอมเี วลาว่างจาก ใชน้ ้ำ� ได้คุ้มคา่ และสูบนำ�้ บาดาลน้อยลง” ฟารม์ ไสเ้ ดอื น กเ็ อาไขท่ ่ีไดม้ าลองเลยี้ งในกะละมงั ท�ำตามทเ่ี รยี น ปัจจุบันคุณเจี๊ยบสามารถผลิตไรน้�ำนางฟ้าได้ 50-60 มา แลว้ ทดลองให้เป็นอาหารปลาทีเ่ ลย้ี งไวท้ ่บี ้าน ก็เร่มิ เห็นผล กิโลกรัม/เดือน โดยมีลูกค้าคนไทยและต่างประเทศทั้งรายย่อย วา่ ปลาชอบ ปลาสสี วย วนั หนงึ มลี กู คา้ มาขอซอ้ื ไสเ้ ดอื นไปเปน็ และฟารม์ เลยี้ งปลาสวยงาม ซงึ่ คณุ เจย๊ี บได้ “นอ้ งกก๊ิ -คณุ ธนโชติ อาหารปลาหมอสี พี่ก็เลยลองตักไรน�้ำนางฟ้าท่ีเลี้ยงไว้ให้เขา โลหช์ ติ กลุ ” ลกู ชายเขา้ มาชว่ ยดแู ลการตลาดไรนำ�้ นางฟา้ ท�ำให้ ไปทดลองใช้ ปรากฏว่าหลังจากนนั้ กลายเป็นลกู ค้าประจ�ำ” เฟซบุ๊ค “HT Fairy Shrimp Farm ไรน�้ำนางฟ้าเพื่อปลา จากทดลองเลยี้ งในกะละมงั คณุ เจย๊ี บไดข้ ยายการเลยี้ ง สวยงาม” ทีเ่ คยเปดิ ไวน้ านแลว้ กลบั มามีความเคลอ่ื นไหวและ ลงในบอ่ วงซเี มนตข์ นาด 90 ซม. จ�ำนวน 12 บอ่ ภายในบา้ น และ กลายเปน็ ชอ่ งทางการตลาดทสี่ �ำคญั เริ่มส�ำรวจตลาดจ�ำหน่ายท่ีจตุจักรซ่ึงเป็นตลาดใหญ่ คุณเจี๊ยบ พบวา่ ในตลาดยงั ไมม่ อี าหารสตั วน์ ำ�้ ทม่ี โี ปรตนี สงู และยงั มตี วั เรง่ สี “หลงั จากทลี่ กู ชายเรยี นจบกม็ าชว่ ยท�ำงานทบ่ี า้ น เขา ในธรรมชาตเิ หมอื นไรนำ�้ นางฟา้ ตลาดจ�ำหนา่ ยไรนำ้� นางฟา้ จงึ มี เรียนรู้ทุกอย่างเกี่ยวกับไรน้�ำนางฟ้า แต่ยังไม่รู้ว่าจะท�ำหน้าท่ี โอกาสสูง แต่เม่ือมองก�ำลังการผลิตจากบ่อวงขนาดเล็กที่บ้าน ตรงไหนดี เวลาเขาไปสง่ ไรนำ้� ใหล้ ูกค้ากับพ่ี เขาจะคุยกบั ลูกคา้ เห็นวา่ ไมส่ ามารถผลติ สง่ ขายตลาดใหญไ่ ดเ้ พียงพอ คุณเจยี๊ บจงึ นานมาก แลว้ มาเลา่ ความตอ้ งการของลกู คา้ ใหเ้ ราฟงั จนพคี่ ดิ ตดั สนิ ใจซอื้ ทดี่ นิ ทอี่ .ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า เพอ่ื ท�ำฟารม์ ไรนำ�้ ว่าเขาน่าจะเหมาะท�ำการตลาดให้เรา เพราะพ่ีท�ำการตลาดไม่ นางฟา้ โดยใชบ้ อ่ วงใหญข่ นาด 2 เมตร จ�ำนวน 16 บอ่ ปจั จบุ นั เป็นเลย” ขยายบอ่ วงเปน็ ขนาด 4 เมตร ชว่ ยใหอ้ ตั ราการไหลทงิ้ ของอาหาร น้อยลง และไรนำ้� กินอาหารไดท้ ัว่ ถึงมากขน้ึ “ไรนำ้� นางฟา้ เลยี้ งยากมาก มปี จั จยั หลายอยา่ งทตี่ อ้ ง ควบคุมให้ดีทั้งคุณภาพน้�ำและอาหารของไรน�้ำนางฟ้าคือ คลอเรลลา (สาหรา่ ยสเี ขยี ว) แมจ้ ะเพาะเองได้ แตย่ งั ไมส่ ามารถ ท�ำใหค้ ลอเรลลาคงท่ี มโี จทย์ใหเ้ รยี นรู้ใหแ้ กป้ ญั หาตลอดในการ เลี้ยงไรน�้ำ แต่ก็ยังสนุกท่ีจะเรียนรู้ ไรน้�ำนางฟ้ายังใหม่มาก ส�ำหรับเมืองไทย และตลาดไรน�้ำนางฟ้าในประเทศยังเล็ก ถ้า คนรแู้ ละทดลองใช้ เขาจะกลายเปน็ ลกู คา้ ประจ�ำเพราะจะเหน็ ผล ชัดเจนวา่ ปลาชอบมาก แขง็ แรงและสสี วย” นอกจากการเลี้ยงน�้ำเขียวหรือคลอเรลลาให้มีคุณภาพ เพื่อเป็นอาหารของไรน้�ำนางฟ้าแล้ว การตรวจสอบคุณภาพน�้ำ ซึ่งเป็นบ้านของไรน้�ำนางฟ้าก็ส�ำคัญเช่นกัน ไม่เช่นนั้นแขกที่ไม่

75 มีโปรตีน 75% แตม่ สี ารเร่งสีน้อยกวา่ ตลาดผู้ผลติ ไรนำ้� นางฟา้ ในปจั จบุ นั สว่ นใหญจ่ ะขายเปน็ ไขใ่ หค้ นไปเพาะเอง หรอื ไมก่ ข็ าย ขนาดตัวเล็กจิ๋ว แต่ที่ฟาร์มคุณเจ๊ียบจะขายไรน้�ำนางฟ้าตัวเต็ม วยั ใชเ้ วลาเล้ยี ง 15 วันแลว้ แชแ่ ขง็ แพค็ ส่งลกู คา้ ซึ่งหัวใจส�ำคญั ของการเก็บไรน�ำ้ นางฟา้ คือ ตอ้ งไมแ่ ชแ่ ข็งซ้ำ� ถา้ ละลายแลว้ ไป แช่ใหม่ ตวั ไรจะยุย่ ปลาไม่ชอบ นอกจากความเอาใจใส่ในทุกขั้นตอนการเล้ียงไรน�้ำ นางฟา้ จนถงึ การสง่ มอบสนิ คา้ ใหล้ กู คา้ แลว้ คณุ เจย๊ี บและลกู ชาย ยังติดตามงานวิจัยใหม่ๆ เกี่ยวกับไรน�้ำนางฟ้า เพ่ือเป็นข้อมูล พัฒนาผลิตภณั ฑข์ องตนใหด้ ียง่ิ ข้นึ นอกจากการใหข้ อ้ มลู ความรผู้ า่ นหนา้ เฟซบคุ๊ พรอ้ มทงั้ “ไมก่ ลวั วา่ จะมคี แู่ ขง่ เพมิ่ กต็ อ้ งวดั กนั ทค่ี ณุ ภาพ ตอ้ ง รับออเดอร์และจัดส่งแล้ว ส่ิงหน่ึงที่น้องก๊ิกจะเน้นย�้ำเพ่ือสร้าง ฝึกฝมี อื ตวั เอง ท�ำออกมาให้ดี ให้ลูกค้าตดิ ใจ จะช่วยใหว้ งการ ความมั่นใจให้ลูกค้าเสมอคือ “มีไรน้�ำนางฟ้าจ�ำหน่ายตลอด” น้ีพัฒนา ถ้ามีพี่เป็นผู้ผลิตรายเดียวตลาดจะโตได้อย่างไร เนื่องจากท่ีผ่านมาปัญหาหน่ึงของการท�ำตลาดไรน�้ำนางฟ้าคือ หลายคนมาช่วยกันท�ำ ถ้าส่งออกได้ เงินก็เข้าประเทศ รายได้ สินค้าขาดตลาด โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาวท่ีมีผลต่อการเลี้ยง ประเทศกเ็ พิ่มขึน้ ” ไรน�้ำนางฟ้า ซ่ึงการขยายขนาดบ่อวงเป็น 4 เมตรไม่เพียงช่วย ใหก้ ารไหลทงิ้ ของอาหารนอ้ ยลง แตย่ ังช่วยให้คณุ เจ๊ยี บสามารถ ปจั จบุ นั ยอดสง่ั ซอ้ื ไรนำ้� นางฟา้ ในประเทศมตี อ่ เนอื่ ง เชน่ เพม่ิ ก�ำลงั การผลติ เพือ่ ท�ำสตอ็ คไวจ้ �ำหนา่ ยไดด้ ้วย เดียวกับลูกค้าต่างประเทศทั้งมาเลเซีย สิงคโปร์ อินเดีย และ ปัจจุบันคุณเจี๊ยบเล้ียงไรน้�ำนางฟ้า 2 สายพันธุ์ คือ บราซิลท่ีให้ความสนใจสัตว์น�้ำตัวจิ๋วนี้ ซึ่งคุณเจี๊ยบอยู่ระหว่าง ไรนำ้� นางฟา้ ไทย และไรนำ้� นางฟา้ สริ นิ ธร ซงึ่ ไรนำ้� นางฟา้ ไทยจะมี ด�ำเนนิ การเครอ่ื งหมายการคา้ เพอื่ ขยายการสง่ ออกไรนำ้� นางฟา้ โปรตีนท่ี 65% แตม่ ีสารเรง่ สสี ูงมาก ขณะท่ไี รน้ำ� นางฟา้ สิรินธร ไปตลาดตา่ งประเทศ

เทคโนโลยีดา้ นสตั ว์

77

เทคโนโลยีด้านสัตว์ สัมภาษณ์ รศ.ดร.อานฐั ตันโช “หนอนแม่โจ”้ กบั การกำ�จดั ขยะอินทรยี ์ รายการ Club Farmday The Series ตอน หนอนแมโ่ จ:้ สตั วเ์ ศรษฐกิจแห่งอนาคต

79 “ไส้เดอื นดนิ -หนอนแม่โจ้” ส่ิงมีชีวิตเล็กๆ ท่ีย่ิงใหญ่ของผู้สูงวัย “ความภาคภมู ใิ จในตวั เอง” เป็นหนึ่งแรงพลงั ทท่ี �ำให้คนเราตระหนักร้ถู ึงความสขุ ในสิง่ ทท่ี �ำ ปลุกความหวงั สร้างความ สดชนื่ ให้จิตใจโดยเฉพาะในวนั ท่เี ดนิ เข้าสูช่ ว่ ง “ชวี ติ สูงวยั ” “คุณสวัสด์ิ การะหงษ์” วัย 65 ปี เจ้าของ “ลุงสวัสดิ์ฟาร์ม ไส้เดอื นดินริมปงิ ” และอดีตผู้บริหารหน่วยงานปกครองท้องถ่นิ ก็เชน่ กัน แม้ พ้ืนฐานชีวิตจะเป็นเกษตรกร แต่ลุงสวัสด์ิคลุกคลีกับงานบริหารท้องถิ่นมากว่า 30 ปี เสน้ ทางการเตบิ โตท่ีมัง่ คงในงานบริหารทอ้ งถิ่นจากผใู้ หญบ่ ้าน สารวัตร กำ� นนั รองนายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล จนถงึ รองนายกเทศมนตรตี ำ� บล แต่ ในใจกลับมคี วามรูส้ ึกบางอย่างทคี่ ลอนแคลน “อยู่ในสังคมที่กว้างมาก แต่ความรู้เราแค่ป.4 ไปไหนก็ไม่มั่นใจที่พูด คุย และเดี๋ยวน้ีเด็กจบใหม่มีความรู้ รู้จักใช้เทคโนโลยี แต่เราไม่มี อายเด็ก รุ่นใหม่ มีวันหนึง เจ้าหน้าที่ให้ช่วยปิดคอมพิวเตอร์ ลุงก็ดึงปลั๊กออกเลย” ความรู้สึกท่ีคลอนแคลนสะสมมาเนิ่นนานย้อนให้ลุงสวัสด์ิได้ทบทวนและวาง เสน้ ทางในชว่ งชวี ติ บน้ั ปลาย

