ศึกษาในแผนกวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเมืองโลชานน์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2481 ได้เสด็จนิวัตกลบั ประเทศ ไทยพร้อมดว้ ยพระบรมเชษฐาธริ าช พระบรมราชชนนี และสมเดจ็ พระนางเจา้ พนี่ างเธอ ครองราชย์ ขณะท่ีพระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจา้ ฟา้ ภมู ิพลอดุลยเดช พระชนมพรรษา 18 พรรษา รัฐบาลได้ กราบบังคมทูลอัญเชิญขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 9 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายนน้ัน ทรงเฉลิมพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และรัฐบาลได้แต่งต้ัง ผู้สาเร็จราชการ บริหารราชการแผ่นดินแทนพระองค์ เนื่องจากยังทรงพระเยาว์ และต้องทรงศึกษาต่อ ณ ต่างประเทศ เม่ือวันท่ี 19 สิงหาคม 2489 ได้เสด็จพระราชดาเนินกลับไปทรงศึกษาต่อ ณ กรุงโล ซานน์ แม้พระองค์จะทรงโปรดวิชาวิศวกรรมศาสตร์ แต่เพ่ือประโยชน์ในการปกครองประเทศได้ทรง เปลี่ยนมาศึกษาวิชาการปกครองแทน เช่น วิชากฎหมาย อักษรศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ ภูมิศาสตร์ นอกจากนี้ ทรงศึกษา และฝึกฝนการดนตรีด้วยพระองค์เองด้วย ใน พ.ศ. 2491 ระหว่างทรง ศึกษาอยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์น้ัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงขับรถยนต์ไปทรง ร่วมงานท่ีสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงปารีส ได้ทรงพบและมีพระราชหฤทัยสนิทเสน่หาในหม่อม ราชวงศ์สิริกิติ์ กติ ิยากร ธิดาของหมอ่ มเจา้ นกั ขตั รมงคล กติ ยิ ากร เอกอคั รราชทตู ไทยประจากรุงปารีส ในปีเดียวกันน้ีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์อย่างรุนแรง ทรง บาดเจ็บที่พระพักตร์ พระเนตรขวา และพระเศียร ทรงเข้ารับการรักษาท่ีโรงพยาบาลมอร์เซส์ โปรดฯ ให้ หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์มาเฝ้าฯ ถวายการดูแลอย่างใกล้ชิดพระสัมพันธภาพจึงแน่นแฟ้นข้ึน และต่อมาได้ทรง หมั้นหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ เมื่อวันท่ี 12 สิงหาคม 2492 โดยได้พระราชทานพระธามรงค์วงที่สมเด็จพระ บรมราชชนกหม้ันสมเดจ็ พระราชชนนี สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงได้รับการอภิบาลอย่างดีย่ิงจากสมเด็จพระราชชนนี จึงมีพระ ปรีชาสามารถปราดเปรื่องและมีพระจริยวัตรเปี่ยมด้วยคุณธรรมทุกประการ ซึ่งน้อมนาให้พระองค์เป็น พระมหากษัตริย์ผู้ทรงดารงสิริราชสมบัติเพียบพร้อมด้วยทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตรธรรม และราช สังคหวัตถุ ทรงเจริญด้วยพระเกียรติคุณบุญญาธิการเจิดจารัส ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพ่ือ ประโยชน์สขุ ของปวงชน เป็นทีแ่ ซ่ซอ้ งสรรเสรญิ ทุกทิศานทุ ศิ ในเวลาตอ่ มาตราบจนปจั จบุ นั พระราชพิธรี าชาภิเษกสมรส เมื่อวันท่ี 27 กุมภาพันธ์ 2493 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราช ดาเนนิ กลบั ประเทศไทย โปรดเกลา้ ฯใหต้ งั้ การพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ระหว่างวันท่ี 28-30 มีนาคม 2493 และเม่ือวันท่ี 28 เมษายน 2493 ทรง ประกอบพิธีราชาภิเษกสมรส กับ หมอ่ มราชวงศ์สริ ิกิต์ิ กิตยิ ากร ท่ีวังสระปทมุ โดยสมเดจ็ พระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวสาอัยยิกาเจ้า พระราชทานหล่ังน้าพระมหาสังข์ ทรงจดทะเบียนสมรสตามกฎหมาย เช่นเดยี วกบั ประชาชน และได้ทรงสถาปนาหม่อมราชวงศ์สิรกิ ิต์ิ ขนึ้ เป็น สมเด็จพระราชนิ สี ริ ิกติ ์ิ
หลังจากน้ัน ไดเ้ สด็จไปประทับพักผ่อน ณ พระราชวังไกลกังวล หวั หิน และทน่ี ่ีเป็นแหล่ง เกิดโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริโครงการแรกคือ พระราชทาน “ถนนสายห้วยมงคล” ให้แก่ “ลุง รวย” และชาวบ้านที่มาช่วยกันเข็นรถพระที่นั่งขึ้นจากหล่มดิน ท้ังนี้เพราะแม้ “ห้วยมงคล” จะอยู่ห่าง อาเภอหัวหิน เพียง 20 กิโลเมตร แต่ไม่มีถนนหนทาง ชาวบ้านได้รับความเดือดร้อนในการดารงชีวิตมาก ถนนสายห้วยมงคลน้ีจึงเป็นถนนสายสาคัญท่ีนาไปสู่โครงการในพระราชดาริ เพื่อบาบัดทุกข์ บารุงสุขแก่ พสกนกิ รอีกจานวนมากกวา่ 2,000 โครงการในปัจจบุ นั พระบรมราชาภิเษก วนั ท่ี 5 พฤษภาคม 2493 สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ภมู ิพลอดุลยเดชไดท้ รงประกอบพระราช พิธีบรมราชาภิเษกตามโบราณขัตติยราชประเพณี ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระมหาราชวัง เฉลิมพระ ปรมาภิไธยตามจารกึ ในพระสุพรรณบัฏว่า “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหติ ลาธิเบ ศร รามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร” และได้พระราชทานพระปฐมบรมราช โองการเป็นสัจวาจาว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพ่ือประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม” ในการน้ีได้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศ สมเดจ็ พระราชินสี ริ กิ ิต์ิ พระอคั รมเหสีเปน็ สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินี วันท่ี 5 มิถุนายน 2493 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพร้อม ด้วย สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินี ไปยังสวิตเซอร์แลนด์อีกคร้ังเพื่อทรงรักษาพระสุขภาพ และเสด็จ พระราชดาเนินนิวตั ิพระนคร เมื่อ 2 ธันวาคม 2494 ประทับ ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน และพระท่ี นั่งอมั พรสถาน ทงั้ สองพระองค์มีพระราชธิดา และพระราชโอรส 4 พระองค์ดงั น้ี 1. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ประสูติเม่ือ 5 เมษายน 2494 ณ โรงพยาบาลมองซัวน่ี โลซานน์
2. สมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชริ าลงกรณฯ์ ประสตู เิ มอ่ื 28 กรกฎาคม 2495 ณ พระท่ีน่ังอัมพรสถาน ต่อมา ทรงได้รับสถาปนาเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกฎุ ราชกุมาร เมอื่ 28 กรกฎาคม 2515 3. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลนโสภาคย์ ประสูติ เมื่อ 2 เมษายน 2498 ณ พระท่ีนั่งอัมพรสถาน ภายหลังทรงได้รับสถาปนาเป็น สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2520 4. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูติเม่ือ 4 กรกฎาคม 2500 ณ พระทน่ี งั่ อมั พรสถาน ทรงพระผนวช * เม่ือวันที่ 22 ตุลาคม 2499 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระผนวช ณ วัดพระ ศรรี ัตนศาสดาราม ทรงจาพรรษา ณ พระตาหนกั ปนั้ หย่า วัดบวรนเิ วศวหิ าร ปฏิบตั ิพระศาสนกิจ เป็นเวลา 15 วัน ระหว่างน้ี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินี ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ต่อมาจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ ในรชั กาลน้ี ได้ทรงพระกรุณาสถาปนาพระอิสริยยศสมเด็จพระบรมชนกนาถข้ึนเป็น สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลย
เดชวิกรม พระบรมราชชนก ทรงสถาปนา สมเด็จพระราชชนนี เป็น สมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราช ชนนี ทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา เป็น สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า กัลยา ณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และทรงประกอบพระราชพิธีเฉลิมพระปรมาภิไธย สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวอานนั ทมหิดลใหม่ เมื่อวันท่ี 8 มิถนุ ายน 2539 เพื่อให้สมพระเกียรติตามโบราณขัตติยราชประเพณี ท้ังนี้ด้วยพระจริยวัตร อันเปี่ยมด้วยพระกตัญญู กตเวทติ าธรรมอนั เป็นทแี่ ซซ่ ้องสรรเสริญพระปรมาภิไธยใหมท่ ี่ ทรงสถาปนาคอื “พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหดิ ล อดุลยเดชวิมลรามาธบิ ดี จุฬาลงกรณ ราชปรียวรนัดดา มหิตลานเรศวรางกูร ไอศูรยสันตติวงศวิสุทธ์ วรุตมขัตติยศักตอรรคอุดม จักรีบรมราชวง ศนิวิฐ ทศพิธราชธรรมอุกฤษฎนิบุณ อดุลยกฤษฎาภินิหารรังสฤษฏ์ สุสาธิตบูรพาธิการ ไพศาลเกียรติคุณ อดุลพเิ ศษ สรรพเทเวศรานรุ ักษ์ ธญั อรรคลักษณวจิ ติ ร โสภาคย์สรรพางค์ มหาชโนตมงคประณตบาทบงกช ยุคล อเนกนิกรชนสโมสรสมมต ประสิทธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปฏลเศวตฉัตราดิฉัตร สรรพรัฐทศทิศวชิ ิตไชย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติ อาชาว ไศรย พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ วิศิษฏศักตอัครนเรศราธิบดี เมตตากรุณา สีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการ สกลไพศาลมหารษั ฎาธิบดี พระอฐั มรามาธิบดินทรสยามนิ ทราธริ าช บรมนาถบพิตร” พระราชกรณียกจิ ตั้งแต่พุทธศักราช 2502 เป็นต้นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิตพิ์ ระบรมราชนิ ีนาถ ได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงกระชับสัมพันธไมตรีกับประเทศตา่ ง ๆ ท้ังในยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย และ เอเชีย และได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเย่ียมราษฎรในภูมิภาค ต่างๆ ทุกภาคทรงประจักษ์ในปัญหาของราษฎรในชนบทที่ดารงชีวิตด้วยความยากจน ลาเค็ญและด้อย โอกาส ได้ทรงพระวิริยะอุตสาหะหาทางแก้ปัญหาตลอดมาตราบจนปัจจบุ ัน อาจกล่าวได้วา่ ทุกหนทุกแหง่ บนผืนแผ่นดินไทยท่ีรอยพระบาทได้ประทับลง ได้ทรงขจัดทุกข์ยากนาความผาสุกและทรงยกฐานะความ เป็นอยู่ของราษฎร ให้ดีขึ้นด้วยพระบุญญาธิการและพระปรีชาสามารถปราดเปรื่อง พร้อมด้วยสายพระ เนตรอันยาวไกล ทรงอุทิศพระองค์เพื่อประโยชน์สุขของราษฎร และเพ่ือความเจริญพัฒนาของ ประเทศชาตติ ลอดระยะเวลาโดยมิได้ทรงคานงึ ประโยชนส์ ุขสว่ นพระองคเ์ ลย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานโครงการนานัปการมากกว่า 2,000 โครงการ ทั้งการแพทยส์ าธารณสขุ การเกษตร การชลประทาน การพัฒนาที่ดิน การศึกษา การพระศาสนา การสังคมวัฒนธรรม การคมนาคม ตลอดจนการเศรษฐกิจเพ่ือประโยชน์สุขของพสกนิกรในชนบท ทั้งยัง ทรงขจัดปัญหาทุกข์ยากของประชาชนในชุมชนเมือง เช่น ทรงแก้ปัญหาการจราจรอุทกภัยและปัญหาน้า เน่าเสียในปัจจบุ ัน ไดท้ รงริเร่มิ โครงการการช่วยสงเคราะห์ และอนรุ ักษ์ช้างของไทยอกี ดว้ ย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตรากตราพระวรกายทรงงานอย่างมิทรงเหน็ดเหนื่อย แม้ในยามทรงพระประชวร ก็มิไดท้ รงหยุดย้ังพระราชดาริเพ่อื ขจัดความทุกข์ผดุงสุขแก่พสกนิกร กลางแดด แผดกล้าพระเสโทหลง่ั ชุ่มพระพกั ตร์ และพระวรกายหยาดตกต้องผืนปฐพปี ระดุจน้าทิพย์มนตช์ โลมแผ่นดิน แล้งร้าง ให้กลบั คนื ความอดุ มสมบรู ณน์ บั แตเ่ สดจ็ เถลงิ ถวัลยราชตราบจนปัจจบุ นั แม้ในยามประเทศประสบภาวะเศรษฐกิจ ต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2539 เป็นต้นมา ก็ได้ พระราชทานแนวทางดารงชีพแบบ “เศรษฐกิจพอเพียง” และ “ทฤษฎีใหม่” ให้ราษฎรได้พึ่งตนเอง ใช้ผนื แผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุดประกอบอาชีพอยู่กินตามอัตภาพซ่ึงราษฎรได้ยึดถือปฏิบัติเป็นผลดีอยู่ใน ปัจจบุ นั พระอจั ฉริยภาพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานความรักอันยิ่งใหญ่แก่อาณาประชาราษฎร์ พระราชภารกิจอนั หนักเพื่อประโยชน์สุขของอาณาประชาราษฎร์ ปรากฏเปน็ ที่ประจักษ์เทิดทูนพระเกียรติ คุณท้ังในหมู่ชาวไทยและชาวโลก จึงทรงได้รับการสดุดีและการทูลเกล้าฯ ถวายปริญญากิตติมศักดิ์เป็น จานวนมากทุกสาขาวิชาการ ท้ังยังมีพระอัจฉริยภาพด้านดนตรีอย่างสูงส่ง ทรงพระราชนิพนธ์เพลงอัน ไพเราะนบั แต่พระเยาว์จนถึงปจั จุบันรวม 47 เพลง ซง่ึ นักดนตรที งั้ ไทย และตา่ งประเทศนาไปบรรเลงอย่าง แพรห่ ลาย เป็นที่ประจักษ์ในพระอัจฉริยภาพจนสถาบันดนตรใี นออสเตรเลยี ได้ทูลเกล้าฯ ถวายสมาชกิ ภาพ กิตติมศักดิ์แด่พระองค์ นอกจากน้ันยังทรงเป็นนักกีฬาชนะเลิศรางวลั เหรียญทองในการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ทรงได้รับยกย่องเป็น “อัครศิลปิน” ของชาตินอกจากทรงพระปรีชาสามารถด้านดนตรีแล้วยังทรง สร้างสรรค์งานจิตรกรรมและวรรณกรรมอันทรงคุณค่าไว้เป็นทรัพย์สินทางปัญญาของชาติ เช่น ทรงพระ ราชนิพนธ์ แปลเร่ือง ติโตนายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระและพระราชนิพนธ์เร่ืองชาดกพระมหาชนก พระราชทานคติธรรมในการดารงชวี ิตดว้ ยความวิริยะอุตสาหะอดทนจนพบความสาเร็จแกพ่ สกนกิ รทั้งปวง ปวงชนชาวไทยต่างมีความจงรักภักดีเป็นที่ยิ่งดังปรากฏว่าในวาระสาคัญ เช่น ศุภวาระ เถลิงถวัลยราชครบ 25 ปี พระราชพิธีรัชดาภิเษก 9 มิถุนายน 2514 พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระ ชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2530 พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษกทรงดารงสิริราชสมบัติยาวนานกว่า พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ 2 กรกฎาคม 2531 มหามงคลสมัยฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี 9 มิถุนายน 2539 และในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542 รัฐบาลและประชาชนชาวไทยได้พร้อมใจกันจัดงานเฉลิมพระเกียรติและถวายพระพรชัยมงคลด้วยความ กตญั ญกู ตเวที สานึกในพระมหากรณุ าธิคุณลน้ เกลา้ ลน้ กระหมอ่ มอยา่ งสมพระเกียรตทิ ุกวาระ
