Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงาน5-6กลุ่ม5

รายงาน5-6กลุ่ม5

Published by Mr_Meow ch, 2020-09-18 09:32:25

Description: รายงาน5-6กลุ่ม5

Keywords: รายงาน5-6

Search

Read the Text Version

รายงาน    วชิ าวทิ ยาการคำนวณ   รหสั ว30118  จัดทำโดย  1. นายสิรภพ สอนทดั เลขท่ี 27  2. นายเมธกรณ พุมหริ ัญ  เลขท่ี 28  3. นางสาวกญั ญารัตน จปู ระจกั ษ เลขที่ 29  4. นางสาวชก้นั ามนธั ตยพมิชศชึกษา าทปอท งี่เ5ก/ง6  เลขที่ 36  เสนอ  ครูจิรายุ ทองด ี   รายงานเลม นี้เปนสว นหนึง่ ของรายวชิ าวิทยาการคำนวณ  รหสั วชิ า ว30118  โรงเรียนนวมนิ ทราชินูทศิ เตรยี มอดุ มศกึ ษานอมเกลา   ภาคเรียนที่ 1 ปการศกึ ษา 2562   สงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ าร 

1 คำนำ     รายงานฉบบั นเี้ ปน สว นหนง่ึ ของรายวิชาวิทยาการคำนวณรหัส ว30118 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 โดยมจี ุดประสงคเพื่อศึกษาเกย่ี วกับวิทยาการคำนวณ กระบวนการ เทคโนโลยี พ้นื ฐานภาษาซี และเทคโนโลยีประยุกต  ในการจดั ทำรายงานประกอบส่ือการเรยี นรใู นคร้ังนี้ ผจู ดั ทำขอขอบคุณ ครูจริ ายุ ทอง ดี ผใู หความรู และแนวทางการศกึ ษา และเพอ่ื นๆ ท่ีใหความชว ยเหลือมาโดยตลอด คณะผูจดั ทำหวังเปน อยา งยง่ิ วา รายงานฉบบั นจ้ี ะอำนวยประโยชนตอผูทีส่ นใจและศกึ ษาเน้อื หาเพิ่มเติม  และพฒั นาศกั ยภาพ และบรรลตุ ามเปาหมาย          นายเมธกรณ พมุ หริ ญั   ผจู ัดทำ                             

เร่ือง สารบัญ  2       คำนำ สารบญั หนา  1. วทิ ยาการคอมพวิ เตอร 2. กระบวนการเทคโนโลยี 1  3. พื้นฐานของภาษาซี 2  4. เทคโนโลยีประยุกต 3  5. บรรณานุกรม 12  6. ภาคผนวก 17    20    24    25                            

3 วทิ ยาการคอมพวิ เตอร    การนำวทิ ยาการคอมพวิ เตอรม าใชใ นชวี ติ ประจำวนั   Computer Science  Computer Science หรอื วิทยาการคอมพวิ เตอรห มายถึงศาสตรที่เรยี นรเู กย่ี วกับการศึกษาทฤษฎีการคำนวณสำหรบั คอมพิวเตอรและทฤษฎกี ารประมวลผลสารสนเทศประกอบดวยฮารดแวรแ ละซอฟตแวร แนวโนม เทคโนโลยที ่นี ำวิทยาการ คอมพิวเตอรม าพัฒนาและกำลังมบี ทบาทในชีวิตประจำวันในดา นตางๆ    Internet of Things (IoT)  Internet of Things หรอื อนิ เทอรเนต็ เพอื่ ทกุ สรรพสิ่งคือการนำอุปกรณตางๆมาเชอื่ มโยงกับเครอื ขา ยอินเทอรเน็ตซ่งึ สามารถสื่อสารและควบคุมการใชง านผา นอปุ กรณเ คลื่อนท ี่      