เทคโนโลยดี ้านสตั ว์ เมอ่ื ไสเ้ ดือนดนิ ยอ่ ยขยะในใจ จากวันนนั้ ลงุ สวัสดิ์ทดลองเล้ียงหนอนแมโ่ จ้ อาศยั การ สงั เกต เรยี นรู้ และลองผดิ ลองถกู จนปรบั เปน็ วธิ เี ลย้ี งของตนเอง การไดพ้ บปะผคู้ นหลากหลายวงการถอื เปน็ ความโชคดี และไดผ้ ลผลิตถึง 30 กโิ ลกรัมตอ่ วนั อยา่ งหนง่ึ ในชว่ งทล่ี งุ สวสั ดทิ์ ำ� งานบรหิ ารทอ้ งถน่ิ และเปดิ โอกาส ใหล้ งุ ไดพ้ บเส้นทางในชวี ติ หลงั เกษียณ “ลงุ เลยี้ งหนอนแมโ่ จเ้ พอื่ ขาย เพราะฉะนนั้ กต็ อ้ งหาวธิ ี ท่ที �ำให้ไดห้ นอนจ�ำนวนมาก อาจารยม์ ีทฤษฎี แตล่ ุงปฏิบตั ิ ลงุ “ลงุ ไปอบรมเรอื่ งการผลติ ปยุ๋ มลู ไสเ้ ดอื นจากอาจารย์ รับความรมู้ า อะไรดีเก็บไว้ อันไหนเหน็ วา่ ยังไมด่ ีกว็ างไว”้ อานัฐ ตันโช ม.แม่โจ้ พ้ืนฐานลุงก็ท�ำเกษตรอยู่แล้ว ฟังแล้วก็ สนใจ ดูแลง่าย ใช้แรงไม่มาก น่าจะท�ำได้” หลังการอบรมในปี วิชาการ-วชิ าตน 2556 ลงุ สวสั ดก์ิ ลบั มาทดลองเลย้ี ง เรยี นรแู้ ละปรบั ประยกุ ตว์ ธิ ี เลย้ี งจนสามารถผลติ ป๋ยุ มลู ไสเ้ ดอื นดนิ จ�ำหนา่ ยได้ถงึ เดือนละ 1 ตนั มรี ายไดก้ วา่ 20,000 บาท ซงึ่ มากกวา่ รายไดจ้ ากการทำ� งาน ความรู้จากห้องอบรมสู่ห้องเรียนกว้างหลังบ้าน พ้ืนท่ี ปกครองท้องถิ่น แต่สิ่งส�ำคัญกว่าน้ัน ไส้เดือนดินได้ย่อยสลาย ปลูกองุ่นถูกปรับเปล่ียนเป็นโรงเล้ียงหนอนแม่โจ้ มีโรงเล้ียง ความไม่มัน่ ใจในตัวลงุ กลายเปน็ ปุ๋ยความภาคภมู ิใจในตัวเอง ไส้เดือนอยู่ด้านหลัง ภายในโรงเล้ียงมีกระบะพลาสติกสีฟ้าวาง เรียงบนชั้นเหล็ก แต่ละกระบะมีหนอนแม่โจ้ตัวเล็กตัวน้อยคืบ “อยู่ตรงนี้ลุงสามารถพูดคุยได้ ให้ความรู้เขาได้ คลานกินอาหารสตู รใหม่ทีล่ ุงสวัสด์ิประยุกตใ์ หม่ เปล่ียนความร้สู กึ เลยนะ จบป.4 มคี นเชื่อถือ อย่างน้อยครบู า “ลุงอยู่บ้านนอก ขยะอินทรีย์ไม่ค่อยมี ลุงสังเกตว่า อาจารย์ยกยอ่ งใหเ้ ป็นวิทยากร” หนอนนเี้ คยเจอในบอ่ ไสเ้ ดอื น กน็ า่ จะอยใู่ นนำ้� หมกั ได้ ลงุ ก็ใชน้ ำ้� หมักจากฟาร์มไส้เดือนมาผสมกับอาหารไก่และร�ำ ระยะเวลา จากไสเ้ ดอื นดนิ สู่ “หนอนแมโ่ จ”้ โปรตนี สงู เติบโตของหนอนวัยน้ีประมาณ 30-35 วัน พบว่าตัวหนอนมี ขนาดใหญ่กว่าจากที่เล้ียงด้วยขยะอินทรีย์ และไม่มีกล่ินเหม็น แม้ “ลุงสวัสดิ์ฟาร์มไส้เดือนดินริมปิง” จะสร้างความ ลกู คา้ ทตี่ อ้ งการหนอนตวั ใหญก่ จ็ ะชอบ เขาเอาไปเปน็ อาหารให้ มนั่ คงทงั้ รายไดแ้ ละจติ ใจใหช้ วี ติ หลงั เกษยี ณ แตโ่ อกาสของชวี ติ ไกช่ น ปลามงั กร ตกุ๊ แก สว่ นคนทต่ี อ้ งการหนอนตวั เลก็ เพอ่ื เอา เปดิ ใหล้ งุ สวสั ดไิ์ ดเ้ ขา้ ไปรจู้ กั งานวจิ ยั “หนอนแมโ่ จ”้ ของดร.อานฐั ไปเลี้ยงนก ลุงกเ็ กบ็ ท่ี 20 วัน” ตนั โช ทำ� ให้ลงุ สวัสดิ์เหน็ ชอ่ งทางท่ีจะขยายธรุ กจิ ของตนเอง นอกจากอาหารหลกั เลีย้ งหนอนแมโ่ จแ้ ล้ว ลงุ สวัสดยิ์ ัง “ตอนที่ไปอบรมเรื่องหนอนแม่โจ้ อาจารยว์ จิ ยั แลว้ วา่ ได้ประยุกต์วิธีการเล้ียง การให้อาหารของพ่อแม่พันธุ์ และ มีโปรตีน 42% เยอะกว่าหนอนไม้ไผ่ หนอนไม้ไผ่กิโลกรัมละ อปุ กรณ์วางไขข่ องแม่พันธ์ุ ช่วยเพ่ิมประสทิ ธิภาพการเล้ียงและ 300-400 บาท ลุงก็มองวา่ นา่ จะลองเลี้ยงหนอนแม่โจ้ขาย และ ให้จ�ำนวนไข่เพม่ิ มากขนึ้ พอเหน็ รปู ในสไลดข์ องอาจารย์ กค็ นุ้ “เดี๋ยวนี้ลุงไม่ได้เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ในโรงเลี้ยงแล้ว แต่ ว่าบ่อไส้เดือนดินของลุงก็มีน่ี กลับมาดูในบ่อท่ีฟาร์ม ปล่อยให้เขาอยู่ตามธรรมชาติ ลุงก็แค่เอาน้�ำหวานไปพ่นตาม เจอเยอะมาก ถ่ายวิดีโอ ตน้ ไม้ใกล้โรงเลี้ยงไส้เดอื น ลงุ ใชน้ �ำ้ หวานเฮลซ์บลบู อยผสมน้�ำ สง่ ให้อาจารยด์ ูเลย” ไมต่ อ้ งเสยี เวลามาเคย่ี วนำ้� ตาล ขวดหนงึ่ ใช้ไดน้ านและยงั มกี ลนิ่ หอมดึงดูดแมลงได้ดี แล้วลุงตัดฟิวเจอร์บอร์ดเป็นแผ่นเล็กๆ มดั รวมเปน็ ชน้ั เอาไปแขวนไว้ในถังอาหารหมกั เป็นทว่ี างไข่ของ แมพ่ นั ธ์ุ ถงั ละ 3-5 จดุ แทนทจี่ ะวาง 1 จดุ ตอ่ ถงั ฟวิ เจอรบ์ อรด์ ลงทนุ ครงั้ เดยี ว แตใ่ ช้ไดห้ ลายครงั้ หลงั จากยา้ ยไขแ่ ลว้ กเ็ อา มาล้างน�้ำ ใช้ซ้�ำได้ แต่ถ้ากระดาษลูกฟูก เปียกน�้ำแล้วก็ ตอ้ งทิง้ ”