รชั กาลที่ 10 พระบาทสมเดจ็ พรปรเมนทรรามาธบิ ดีศรีสินทรมหาวชริ าลงกรณพระวชิ รเกลา้ เจา้ อย่หู ัว ทรงพระราชสมภพ วันจันทร์ท่ี 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 เมื่อเวลา 17 นาฬิกา 45 นาที ณ พระท่ีน่ัง อัมพรสถาน พระราชวังดุสิต พระราชโอรสเพียงพระองค์เดียว ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ พลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชสมภพ ตรงกับ วันจันทร์ ข้ึน 6 ค่า เดือน 9 ปีมะโรง จัตวาศก อธิกวาร จุลศักราช 1314 นับเป็นปีที่ 7 แห่งการเสด็จขึ้นครองราชย์ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั รชั กาลท่ี 9 พระนามเมื่อแรกประสูติว่า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ บรมจักรยาดิศรสันตติวงศ เทเวศรธารงสุบริบาล อภิคุณูประการมหิตลาดุลเดช ภูมิพลนเรศวรางกูร กิตติสิริสมบูรณ์สวางควัฒน์ บรมขัตติยราชกุมาร ขณะเม่ือทรงพระราชสมภพนั้น ประชาชนชาวไทยทั้งประเทศที่เฝ้ารอคอยพระ ประสูติการต่างปลาบปลื้มปีติ ช่ืนชมโสมนัส แซ่ซ้องในพระบุญญาธิการ ดังท่ี ศาสตราจารย์หม่อมราชวงศ์ สุมนชาติ สวัสดิกุล ได้บรรยายถึงบรรยากาศก่อนเวลาเสด็จพระราชสมภพ ตราบจนถึงนาทีอันเป็นมงคล ฤกษ์ว่า “...วันนี้ คร้ึมฟ้าครึ้มฝนตั้งแต่เช้า ฝนไม่ได้ตกมานาน นายแพทย์ผู้ถวายการประสูติเข้าประจาที่ สักครู่ก็ประสูติพระราชกุมาร เวลา 17 นาฬิกา กับ 45 นาที ในนาทีเดียวกันนั้นเอง ฝนท่ีแล้งมาตลอดฤดู ก็เริ่มโปรยปรายละอองลงมา ดูคล้ายๆ ฟ้าก็รู้เห็นเป็นใจกับการประสูติครั้งนี้ อารามดีใจสมประสงค์ของ ดวงใจทุกๆ ดวง นายแพทย์ท่ีถวายการประสูติ ซึ่งพร้อมท่ีจะบอกแก่ที่ประชุม ณ พระที่นั่งอัมพรสถานว่า พระราชโอรส หรือ พระราชธิดา กล่าวออกมาด้วยเสียงอันตื่นเต้นกังวานว่า ผู้ชาย แทนที่จะว่า พระราช โอรส ฝนโปรยอยตู่ ลอดเวลา แตรสงั ข์ดรุ ยิ างค์เริม่ ประโคม ทหารบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบาร มีปนื ใหญ่ ท้ังบกและเรือยิงสะเทือนเลื่อนลั่น เสียงไชโยโห่ร้องก็ดังอยู่สนั่นหว่ันไหว สมใจประชาชนแล้ว...ดวงใจทุก
ดวงมีความสุข...” นบั แตน่ ้นั มา ประชาชนชาวไทยต่างเฝ้าติดตามข่าวเกี่ยวกับสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้า ฟ้าวชิราลงกรณฯ ด้วยความจงรักภักดี และต่างปลาบปล้ืมปีติ ชื่นชมโสมนัสย่ิงขึ้นเม่ือพระองค์ทรงเจริญ พระชันษา มีพระสุขภาพพลานามัยแข็งแรง เพียบพร้อมด้วยพระราชจริยวัตรและพระปรีชาสามารถเปน็ ที่ ประจักษต์ ลอดมา ทรงมีพระเชษฐภคินี 1 พระองค์ คือ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนา พรรณวดี และพระขนิษฐภคินี 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา เจา้ ฟ้ามหาจักรสี ิรินธร รฐั สีมา คุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกมุ ารี และสมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ เจ้าฟา้ จฬุ าภรณวลัยลักษณ์ อคั รราชกมุ ารี สมเดจ็ พระยพุ ราช วันท่ี 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ปวงชนชาวไทยต่างปลาบปลื้มปีติยินดีเป็นอย่างย่ิงอีก คร้งั หนงึ่ เมอ่ื พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ไดม้ พี ระบรมราชโองการประกาศสถาปนา สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณฯ ข้ึนดารงพระอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม มกุฎราชกมุ าร มีพระนามาภิไธย ตามจารึกพระสพุ รรณบัฎวา่ “สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สิริกิตยสม บูรณสวางควัฒน์ วรขัตติยราชสันตติวงศ์ มหิตลพงศอดุลยเดช จักรีนเรศยุพราชวิสุทธิ สยาม มกฎุ ราชกุมาร” ในมงคลวาระนั้น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้ถวายสัตย์ ปฏิญาณในการพธิ ีถือน้าพระพิพัฒน์สัตยา ณ พระอุโบสถวัดพระศรรี ัตนศาสดาราม ซ่ึงแสดงถงึ นา้ พระราช หฤทัยที่ทรงมุ่งม่ันจะบาเพ็ญพระราชกรณียกิจเพื่อชาติบ้านเมือง และประชาชนชาวไทย เป็นท่ีซาบซ้ึง ประทบั ใจพสกนิกรยงิ่ ดงั ความวา่ “ข้าพระพุทธเจ้าขอพระราชทานกระทาสัตย์ปฏิญาณสาบานต่อประเทศชาติและ ประชาชนชาวไทยเฉพาะพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เฉพาะพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ท่ามกลาง สนั นบิ าตนว้ี า่ ขา้ พเจา้ ผเู้ ป็น สยามมกุฎราชกมุ าร จะรักษาเกยี รติยศและอิสริยศักดิ์ ซึง่ ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ พระราชทานไว้ด้วยชีวิต จะภักดีตอ่ ชาตบิ ้านเมือง จะซ่ือสัตย์ต่อประชาชน จะปฏบิ ัติภาระหนา้ ท่ีทุก อย่าง โดยเตม็ กาลงั สติปัญญาความสามารถ และโดยความเสียสละ เพอ่ื ความเจรญิ สงบสุขและความมั่นคง ไพบูลย์ของประเทศไทย จนตราบเทา่ ชีวิตร่างกายจะหาไม่” การศกึ ษา สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงได้รับการศึกษาระดับอนุบาล ศึกษาท่ีพระที่น่ังอุดรภาค พระราชวังดุสิต และทรงเข้ารับการศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับ มัธยมศึกษา โรงเรียนจิตรลดา ระหว่าง พ.ศ. 2499-2505 ทรงศึกษาที่ประเทศอังกฤษระหว่าง พ.