4 1.) การนำเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) มาประยุกตใ ชในดานตา งๆ  1.3) Smart Industry  การนำเทคโนโลยี Internet of Things มาประยุกตใ ชเพือ่ ชว ยเพม่ิ ประสิทธภิ าพในการผลติ แกป ญหา และลดความผดิ พลาดในการ ผลติ   1.2) Smart City  การนำเทคโนโลยี Internet of Things มาประยุกตใชเ พ่ือชวยปรับ ใชโ ครงสรา งพนื้ ฐานและระบบตา งๆ ของเมืองที่เนน การอนรุ กั ษสงิ่ แวดลอม และการพัฒนาอยางย่ังยืนครบวงจร  1.3) Smart Life  การนำเทคโนโลยี Internet of Things มาประยุกตใชเ พื่อตอบ สนองรปู แบบการใชช วี ติ ในยคุ ปจ จบุ นั ทำใหส ามารถจัดการกับ อปุ กรณเครอ่ื งมือตา งๆใหท ำงานผานระบบเครอื ขายอนิ เตอรเนต็   ซึ่งอุปกรณต า งๆจะมชี ปิ ประมวลผลฝง อยซู ง่ึ สามารถแลกเปล่ียน ขอ มูลกนั ผานระบบอินเตอรเ นต็ ทำใหสามารถควบคุมอปุ กรณ เหลาน้นั ได และยังสามารถใชในดา นการรกั ษาความปลอดภยั   Artificial Intelligence (AI)  Artificial Intelligence หรอื ปญ ญาประดิษฐเ ปนระบบคอมพิวเตอรทถี่ กู พัฒนาใหมคี วามสามารถในการเรยี นรูใชเหตผุ ล พฒั นาและปรับปรุงขอ บกพรอ งใหด ขี นึ้ การทำงานใกลเ คียงกับระบบประมวลผลและการตอบสนองของมนษุ ยแ ตล ะ สถานการณเ พื่อใหค อมพิวเตอรปฏบิ ตั งิ านแทน มนุษยไ ดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ   

5 1.) ประเภทของปญ ญาประดิษฐ  2.1) การประมวลผลธรรมชาติ (Natural Language Procressing ) คือการพฒั นาใหร ะบบ คอมพิวเตอรเขา ใจภาษามนษุ ยท ใ่ี ชใ นชีวติ ประจำวัน สามารถอา น พูด ฟง เขาใจภาษา และเปน ไปอยา งสะดวกและมี ประสิทธภิ าพ  2.2) ระบบการรับรภู าพ ( Vision System ) คือรับสัญญาณภาพ ประมวลผล และรายงานผลภาพ  2.3) โครงขายประสาทเทียม ( Artificial Neuron Network ) คือพฒั นาคอมพวิ เตอรใ หมีการจำลอง การทำงานของสมองแลละระบบเสน ประสาทของมนุษย  2.4) หนุ ยนต ( Robotics ) คอื ระบบคอมพิวเตอรท ่ีจำลองการทำงานของมนุษย  2.5) ระบบผเู ช่ียวชาญ ( Expert System ) คอื ระบบคอมพวิ เตอรท ่ีพัฒนาใหสามารถรบั รแู ละทำงานเฉพาะ ดา นไดเ ช่ียวชาญ  2.) การนำปญญาดษิ ฐมาประยกุ ตใ ชใ นดานตา งๆ  3.1) ดานการคมนาคม คอื การใชระบบปญ ญาประดิษฐควบคุมการทำงานของรถหรือยานพาหนะ และการคนหา ตำแหนง หรอื เสนทางท่ใี ชในการสญั จรไปยงั ปลายทาง  3.2) ดา นการประมวลผลภาษา เปนการใชร ะบบปญญาประดษิ ฐป ระมวลผลทางดา นภาษา จะแปลงภาษาหนง่ึ เปน ภาษาหน่งึ   3.3) ดานระบบเครอื ขา ยตางๆ คือการคนหาขอ มลู ขา วสารหรอื ขอความทตี่ อ งการ โดยใชค ยี เ วริ ดในการคนหา  3.4) ดานการแพทยและสุขภาพตาง ​เปนการใชระบบปญ ญาประดิษฐวดั ความดนั ของผูท ่มี าใชบ รกิ าร และสแกน รา งกายคนหาจุดผิดปกตใิ นรางกาย รวมถึงการพนิ จิ วิเคาะหถงึ โรคและวธิ กี ารแกไ ข 