81 การตลาดของคนสงู วัย สขุ ที่ได้ท�ำ แมล้ งุ สวสั ดจ์ิ ะผลติ หนอนแมโ่ จไ้ ดถ้ งึ วนั ละ 30 กโิ ลกรมั ในวยั 65 ปี ลงุ สวสั ดทิ์ ำ� ฟารม์ ไสเ้ ดอื นดนิ และหนอนแมโ่ จ้ มที ั้งลูกค้าทมี่ าซื้อไปเป็นอาหารของสตั ว์ และลูกค้าท่ซี อ้ื เพ่ือไป เปน็ งานหลกั ท�ำเองทกุ ขนั้ ตอน มีรายไดห้ ลกั หมน่ื บาทต่อเดือน จำ� หนา่ ยตอ่ แตป่ รมิ าณทผี่ ลติ ไดก้ ย็ งั มากกวา่ ปรมิ าณการซอื้ ซงึ่ เปดิ ฟารม์ เปน็ ศนู ยเ์ รยี นรใู้ หก้ บั ผคู้ นทส่ี นใจ เปน็ วทิ ยากรใหค้ วามรู้ ลุงสวสั ด์ยิ อมรับวา่ น่ันคอื จดุ ออ่ นของตนเองในเรื่องการตลาด ในหลายหน่วยงาน ใครใคร่เรียนรู้ ลุงยินดีถ่ายทอดความรู้จาก “คนท่ีจะเลี้ยงหนอนแม่โจ้เป็นธุรกิจ ต้องวางแผนและ ประสบการณใ์ หห้ มด “คนทฟ่ี งั ลงุ ไมต่ อ้ งเชอื่ ลงุ ไปลองท�ำกอ่ นแลว้ คอ่ ยเชอื่ หาตลาด คนรนุ่ ใหมร่ จู้ กั การใชเ้ ทคโนโลยี ใชส้ อ่ื โซเชยี ลเปน็ ชอ่ ง ทางขาย ลุงก็อยากท�ำขายเอง แต่ลุงไม่ถนัด และเรื่องขนส่งก็ การเลยี้ งไสเ้ ดอื นดนิ และหนอนแมโ่ จ้ ใชง้ บไมเ่ ยอะ ดแู ลงา่ ย จะไป ไหนก็ไมต่ ้องกังวล ใหอ้ าหารท้งิ ไว้ พอครบเวลาทจ่ี ะเกบ็ ก็เก็บ ล�ำบาก เพราะลุงอยู่ไกล” ปจั จบุ นั ลงุ สวสั ดข์ิ ายหนอนแมโ่ จก้ โิ ลกรมั ละ 300 บาท ง่าย ไม่ต้องใช้แรงเยอะ ลุงว่าอยู่ที่ใจ ลุงท�ำเพราะใจรัก อย่าง ใหก้ ับลูกคา้ แม้จะรู้วา่ หลายคนบวกราคาเพ่มิ เม่อื ไปขายบนส่ือ หนอนแมโ่ จล้ งุ เรมิ่ ตน้ จากกระบะนอ้ ยๆ จนเปน็ รอ้ ยกระบะ ยงิ่ คน โซเชียล แต่ลุงสวัสด์ิมองว่า “อาศัยกันและกัน” ในเมื่อลุงเป็น สงู อายอุ ยา่ งลงุ ดว้ ย วยั นี้ไมม่ คี นจา้ งแลว้ แตเ่ ราสามารถมรี าย ผู้ผลิต ก็ต้องอาศัยคนที่จะเอาไปขาย ซึ่งเขาก็ต้องมีก�ำไร ได้เล้ียงตัวได้ ดใี จแล้ว” นอกจากน้ีหนอนแม่โจ้ท่ีผลิตได้ ลุงสวัสดิ์น�ำไปฝากแช่เย็น ที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซง่ึ เป็นอกี ชอ่ งทางการจำ� หน่าย “ลุงไม่ถนัดเร่ืองตลาด แต่ถ้าเรื่องลงมือปฏิบัติ ลุง สวทช. สนบั สนนุ ทนุ วิจัยและพัฒนาให้ รศ.ดร.อานฐั ตันโช มน่ั ใจ อยา่ งฟาร์มหมทู อี่ ุดรธานี ตอ้ งการเล้ยี งหนอนแม่โจเ้ อา และทมี วจิ ยั ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติ ไปเป็นอาหารใหห้ มู ลุงก็ไปชว่ ยสอน ตอนนเี้ ขาผลติ เองไดแ้ ลว้ มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้ แตย่ งั ไมพ่ อ ลุงก็ให้ค�ำแนะน�ำเพิ่ม”