ศ. 2509-2513 หลงั จากน้ันได้ทรงศกึ ษาระดับเตรียมทหารท่ีโรงเรยี นคิงส์ นครซดิ นยี ์ ประเทศออสเตรเลีย พ.ศ. 2515 ทรงเข้าศึกษาในวิทยาลัยการทหารช้ันสูงท่ีวิทยาลัยการทหารดันทรูน กรุงแคนเบอร์รา หลักสูตรของวิทยาลัยการทหารแห่งนี้แบ่งออกเป็น 2 ภาค คือ ภาควิชาการทหาร รับผิดชอบและ ดาเนินการโดยกองทัพบกออสเตรเลีย ส่วนอีกภาคหน่ึงเป็นการศึกษาวิชาสามัญ ระดับปริญญาตรี โดย มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์รับผิดชอบวางหลักสูตร ทรงเลือกศึกษาในสาขาวิชาอักษรศาสตร์ ทรงสาเร็จ การศกึ ษาเมื่อ พ.ศ. 2519 สาหรับการศึกษาทางการทหาร พ.ศ. 2519 ทรงเข้ารับการฝึกเพ่ิมเติมและทรงศึกษา งานด้านการทหารในประเทศออสเตรเลีย และทรงประจาการ ณ กองปฏิบัติการทางอากาศพิเศษที่นคร เพริ ธ์ ประเทศออสเตรเลยี
นอกจากน้ี ยังทรงศึกษาท่ีโรงเรยี นเสนาธิการทหารบกหลกั สูตรประจาชุดที่ 5-6 ระหว่าง พ . ศ . 2520-2521 แ ล ะ ท ร ง ไ ด้ รั บ ป ริ ญ ญ า นิ ติ ศ า ส ต ร บั ณ ฑิ ต ( เ กี ย ร ติ นิ ย ม อั น ดั บ 2) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เม่ือ พ.ศ. 2531 คร้ันถึง พ.ศ.2533 ทรงเข้ารับการศึกษา ณ วิทยาลัย ป้องกนั ราชอาณาจกั รแห่งสหราชอาณาจกั รดว้ ย พระราชโอรส-พระราชธดิ า พระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จา้ พัชรกติ ยิ าภา ประสูตเิ ม่ือวันท่ี 7 ธันวาคม พ.ศ. 2521 ณ พระท่ีนัง่ อมั พรสถาน พระราชวังดุสิต พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ ประสูติเมื่อวันท่ี 8 มกราคม พ.ศ. 2530 พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ ประสูติเมื่อวันท่ี 29 เมษายน พ.ศ. 2548 กาลเวลาผ่านไปได้เป็นท่ีประจักษ์ว่า ตลอดระยะเวลานับแต่ยังทรงพระเยาว์ตราบจน ปัจจุบัน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้ทรงยึดม่ันในพระปฏิญญา ทรงพระวิริย อุตสาหะ มุ่งมั่นปฏิบัติพระราชกรณียกิจนานัปการ เพื่อประเทศชาติและประชาชนชาวไทย โดยมิได้ย่อท้อ ดังปรากฏว่า สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้ทรงเจริญรอยตามเบ้ืองพระยุคลบาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในการ บาบัดทุกข์บารุงสุขแก่อาณาประชาราษฎร์ เมื่อยังทรงพระเยาว์ ได้โดยเสด็จพระบรมชนกนาถและสมเด็จ พระบรมราชชนนี ไปในการเย่ียมราษฎรในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศตลอดมา ทรงส่งั สมพระประสบการณ์ เกี่ยวกับบ้านเมืองและราษฎร ดังนั้น จึงทรงปฏิบัติพระราชภารกิจได้เป็นผลสาเร็จลุล่วง นับต้ังแต่ยังทรง พระเยาว์ เช่น เมื่อพระชนมพรรษา 11 พรรษา ได้ทรงนากองลูกเสือสารองโรงเรียนจิตรลดาเข้าร่วมพิธี สวนสนาม ลกู เสอื ไทย ณ สนามกฬี าแห่งชาติ และเมือ่ ทรงพระเจริญวัยได้ทรงปฏิบตั ิพระราชกรณียกิจด้าน ต่างๆ นานปั การ ท้ังทที่ รงปฏบิ ตั แิ ทนพระองค์ และทรงปฏิบัตใิ นส่วนพระองคเ์ อง พระราชกรณยี กิจทงั้ ปวง ล้วนมีการสร้างสรรค์ความผาสุกสงบแก่ประชาชน นาความเจริญไพบูลย์และความม่ันคงมาสู่ประเทศ เช่น ดา้ นการแพทย์และสาธารณสุข การศึกษา การศาล การสังคมสงเคราะห์ การพระศาสนา การตา่ งประเทศ การศกึ ษา ฯลฯ ดา้ นการแพทย์ และการสาธารณสุข ในด้านการแพทย์และการสาธารณสุขน้ัน ทรงตระหนักว่า สุขภาพพลานามัยอันดีของ ประชาชนเป็นปัจจัยสาคัญของการสร้างสรรค์ทรัพยากรบุคคลอันมีคุ ณภาพไว้เป็นพลังในการพัฒนา ประเทศ จึงสนพระราชหฤทัยในการประกอบพระราชกรณียกิจด้านการแพทย์และสาธารณสุข เช่น เมื่อ รัฐบาลได้น้อมเกล้าฯ ถวายโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช เน่ืองในพระราชพิธีอภิเษกสมรสจานวน 21 แห่ง ท่ัวทุกภูมิภาคของประเทศ พระองค์ก็ได้ทรงพระอุตสาหะเสด็จพร ะราชดาเนินไปทรงเย่ียม โรงพยาบาลสม่าเสมอ พระราชทานพระราชทรัพย์สนับสนุนให้มีอุปกรณ์การแพทย์ เคร่ืองมือเครื่องใช้ท่ี ทันสมยั เพ่อื สามารถใหบ้ ริการทีด่ แี ก่ประชาชน และเม่ือ พ.ศ. 2537 ทรงรับเป็นประธานกรรมการอานวยการจัดสร้างอาคารศูนย์ โรคหวั ใจ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ เป็นต้น