6 3.5) ดานการคา ในธรุ กจิ พานิชย ​เปน การใชร ะบบปญ ญาประดษิ ฐวเิ คราะหและประมวลผล คำนวณและพยากรณ ในเชิงพานชิ ย  3.6) ดา นการรักษาความปลอดภัย ​เปนการใชระบบปญญาประดษิ ฐแสกนหรอื ตรวจจับสง่ิ ผดิ ปกต ิ   Clond Computing  Cloud Computing หรือการประมวลผลแบบกลุมเมฆ คอื การประมวลผลผานเครอื ขา ยอนิ เทอรเน็ตการใหบรกิ ารที่ ครอบคลมุ ถึงการใชจดั เตรียมทรพั ยากรสำหรบั การประมวลผลแอปพลิเคชนั หนวยจัดเก็บขอ มูลและระบบออนไลนต า งๆโดยผู ใชงานจะตอ งเชอ่ื มตอ ระบบอนิ เทอรเ น็ตขอ ดคี อื ไมจ ำเปน ตอ งลงทุนซอ้ื ฮารดแวร และซอฟตแ วรเ องทง้ั ระบบไมตอ งวางระบบ เครอื ขายเองลดความรบั ผดิ ชอบในการดแู ลระบบผูใชท กุ คนสามารถเขา ถึงระบบขอ มูลตา งๆผานอินเทอรเ นต็ สามารถจัดการ บรหิ ารทรพั ยากรของระบบผานเครือขายและสามารถแบง ใชทรพั ยากรรว มกนั (Shared Resource) มีทงั้ แบบบรกิ ารฟรีและ แบบชำระคาบริการ                   

7 3.) ประเภทของการประมวลผลแบบกลมุ เมฆ  4.1) Software-as-a-Service เ​ ปน การใหบ รกิ ารใชห รอื ใหเ ชาบริการซอฟแวรห รือแอปพลิเคชันผานอินเตอรเนต็   โดยประมวลผลบนระบบของผูใ หบ รกิ าร เชน Google Application สามารถแบง ปนใชรว มกนั ไดม ีพืน้ ทีเ่ ก็บ รวมถึงการให บริการซอฟแวรเฉพาะดาน  4.2) Platform-as-a-Service ​เปน การใหบ ริการสำหรบั การพฒั นาเวบ็ แอปพลเิ คชนั ซึ่งประมวลบนเซริ ฟเวอร  ระบบจะจัดเตรียมส่ิงที่จำเปนมาใหทง้ั หมดตดิ ตั้งระบบฐานขอ มลู เชน Web Server  4.3) Infrastructure-as-a-Service ​เปนการใหบรกิ ารโครงสรา งพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร ระบบการ ประมวลผล ระบบการจัดเกบ็ และระบบรปู เสมือน  สอื่ ดจิ ิตัลในชีวติ ประจำวนั   สอื่ ดิจทิ ลั (Digital Media) หมายถงึ ส่ือท่มี กี ารนำขอ ความกราฟก ภาพ เคลอื่ นไหวเสียงมาจดั รปู แบบโดยอาศัยเทคโนโลยีความเจรญิ กา วหนา ทางดา นคอมพิวเตอรสอื่ สารทางออนไลนทนี่ ำขอ ความกราฟก ภาพ เคล่ือนไหวเสยี งและวิดโี อมาจัดการตามกระบวนการและวิธกี ารผลติ โดยนำมาเชอ่ื มโยงกนั เพือ่ ใหเ กดิ ประโยชนในการใชง าน  เทคโนโลยีดา นคอมพิวเตอรและการสอ่ื สารในปจ จุบนั ไดเ ปล่ยี นแปลง กระบวนการทำสื่อและเนื้อหาตางๆไดอ ยา งรวดเร็วโดยสอ่ื มีความนา สนใจยิ่งข้ึนอกี ทั้งยังสามารถเผยแพรส่ือผา นชองทางตางๆไดหลาก หลายรวดเร็วและครอบคลมุ   1.) ส่ือดิจติ ัลทใ่ี ชในชีวิตประจำวัน  โดยทวั่ ไปบุคคลจะรับรเู นอื้ หาตา งๆจากสือ่ รปู แบบตางๆ เชน โทรทศั น วทิ ยหุ นังสือพิมพ ซง่ึ ในปจจุบันระบบคอมพิวเตอรเขา มาพฒั นากระบวนการตางๆของสือ่ รูปแบบการสือ่ สารสามารถทำใหโ ตตอบกันไดง ายขน้ึ รวดเรว็ ขึ้น 