เทคโนโลยดี า้ นสัตว์ ปลาไหลนา รู้จกั ปลาไหลนา ปลาไหลนาตวั ผู้ รเาลยยี ไงดงง้ า่ ายม ชว่ งกอ่ นวัยเจริญพนั ธุ์ (8-30สปั ดาห)์ ไม่สามารถ แยกแยะเพศได้ แต่เมื่อเข้าสู่ช่วงวัยเจริญพันธุ์ ปลาไหลนาในบ่อวงซีเมนต์ ตวั เมยี มลี กั ษณะตัวกลมส้ัน อวบอว้ น สเี หลอื งทอง อวัยวะเพศนูนออกมา ขณะท่ตี วั ผ้มู ีลักษณะตวั ยาว อุปกรณ์ สีเข้ม อวัยวะเพศเว้าเข้าดา้ นใน 1. บ่อวงซีเมนตข์ นาด 5x5x1 เมตร ปลาไหลนาตัวเมีย มรี เู ปิดปดิ ระบายนำ้ ฤดวู างไขเ่ รม่ิ ตง้ั แตเ่ ดอื นมนี าคม-ตลุ าคมโดยวางไขม่ ากในชว่ ง 2. ดินเลน ตน้ ฤดฝู น ถึงกลางฤดูฝน (ประมาณสิงหาคม) ไข่ปลาไหลมี 3. นำ้ ดืม่ หรอื น้ำคลอง ลักษณะทรงกลม สเี หลืองอ่อน ขนาดประมาณ 3 มลิ ลเิ มตร 4. อาหารสำหรับเล้ียงปลาไหล (เน้ือสตั ว์และพชื ผกั ) เป็นไข่ชนิดจมน้ำ และไม่มีสารเหนียวคลุมไข่ แม่ปลาไหลนา วางไข่ประมาณ 100-1,000 ฟอง/ตัว (ขึ้นอยู่กับขนาดของ ขนั ้ ตอน แม่ปลาไหลนา) หลังวางไข่แล้วแม่ปลาไหลนาจะดูแลไข่ อย่างใกล้ชิดภายในรู มีพฤติกรรมอมไข่และพ่นไข่ในหวอด • ใส่ดินเลนในบ่อให้มคี วามสงู 30 ซม. ไข่จะฟักเป็นตัวภายใน 7 วัน ลูกปลาไหลจะอยู่ในโพรงดิน • เตมิ น้ำให้มีระดบั สงู กว่าผิวดินประมาณ 10 ซม. หรือรังจนเมอ่ื ไข่แดงยุบตัว (ประมาณ 7 วัน) ลกู ปลาจงึ ว่าย • ใสพ่ ืชนำ้ ตา่ งๆ เพือ่ เปน็ ท่หี ลบซ่อนและวางไข่ ออกมานอกรัง • ปล่อยพอ่ พันธุแ์ ม่พันธ์ใุ นสัดสว่ น 1:3 (ตัวผ:ู้ ตัวเมีย) ปลาไหลนาเป็นปลาที่กินเนื้อ อาหารของ ปลาไหลนา เช่น ปู หอย ตอ่ พนื้ ที่ 1 ตารางเมตร ลูกปลา ไสเ้ ดอื น ซากสตั ว์ หรอื แมลงต่างๆ • ใหอ้ าหาร 2 วัน/คร้งั • ถ่ายน้ำทุกๆ 10 วนั หรอื 20 วนั บอ่ วงซเี มนต์มคี วามเปน็ ดา่ งสูง (pH 11-14) ตน้ ทนุ ตำ่ กำไรงาม ตอ้ งปรบั ให้มคี า่ ความเปน็ กรด-ดา่ ง การเลย้ี งปลาไหลนา 1 บ่อ ไดล้ กู ปลาไหลนา 30-60 ตัว/บ่อ ทีเ่ หมาะสำหรบั เลีย้ งปลา คือ pH 7.5-8.5 นำ้ หนกั 4-6 ขดี /ตวั ใช้เวลาเลยี้ งประมาณ 4-6 เดือน สามารถนำไปขายไดต้ ้งั แตช่ ว่ ง 4 เดือน ทำได้โดย • สับหัวกล้วยหรอื โคนกลว้ ย บอ่ วงซีเมนต์ 2 บ่อ บ่อละ 280 บาท 560 บาท ปลาไหลนา (พอ่ พันธ์ุแมพ่ นั ธ)์ุ จากธรรมชาติ เปน็ ชน้ิ เล็ก อาหารของปลาไหลนา จากธรรมชาติ • นำไปใส่ในบอ่ เตมิ นำ้ ให้เต็ม (หอยเชอรี่ ลำตน้ กล้วย) หมกั ทิ้งไว้ 7 วนั แล้วเปิดนำ้ ทงิ้ ได้ลูกปลาไหล 30-60 ตัว นำ้ หนัก 4-6 ขดี เลยี้ ง 4 เดอื น • เอาโคนกล้วยออก • เติมนำ้ สะอาดในบ่อ แช่ทงิ้ ไว้ 1 วนั ราคาขาย 200 บาท/กก. แล้วเปิดน้ำทิง้ ตากบอ่ ให้แห้ง 1 บอ่ ไ5ด,เ้ 0งิน0ปร0ะม-า8ณ,000 บาท/บ่อ ข้อมลู โดย: อาจารย์นิชาภา เฉตระการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ นิ ทร์ สถาบนั การจดั การเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมเกษตร (สท.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธนิ ต.คลองหนง่ึ อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 12120 โทรศัพท์ 0 2564 7000 โทรสาร 0 2564 7004 สายดว่ น สท. 096 996 4100





















93

เทคโนโลยดี า้ นการจดั การดนิ

95

เทคโนโลยีด้านการจัดการดนิ เมอ่ื ปยุ๋ ดีๆ เปลย่ี นชีวติ มนุษยเ์ งนิ เดอื น “เป็นเรื่องส�ำคัญถ้าเราจะเริ่มต้นท�ำในส่ิงท่ีเราไม่รู้จัก เราไม่ควรทดลองโดยที่ไม่มหี ลกั วิชาการ ถา้ ทดลองเลี้ยงตาม ทเ่ี ราเรยี นมา แล้วเกดิ ปญั หา เราพอจะรู้วา่ เราออกนอกกรอบ อะไรไปบา้ ง กพ็ อจะหาแนวทางแก้ไขได”้ คณุ นจุ รี โลหะกลุ หรอื คณุ เจยี๊ บ ผปู้ ระกอบการธรุ กจิ ฟารม์ ไสเ้ ดอื นดนิ ไมง้ ามและฟารม์ ไรน้�ำนางฟ้า ธุรกิจเกษตรท่ีเกิดจากการเข้าร่วมอบรมถ่ายทอด เทคโนโลยีจาก สวทช. จากมนุษย์เงินเดือนที่ชื่นชอบการปลูกต้นไม้ แต่ปลูก อย่างไรก็ไมอ่ อกดอกให้ชนื่ ชม คณุ เจยี๊ บจึงเสาะหาความรู้จนได้ อ่านเรื่องราวของ “ปุ๋ยไส้เดือนดิน” และได้ทดลองหาซื้อมาใช้ ผลลัพธ์ท่ีได้พาให้หัวใจคนรักต้นไม้เบิกบานเมื่อได้เห็นต้นไม้ผลิ ดอกสวยงาม แมจ้ ะเจอ “ปยุ๋ ดๆี ” ทตี่ อ้ งการแลว้ แตค่ ณุ เจยี๊ บไม่ ปุ๋ยมูลไส้เดือนดินที่ผลิตได้จากการฝึกฝีมือ คุณเจี๊ยบ หยุดเพียงเท่านั้น หากยังเสาะหาความรูข้ องปยุ๋ ดๆี น้ี ทดลองใช้เองและน�ำไปแจกเพ่ือนบ้าน ญาติพ่ีน้อง นานวันเข้า ทุกคนทีไ่ ด้ใชต้ า่ งตดิ ใจ อยากไดไ้ ปใชเ้ พิ่ม แตข่ อให้คุณเจย๊ี บคดิ “เร่มิ ไปอบรมตั้งแต่ปี 2548 ไปเรยี นทกุ ทที่ ่มี สี อนเรอ่ื ง เงิน และนั่นน�ำมาสู่การสร้างโรงเรือนเล้ียงไส้เดือนดินขนาด ไส้เดือนดิน ในช่วงนั้นก็มีที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจะเป็นสาย 10x20 เมตร ในพนื้ ท่บี ้านของตวั เองเม่ือปี 2551 พันธุ์ขี้ตาแร่ และท่ีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นสายพันธุ์ เอเอฟและขตี้ าแร่ พ่ีไปอบรมกบั อ.อานฐั ทแ่ี มโ่ จห้ ลายรอบ แตล่ ะ รอบก็ได้ความรู้และเทคนิคใหม่ๆ เรียนกลับมาก็มาฝึกเลี้ยงที่ บ้านเร่ิมจากกะละมัง ตู้ลิ้นชักพลาสติก ขยายมาเป็นบ่อวง ซีเมนต์ 8 วง”