ดา้ นการศึกษา ในด้านการศึกษา สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงทราบดีว่า เยาวชนในถิ่นทุรกันดารยังด้อยโอกาสในการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ก่อต้ังโรงเรียนมัธยมศึกษาในถิ่น ทุรกันดาร 6 โรงเรียน ได้แก่โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา จังหวัดนครพนม กาแพงเพชร สุราษฎร์ธานี โรงเรียนมัธยมสิริวัณวรี จังหวัดอุดรธานี สงขลา และฉะเชิงเทรา ได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงวางศิลา ฤกษ์เอง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับโรงเรียนไว้ในพระราชูปถัมภ์ พระราชทานวัสดุอุปกรณ์การศึกษา อนั ทันสมยั เชน่ คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ วดี ทิ ัศน์ พระราชทานคาแนะนา และทรงสง่ เสริมใหโ้ รงเรยี นดาเนิน โครงการอันเป็นประโยชน์แก่นักเรียน เช่น โครงการอาชีพอิสระ เพื่อให้เยาวชนใช้ความรู้ประกอบอาชีพ เลี้ยงตนและครอบครัวได้เมื่อจบการศึกษา ได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยี่ยมโรงเรียน ทรงติดตามผล การศึกษา และโปรดเกลา้ ฯ ให้พระราชธิดาทั้งสองพระองค์ทรงร่วมกิจกรรมของโรงเรยี นต่างๆ เสมอ ทั้งน้ี ด้วยนา้ พระหฤทัยที่ทรงพระเมตตาห่วงใยเยาวชนผดู้ อ้ ยโอกาส สว่ นในด้านอุดมศกึ ษา พระองคไ์ ด้เสด็จพระ ราชดาเนนิ แทนพระองค์ไปพระราชทานปรญิ ญาบัตรแก่บัณฑติ ของมหาวทิ ยาลยั ต่างๆ ปีละเปน็ จานวนมาก ทุกปี ดา้ นสงั คมสงเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงพระกรุณาห่วงใยในการพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะเยาวชนที่ด้อยโอกาสและขาดแคลน ได้ทรงพระอุตสาหะเสด็จพระ ราชดาเนินไปทรงเย่ียมชุมชนแออัดในกรุงเทพฯ หลายแห่ง เช่น ชุมชนแออัดเขตพระโขนง เขตคลองเตย เขตยานนาวา เป็นต้น ทรงพระกรุณาพระราชทานเคร่ืองอุปโภคบริโภค เครอื่ งกฬี า เครอื่ งดับเพลิง โปรดเกล้าฯ ให้กรมทหารในบังคับบัญชาของพระองค์ ร่วมกับประชาชนพัฒนาสิ่งแวดลอ้ ม ทั้งยังพระราชทานพระราช ทรัพย์สนับสนุนโครงการของชุมชน เช่น โครงการพัฒนาเด็กเล็กที่ขาดแคลน โครงการปราบปรามยาเสพ ติดในหมู่เยาวชนชุมชนแออัดคลองเตย เพื่อให้เยาวชนผู้ด้อยโอกาสเหล่าน้ันเติบโตเป็นพลเมืองดีและเป็น ทรัพยากรบุคคลทมี่ คี ณุ คา่ ในการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต ดา้ นการตา่ งประเทศ การมีสัมพันธไมตรีอันดีกับมิตรประเทศ เป็นรากฐานสาคัญของความสงบสุขและความ มั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ก็ได้ทรงพระวิริย อุตสาหะประกอบพระราชกรณียกิจสาคัญๆ ในการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศต่างๆ เสมอมา ได้เสด็จ พระราชดาเนินแทนพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ไปทรงเยือนมิตรประเทศท่ัวทุกทวีปอย่างเป็นทางการเป็นประจาทุกปีปีละหลายครั้ง เช่น เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยือนประเทศอิตาลี และทรงพบพระสันตะปาปา เมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2525 ระหว่างวันท่ี 23 กุมภาพันธ์ ถึง 8 มีนาคม พ.ศ. 2530 เสด็จพระราชดาเนินไปทรง เยือนสาธารณรัฐประชาชนจีนอย่างเป็นทางการ ทรงพบนายเติ้ง เส่ียวผิง ณ มหาศาลาประชาคม กรุง ปกั ก่ิง เสด็จพระราชดาเนนิ ทรงเยือนประเทศญี่ปุ่น ทรงพบสมเดจ็ พระจกั รพรรดิ และสมเด็จพระจักรพรรดิ นี ซ่งึ ประเทศตา่ งๆ ทีเ่ สดจ็ พระราชดาเนินไปทรงเจรญิ สัมพันธไมตรีในฐานะผู้แทนพระองค์และในสว่ นของ พระองค์เอง มีอีกเป็นจานวนมาก เช่น อิหร่าน เนปาล สาธารณรัฐสังคมนิยมศรีลังกา สหพันธ์เอกวาดอร์
สาธารณรฐั เฮลเลนกิ (กรีซ) ออสเตรเลีย และเมือ่ วันท่ี 2-4 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ได้เสดจ็ พระราชดาเนิน พร้อมด้วยพระราชธดิ าทงั้ สองพระองค์ไปทรงเยือนประเทศสิงคโปร์อยา่ งเปน็ ทางการ ในการเสด็จพระราชดาเนินไปทุกคร้ัง ต้องทรงเตรียมพระองค์ด้วยการทรงศึกษาหา ความรู้เก่ียวกับประเทศที่จะเสด็จฯ ไปทรงเยือน และระหว่างประทับอยู่ในประเทศนั้นๆ นอกจากทรง มุ่งม่ันที่จะทรงเจริญสัมพันธไมตรีแล้ว ยังสนพระราชหฤทัยในการทอดพระเนตรและศึกษากิจกรรมต่างๆ ที่จะทรงนามาเป็นประโยชน์ในการพัฒนาบ้านเมืองไทยด้วย เช่น เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมชมกิจการทหาร การจราจรทางอากาศ เมื่อทรงเยือนประเทศในทวีปอเมริกาใต้, ทอดพระเนตรสถานท่ีสาคัญทาง พระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมด้านอุตสาหกรรมและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน เมื่อทรง เยือนสาธารณรัฐสังคมนิยมศรีลังกา, ทอดพระเนตรการดาเนินงานด้านการป้องกันสาธารณภัยท่ีประเทศ เกาหลี เปน็ ตน้ ด้านการพระศาสนา สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้ทรงแสดงพระองค์เป็นพุทธมามกะ ที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามเม่ือวันท่ี 3 มกราคม พ.