8 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวติ ประจำวนั   1.) เทคโนโลยสี ารสนเทศ  การประยกุ ตใ ชคอมพวิ เตอรเพ่อื จดั เกบ็ การคนหาการสงผานและการดำเนนิ การขอมลู ขององคกรท่ีเกยี่ วขอ งกับธุรกจิ หรอื องคก รดานอื่น ๆ ท่ีตองใชคอมพิวเตอรและเครอื ขา ยคอมพิวเตอรรวมถึงเทคโนโลยีอ่ืน ๆ การนำเทคโนโลยีมาสรางมูลคาใหก ับ สารสนเทศเพ่ือใหเ กดิ ประโยชนจากการใชงานท่สี งตอ หรอื ส่ือสารระหวางกนั เทคโนโลยีสารสนเทศยังมคี วามสำคัญตอ วถิ ชี ีวิต ของประชาชนดา นการติดตอส่อื สารรวมทัง้ เปน แหลงขอมูลความรดู านการศึกษาการดำเนนิ ธรุ กิจและอ่นื ๆ                      2.) ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ  การประยกุ ตความรทู างวทิ ยาศาสตรม าใชในระบบสารสนเทศ ตั้งแตก ระบวนการจัดเกบ็ ประมวลผลและการเผยแพร สารสนเทศ เพ่อื ชวยใหไดใหไดส ารสนเทศทมี่ ี และรวดเรว็ ทันตอเหตกุ ารณ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศอาจประกอบดว ย  2.1) เคร่อื งมือและอุปกรณตา งๆ เชน คอมพวิ เตอร อปุ กรณส ื่อสารคมนาคม รวมถึงซอฟตแวรส ำเรจ็ รูปและแบบ พฒั นาขึน้ เพือ่ ใชใ นงสนเฉพาะดา น และยงั ใชเ ทคโนโลยีระดับสงู   2.2) กระบวนการในการนำอุปกรณเครอื่ งมือตางๆมาใชง าน ​คือการรวบรวม จดั เกบ็ ประมวลผล และ แสดงผลลพั ธเ ปน สารสนเทศในรปู แบบตางๆ ที่สามารถนำไปใชประโยชนไดตอ ไป 

9 3.) ความหมายของสารสนเทศ  สารสนเทศหมายถึงขอ มลู ทผ่ี า นการประมวลผลดว ยวิธกี ารที่เหมาะสมและถูกตองเพ่อื ใหไดผลลพั ธตรงตามความตองการของผู ใชอ ยใู นรปู แบบท่ีใชงานไดและจะตอ งอยูใ นชว งเวลาทีต่ อ งการขอ มลู ซง่ึ สามารถนำไปใชประโยชนตามตอ งการเชน สรุปยอด ขายเพอ่ื นำไปวิเคราะหวางแผนและตัดสนิ ใจในการกำหนดเปาหมายตอ ไป    4.) องคประกอบของสารสนเทศ  4.1) ขอ มลู คอื ขอ เทจ็ จริงทเี่ ปนตัวเลขหรือรายละเอียดซึง่ อาจจะอยูในรปู แบบตางๆ เพือ่ ทีจ่ ะนำไปใชป ระโยชน  4.2) การประมวลผลขอ มลู คือกระบวนการยอยหลายกระบวนการ ตง้ั แตก ารรวบรวมขอ มลู แยกแยะ การตรวจสอบ  คำนวณ จดั ลำดับ รายงานผล และแจกจา ยขอ มูล  4.3) สารสนเทศ คอื สิง่ ทไี่ ดจากการนำขอ มูลท่เี ก็บรวบรวมไวม าประมวลผล เพ่ือนำมาใชผ ลประโยชนต ามจดุ ประสงค  5.) ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ  1.) ชว ยในการทำงานรวดเรว็ ถกู ตอ งและแมนยำ  2.) ชวยทำใหก ารบรกิ ารกวา งขึน้   3.) ชวยในการดำเนนิ การในหนว ยงานตา งๆ  6.) องคประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ  6.1) การประยุกตใ ชเทคโนโลยีสารสนเทศในงานสำนกั งาน  การจัดเอกสารรบั สง แจกจา ย แจงเวยี นและจัดเก็บ การนัดหมาย การประชมุ   การนำระบบคอมพวิ เตอรและเทคโนโลยีดานการสอื่ สารชวยใหการทำงานมี ประสิทธิภาพ และชว ยลดคา ใชจาย  6.2) การประยกุ ตใชเทคโนโลยีสารสนเทศในงาน อุตสาหกรรม จัดการระบบงาน การผลติ การส่งั ซื้อพัสดุ การเงนิ บุคลากร  ชว ยในการวางแผน ออกแบบผลติ ภณั ฑ รวมถึงวจิ ยั และพัฒนาผลติ ภณั ฑ  จัดการสงสนิ คา เพื่อลดคา ใชจ ายในการขนสงสินคา  