97 “พอคนใชแ้ ล้วติดใจ อยากไดแ้ ต่ขอซื้อ จดุ ประกายให้ ส�ำหรับคุณเจ๊ียบท่ีคลุกคลีกับการเล้ียงไส้เดือนดินมา เห็นว่าก็หาค่ากับข้าวจากปุ๋ยมูลไส้เดือนดินได้ และมองระยะ นาน บอกว่า ถ้าปุ๋ยยังไม่ร่อน จะดูออกว่าเป็นปุ๋ยจากไส้เดือน ยาวแลว้ นา่ จะดี เพราะคนยงั คอ่ ยไมร่ จู้ กั ปยุ๋ มลู ไสเ้ ดอื นดนิ เปน็ สายพนั ธไ์ุ หน ดทู ผ่ี วิ มลู วา่ มลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไร เอเอฟตวั โต มลู โอกาสทจี่ ะท�ำขาย” และจากวนั นน้ั คณุ เจย๊ี บไดห้ นั หลงั ใหก้ บั ชวี ติ เม็ดใหญ่กว่า ข้ีตาแร่ตัวเล็กกว่า มูลละเอียดกว่า แต่ถ้าปุ๋ยผ่าน มนุษย์เงินเดือน เร่ิมต้นธุรกิจของตัวเองจากสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ท่ี การรอ่ นและบรรจุถงุ แลว้ มูลแตกหมด จะดูไม่ออก เรียกว่า “ไส้เดือนดิน” และสร้างผลิตภัณฑ์ปุ๋ยมูลไส้เดือนดิน และน้�ำหมักมูลไส้เดือนดินภายใต้ช่ือ “เพื่อนดิน” ซ่ึงคุณเจี๊ยบ “คนที่เริ่มต้นเล้ียงไส้เดือนต้องเข้าใจ เขาสอนวิธีการ บอกว่า ช่วงน้ันรายได้เล้ียงตัวได้ แต่ความสุขคือเป็นเจ้านาย เลยี้ งเอเอฟโดยใชเ้ ทคนคิ ของฝรง่ั เอามาเลย้ี งไสเ้ ดอื นไทยไม่ได้ ตวั เอง บรหิ ารเวลาตวั เองได้ มเี วลาไดห้ าความรเู้ พม่ิ ไดเ้ จอผคู้ น ไสเ้ ดอื นฝร่งั เล้ยี งแห้ง แต่ไส้เดอื นไทยเลยี้ งเปยี ก เมอ่ื เลีย้ งเปียก ในแวดวงเดยี วกนั ท�ำใหเ้ ปิดโลกความรู้และการท�ำธุรกิจ เวลาเก็บ บางคนก็ไปใสเ่ คร่อื งหมนุ เหมือนกระสวยเพอื่ จะรอ่ น เอาป๋ยุ ออกมา ข้ีตาแรม่ ันเปียก เอาไปร่อน มันกต็ ิด คนก็จะไป รู้ให้ลกึ “ปยุ๋ มูลไสเ้ ดือนดนิ ” จับตลาดได้ เลี้ยงเอเอฟมากกว่า ถ้าเลี้ยงเอเอฟ ก็ต้องมีตลาดของปุ๋ย ไส้เดือนเอเอฟและต้องยอมรับว่าปุ๋ยท่ีได้ธาตุอาหารไม่เท่า จากการฝึกฝนและประสบการณ์การเลี้ยงไส้เดือนดิน ขตี้ าแร่ แมจ้ ะเลย้ี งอาหารแบบเดยี วกนั เวลาเทา่ กนั ธาตอุ าหาร คุณเจ๊ียบพบความแตกต่างของปุ๋ยท่ีได้จากไส้เดือนสายพันธุ์ ท่ีได้จากมูลไม่เท่ากัน การหาตลาดก็ต้องเป็นอีกแบบหน่ึง เอเอฟ (African Nightcrawler) และสายพนั ธข์ุ ต้ี าแรซ่ ง่ึ เปน็ พนั ธ์ุ ไม่อย่างนนั้ คนซอ้ื ไปใชแ้ ล้วไมด่ ี ตลาดก็เสีย” พ้ืนเมืองบา้ นเรา “คนเลี้ยงขี้ตาแร่น้อยมาก อาจเพราะการท�ำตลาด เรม่ิ ตน้ ของการเลย้ี งเอเอฟทเี่ นน้ วา่ เลย้ี งงา่ ย ใชข้ วี้ วั อยา่ งเดยี ว ไม่เหน่ือย และได้ปุ๋ยเยอะมาก แต่จะพบว่าคุณภาพปุ๋ยที่ได้ไม่ เหมอื นกนั กวา่ ผู้ใชจ้ ะรกู้ น็ าน และผซู้ อื้ แยกไมอ่ อกวา่ ปยุ๋ อนั ไหน มาจากข้ตี าแร่หรอื เอเอฟ”