ศ. 2509 ก่อนเสด็จพระราชดาเนินไปทรงศึกษาที่ ประเทศอังกฤษ และมพี ระราชศรัทธาทรงพระผนวชในบวรพระพุทธศาสนา เมอื่ วนั ท่ี 6 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2521 ระหวา่ งทรงพระผนวช ทรงศึกษา และทรงปฏิบัติพระธรรมวนิ ยั อย่างเคร่งครัด นอกจากน้ันได้เสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์ ไปทรงปฏิบัติพระราชกิจทางศาสนา เป็นประจาเสมอ เช่น ทรงเปล่ียนเคร่ืองทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ตามฤดูกาล เสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์ไปทรงบาเพ็ญพระราชกุศลในวนั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา เช่น วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา และการถวายพระกฐินหลวงตามวัดต่างๆ เปน็ ต้น ด้านการกฬี า ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ท้ังในฐานะผู้แทนพระองค์และในส่วนของพระองค์เอง นานปั การ เชน่ การพระราชทานไฟพระฤกษ์ กีฬาเยาวชนแห่งชาติ พระราชทานพระราชวโรกาสใหน้ ักกีฬา ไทยผู้นาความสาเร็จนาเกียรติยศมาสู่ประเทศชาติ เข้าเฝ้าทูลละอองพระบาทรับพระราชทานรางวัล นักกีฬายอดเย่ียม รับพระราชทานพร และทรงแสดงความช่ืนชมยินดี ซึ่งนักกีฬาของไทยต่างสานึกในพระมหากรุณาธิคุณ มีความปลาบปล้ืมในสิริมงคลและมีขวัญกาลังใจท่ีจะ นาความสาเร็จและนาเกียรติยศมาสูต่ นเอง สวู่ งศต์ ระกูล และประเทศชาตติ ่อไป เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2541 ได้เสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์ไปทรงประกอบพิธีเปิดกีฬา เอเชี่ยนเกมส์ ทาให้นักกีฬามีขวัญและกาลังใจในการแข่งขัน ประสบชัยชนะนาเหรียญรางวัลมาสู่ประเทศ ไทยเปน็ จานวนมาก ดา้ นการทหาร สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สนพระราชหฤทัยในวิทยาการด้าน การทหารมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ นอกจากทรงรับการศึกษาทางด้านการทหารจากประเทศออสเตรเลีย แล้ว ยังทรงพระวิริยอุตสาหะในการเพิ่มพูนความรู้และพระประสบการณ์อยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะในด้าน วิทยาการการบิน กลา่ วคอื ระหวา่ งเดือนมกราคม ถึง ตุลาคม พ.ศ. 2519 ทรงเข้ารับการฝกึ เพมิ่ เติม และ ทรงศึกษางานทางการทหารในประเทศออสเตรเลีย โดยทุนกระทรวงกลาโหม ทรงประจาการ ณ กอง
ปฏบิ ตั กิ ารทางอากาศพิเศษ ท่นี ครเพริ ์ธ ประเทศออสเตรเลีย ทรงรบั การฝึกอบรมหลกั สูตรวิชาอาวธุ พิเศษ การทาลายและยุทธวิธีรบนอกแบบ หลักสูตรต้นหนช้ันสูง หลักสูตรการลาดตระเวนและต้นหนช้ันสูง หลักสูตรสง่ ทางอากาศ เดือนธันวาคม 2522–มกราคม 2523 ทรงเข้ารับการศึกษาหลักสูตรการบิน เฮลิคอปเตอร์ใช้งานท่ัวไป แบบ ยูเอช–1 เอช และหลักสูตรการฝึกบินเฮลิคอปเตอร์โจมตี แบบ เอเอช–1 เอส คอบรา ของบริษัทเบลล์ นอกจากนั้นยังทรงเข้ารับการศึกษาหลักสูตรต่างๆ ทางด้านการบินอ่ืนๆ อีก มากมาย ซง่ึ จะเห็นไดว้ ่า พระองค์ทรงเช่ยี วชาญการบนิ ในระดับสูงมาก สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงรับราชการทหารมาโดยตลอด นับแต่เม่ือวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2518 ทรงเข้าเป็นนายทหารประจากรมข่าว ทหารบก กระทรวงกลาโหม วนั ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2521 ทรงดารงตาแหนง่ รองผูบ้ ังคบั กองพันทหารมหาดเลก็ รักษา พระองค์ กรมทหารราบที่ 1 มหาดเลก็ รกั ษาพระองค์ วันท่ี 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523 ทรงดารงตาแหน่งผู้บังคับกองพันทหารมหาดเล็ก รักษาพระองค์ วันท่ี 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527 ทรงดารงตาแหน่ง ผู้บังคับการ กรมทหารมหาดเล็ก รักษาพระองค์ วันท่ี 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 ทรงดารงตาแหน่งผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการทหาร มหาดเล็กราชวลั ลภรักษาพระองค์ วันท่ี 9 มกราคม พ.ศ. 2535 ทรงดารงตาแหน่งผู้บัญชาการหน่วยบญั ชาการถวายความ ปลอดภยั รกั ษาพระองค์ สานกั ผู้บัญชาการทหารสูงสดุ และเน่ืองด้วยทรงพระปรีชาชาญในวิทยาการด้านการบิน ทรงรอบรู้เทคนิคสมัยใหม่ทั้ง ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เคยทรงเข้าร่วมการแข่งขันการใช้อาวุธทางอากาศ ณ สนามฝึกใช้อาวุธทาง อากาศชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี และทรงชนะเลิศการแข่งขัน เมื่อวันท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2530 พระองค์ ทรงมีชั่วโมงฝึกบินอย่างต่อเน่ืองสูงมาก และถือว่าเป็นสิ่งที่ยากสาหรับนักบินท่ัวโลกจะทาได้ พระองค์ทรง พระกรุณาปฏิบัติหน้าที่ครูการบินเคร่ืองบินขับไล่ แบบเอฟ–5 อี/เอฟ ตั้งแต่วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 เป็นต้นมา นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ และเป็นความภาคภูมิใจอย่างยิ่งของกองทัพไทย และปวง ชนชาวไทย สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงดารงพระยศทางทหารของ 3 เหล่าทพั คอื พลเอก พลเรือเอก และพลอากาศเอก และไดท้ รงปฏิบัติพระราชกรณียกิจดา้ นการทหาร โดย ทรงเข้าร่วมปฏิบัติการรบในการต่อต้านการก่อการร้ายในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ประเทศไทย รวมทัง้ การคุ้มกันพนื้ ท่ใี นบรเิ วณรอบคา่ ยผู้อพยพชาวกัมพชู า ทีเ่ ขาลา้ น จังหวดั ตราด ดว้ ย ซึง่ แม้เป็นพระราชภารกิจที่ต้องทรงเส่ียงภยันตราย แต่ด้วยความที่ทรงเป็นชายชาติทหาร และเป็นพระราช ภารกิจเพื่อความผาสุกของพสกนิกร และเพ่ือมนุษยธรรมต่อผู้ประสบทุกข์ยาก จึงทรงปฏิบัติพระราช ภารกิจดงั กล่าวโดยเต็มพระราชกาลงั นับจากทรงพระเยาว์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงตามเสด็จ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช และสมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ ไปยัง ท้องถ่ินต่างๆ อยู่เสมอ รวมถึงทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์อยู่นานัปการ รวมท้ังทรงจัด เท่ียวบินมหากุศลโดยทรงประจาในตาแหน่งนักบินที่ 1 เที่ยวบินพิเศษของบริษัท การบินไทย จากัด (มหาชน) นาคณะพุทธศาสนิกชนไปสักการะปูชนียสถานสาคัญ ทรงบริจาคพระราชทรัพย์เพื่อประโยชน์ ทางศาสนา จึงมีผู้ทลู เกลา้ ทลู กระหมอ่ มถวายเงินเพอ่ื สมทบทุนเพื่อการกุศลอ่นื ๆ เป็นจานวนมาก
และในปีพ.ศ. 2558 มีกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ ดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ น่ันคือเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม มีกิจกรรม Bike for Mom-ปน่ั เพอ่ื แม่ กจิ กรรมปั่นจักรยานเฉลิมพระเกียรติ สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ ีนาถ เนอื่ ง ในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา 12 สิงหาคม 2558 โดยมีวัตถุประสงค์การจดั งาน เพ่ือให้พสกนิกรทุกหมู่เหล่าได้แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ เพ่ือเป็นการร่วม แสดงออกของประชาชนถึงความรักที่มีต่อแม่และแม่ของแผ่นดิน เพ่ือให้พสกนิกรทุกหมู่เหล่าได้มีโอกาส ร่วมกิจกรรมป่ันจักรยานเฉลิมพระเกียรติอย่างท่ัวถึง และเสริมสร้างความสามัคคีของคนในชาติ ที่จะ ร่วมกันจัดกิจกรรมถวายพระพรแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และเพ่ือเป็นการส่งเสริม สขุ ภาพของประชาชนในการรว่ มออกกาลังกาย ทาใหส้ ขุ ภาพรา่ งกายสมบรู ณ์แข็งแรง ปลูกฝังให้ประชาชน รักการออกกาลังกาย และเสริมสรา้ งความมีน้าใจเป็นนักกีฬา อีกทั้งได้นากิจกรรมดังกล่าวไปต่อยอดขยาย ผลตอ่ ไป หลังจากนั้น วันท่ี 11 ธันวาคม 2558 มีกิจกรรม ป่ันเพื่อพ่อ Bike for Dad เน่ืองใน โอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 88 พรรษา 5 ธันวาคม 2558 และทรงนาขบวนพสกนิกร ผู้เข้าร่วมกิจกรรมปั่นจักรยานเฉลิมพระเกียรติฯ โดยสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร มี พระราชปณิธานที่จะจัดกิจกรรมจักรยานถวายพระเกียรติและถวายความจงรักภักดีเน่ืองในวันเฉลิมพระ ชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช รว่ มกบั พสกนิกรชาวไทย เพ่ือถวายเปน็ ราช สดุดี โดยทรงเป็นประธานนาขบวนในวันศุกร์ท่ี 11 ธันวาคม 2558 เพื่อเฉลิมพระเกียรติและแสดงความ จงรักภักดี กตัญญูกตเวทิตาต่อพระมหากษัตริย์ ทรงร่วมเทิดพระคุณพ่อและเพ่ือความสามัคคีของชาวไทย ทั้งชาติ เสวยราชย์ วันท่ี ๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ เวลา ๑๙.๑๖ น. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยาม มกฎุ ราชกุมาร เสดจ็ ออก ณ พระที่น่ังอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต พระราชทานพระราชวโรกาสให้ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ นา นายพรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ ทาหน้าท่ีประธานรัฐสภา ในฐานะผู้แทนปวงชนชาวไทย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และนายวีระพล ต้ังสุวรรณ ประธานศาลฎีกา เฝ้าทูลละอองพระบาท กราบบังคมทูลเชิญ เสด็จขนึ้ ทรงราชย์เป็นพระมหากษตั รยิ ์สืบราชสันตติวงศ์ โดยมีพระปรมาภไิ ธยวา่ \"สมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู \" ขอขอบคุณขอ้ มลู จาก เวบ็ ไซตเ์ ครอื ข่ายกาญจนาภเิ ษก จากหนังสือเหนือเกลา้ ชาวไทย
Search