เทคโนโลยีด้านการจัดการดนิ คุณเจ๊ียบบอกว่า ปุ๋ยไส้เดือนดินจากสายพันธุ์เอเอฟ มธี าตอุ าหารแตน่ อ้ ย เหมาะทจี่ ะใชส้ �ำหรบั เพาะกลา้ ตน้ ไมจ้ ะได้ แข็งแรงตั้งแต่ต้นยังเล็กๆ เม่ือต้นไม้โตขึ้นต้องการออกดอกผล หากใช้ปุ๋ยจากเอเอฟธาตุอาหารจะไม่พอ ฟาร์มไม้งามของคุณเจี๊ยบนอกจากผลิตปุ๋ยมูลไส้เดือน ดนิ และนำ�้ หมกั มูลไสเ้ ดอื นดินแลว้ คุณเจี๊ยบยังจ�ำหน่ายไสเ้ ดือน สายพนั ธข์ุ ตี้ าแรด่ ว้ ยในราคากโิ ลกรมั ละ 800 บาท โดยมเี งอ่ื นไข ทสี่ �ำคญั คือ ตอ้ งมารับเองท่ฟี ารม์ “ทบี่ อกวา่ ใสถ่ งุ กระสอบสง่ ทางรถไฟได้อนั นน้ั คอื เอเอฟ เพราะว่าเอเอฟอยู่ในที่ชื้นได้ แต่ขึ้ตาแร่ต้องมีน�้ำแฉะๆ เมื่อ ขนส่งใส่ลัง ลังเป่ือย ลังแตก เขาจะหลุดออกมา ดังนนั้ คนทค่ี ดิ จะเล้ียงก็ต้องมีใจรักท่ีจะมารับเอง และคนท่ีมาซ้ือท่ีฟาร์ม เรา อย่างไรก็ตาม คุณเจี๊ยบมองว่าการเล้ียงไส้เดือนดิน จะชั่งน�้ำหนักไส้เดือนให้เห็นก่อน เพราะไส้เดือนมีจุดอ่อน ไมไ่ ดห้ ยดุ ทข่ี ายเปน็ ปยุ๋ นำ�้ และตวั แตต่ อ้ งตอ่ ยอดท�ำอยา่ งอนื่ เพมิ่ อย่างหน่ึงคือเมื่อเขาตกใจ เขาจะบีบน้�ำออกจากตัว สมมติ ชง่ั ไป 1 กโิ ลกรมั ระหวา่ งนงั่ รถกลบั ไป รถสะเทอื น ไสเ้ ดอื นตกใจ “ตอนน้ีท�ำดินปลูกโดยผสมปุ๋ยไส้เดือนดินวางขายที่ เขาจะบบี นำ้� ออกจากตวั นำ�้ หนกั จะลดหายไป เมอ่ื ไปถงึ ปลายทาง หน้าฟาร์มและก�ำลังอยู่ระหว่างปรับขนาดถุงเพื่อจ�ำหน่ายใน เหลอื 7 ขดี บางทีไปไกลถงึ เชยี งราย จะเหลอื ครงึ่ หนง่ึ ตวั จะผอม เลมอนฟาร์ม อีกหน่ึงอย่างท่ีอยากท�ำคือ เพาะกล้า ตอนนี้มี เพราะฉะนั้นเราจะแจง้ ใหล้ กู คา้ ทราบกอ่ น” บริษัทที่รับเพาะกล้าอย่างเดียว ซึ่งถ้าใช้พีทมอส ต้นทุนแพง นอกจากนี้คุณเจ๊ียบยังเลี้ยงไส้เดือนสายพันธุ์เอเอฟไว้ มาก พี่คิดว่าอยากจะเอามูลไส้เดือนเอเอฟมาขายเป็นเฉพาะ ด้วยเพื่อจ�ำหน่ายเป็นอาหารเลี้ยงปลาสวยงามหรือกุ้ง กิโลกรัม วัสดุเพาะกล้า แต่ก็ต้องรอความพร้อมหลายๆ ด้าน ต้องมี ละ 500 บาท แต่จะแบง่ ขายเป็นขีด เพราะคนทีเ่ อาไปเล้ียงจะ พน้ื ทแี่ ละมคี วามเชย่ี วชาญเรอื่ งการเพาะเมลด็ พนั ธแ์ุ ตล่ ะชนดิ ” ใชใ้ ห้อาหารแต่ละครัง้ ไม่มาก กว่าสิบปีท่ีคุณนุจรีได้รู้จักส่ิงมีชีวิตตัวเล็กๆ นี้อย่าง ลกึ ซงึ้ จนมคี วามเชย่ี วชาญและเปน็ วทิ ยากรใหค้ �ำแนะน�ำ แบง่ ปนั ความรใู้ หผ้ ูส้ นใจจะผลติ ปยุ๋ มูลไสเ้ ดือนดนิ โดยไมม่ องว่าจะเพมิ่ ตอ่ ยอด “ป๋ยุ ไสเ้ ดอื นดิน” คูแ่ ขง่ แม้ผลิตภัณฑ์ภายใต้แบรนด์ “เพื่อนดิน” จะออกสู่ “ไส้เดือนดินเป็นอะไรที่ดีมากๆ คนไทยทุกคนควรจะ ตลาดมาเกือบสิบปี แต่ไม่พบตามร้านต้นไม้ท่ัวไป เจ้าของ เลยี้ งไสเ้ ดอื น ไมม่ อี ะไรเสยี เลย นอกจากเปน็ ปยุ๋ เปน็ อาหารปลา ผลติ ภัณฑก์ ลับเลือกวางขายเฉพาะท่เี ลมอนฟารม์ เทา่ นั้น แล้ว มูลไส้เดือนมีจุลินทรีย์ช่วยบ�ำบัดน้�ำเสียได้อีกด้วย ถ้า “มูลไส้เดือนเป็นอินทรีย์ 100% ถ้ามีเคมี ไส้เดือนอยู่ อาจารย์อานัฐไม่เผยแพร่เร่ืองไส้เดือนดิน พี่ก็ไม่ได้รู้จัก ไม่มี ไม่ได้ มนั ตาย ไสเ้ ดอื นเปน็ สตั วท์ ่ีไมม่ เี ปลอื ก ไมม่ เี กลด็ ไมม่ อี ะไร โอกาสมรี ายได้ พ่คี ดิ วา่ เราตอ้ งแบ่งปันกัน ต้องฝกึ ฝมี อื ตวั เอง ป้องกันตัว เลมอนฟาร์มเป็นอินทรีย์และมีกระบวนการตรวจ ท�ำออกมาใหด้ ี คดิ วา่ ไปแขง่ กนั ตรงนน้ั ดกี วา่ ท�ำแลว้ สรา้ งอาชพี สอบฟาร์ม จึงมีความน่าเชื่อถือ เมื่อคนเช่ือถือเลมอนฟาร์ม ท�ำไป” เราเอาสินค้าวางร้านน้ี สินค้าเราก็น่าเช่ือถือด้วย นอกจาก เลมอนฟาร์มก็ไม่ได้ท�ำตลาดเพิ่มแล้ว เพราะคนเข้าตลาดน้ี ฝา่มยาจกดั ขกึน้ าไรมค่อวยาามกรเ้แู พข่งอื่ เเรก่ือษงตรราแคลาะ”ชมุ ชน สถาบนั การจดั การเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมเกษตร (สท.) สำ� นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.)

99 รายการ Club Farmday The Series ตอน สรา้ งธรุ กจิ จากงานวิจยั

เทคโนโลยีการแปรรูปผลผลติ ทางการเกษตร