10   6.3) การประยกุ ตใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศในงานการเงินและพานิชย  สงั คมไรเงินสด มกี ารนำเทคโนโลยีมาประยกุ ตใ ชหรอื สรางบริการใน ธุรกิจการเงนิ มากขึ้น มีการใช Mobile Banking ในการทำธุรกรรม ทางการเงินมากขึ้น      6.4) การประยุกตใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศในงานดา นการส่อื สาร  การส่ือสารผานสงั คมอนไลนไ ดรับความนยิ มอยางมาก รวมถึง ขอ มูลท่ไี มไ ดเปนขอความเพยี งอยา งเดียว เชน   Facebook,Line,Youtube ในปจจุบนั youtube มีการพฒั นา แอปพลเิ คชนั เพอื่ ใหเหมาะสมกับผูใชงานทุกระดบั     6.5) การประยุกตใ ชเ ทคโนโลยีสารสนเทศในงานดานสาธารณสุข  1.ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล ใชใ นระบบงานเวชระเบยี น  ขอมลู ยา การชำระเงนิ และโทรเวช  2.ระบบสาธารณสขุ เทคโนโลยสี ารสนเทศนำมาใชในการ ตรวจสอบและควบคมุ โรคระบาด   3.ระบบผเู ชี่ยวชาญ ใชว ินิจชยั โรค โดยเร่มิ มาใชว นิ จิ ชัยโรค พชื และโรคสัตว ทใ่ี ชห ลกั การเก็บขอมลู ตางๆไวโดยละเอียด         

11 6.6) การประยุกตใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศในงานดานฝกอบรมการศกึ ษา  เปน การศกึ ษาทค่ี รอบคลมุ การศกึ ษาจากการไกล ทน่ี ำเทคโนโลยีมาใชใ นการจัดการเรยี นการสอนผา นวทิ ยุ โทรทัศน ใชร ะบบ การเผยแพรผา นดาวเทียม และการใหบ รกิ ารตางๆ รวมท้งั การใชง านหอ งสมุด เพือ่ สืบคน หนงั สอื วารสารและสอื่ ส่งิ พิมพ    7.) ประโยชนของเทคโนโลยสี ารสนเทศในชวี ิตประจำวนั   1.)การสรางเสริมคุณภาพทด่ี ขี น้ึ   2.)ทำใหเกิดความเทา ทียมกนั ในสังคม  3.)สามารถเพ่มิ ชอ งทางการรบั ขาวสารไดม ากขน้ึ   4.)ประหยัดคาใชจ า ย เพ่ือความสะดวกในการติดตอ สอื่ สาร  5.)สรา งระบบความปลอดภยั อยา งมปี ระสิทธภิ าพ   6.)เปนแหลงความบนั เทงิ สนกุ สนานในสังคม      

12 กระบวนการเทคโนโลย ี   การจดั การขอ มลู   1.) บทบาทและความสำคัญของการจดั ขอ มลู   ขอ มลู (Data) ขอ เทจ็ จรงิ ที่เกิดขึน้ ในเหตุการณตางๆ ที่ไดมาโดยไมม กี ารประมวลผลและวเิ คราะห (ขอ มูลดบิ )  การจดั การขอมูล (Data Management) การบรหิ ารการจัดเก็บขอมลู การประมวลขอมูลใหไ ดมาซ่งึ ขอ มูลทีม่ ปี ระโยชน และพรอมท่ีจะนำมาใชไ ดในทันท ี 2.) หลักการในการจัดการขอ มูล  1.)การเขาถงึ ขอมูล : ความสามารถในการเขาถึงขอมลู ไดง า ย รวดเรว็ และจดั ลำดับความสำคญั ไดถกู ตอง  2.)ความปลอดภยั ของขอ มลู : ตองมรี ะบบรกั ษาความปลอดภยั เพื่อปอ งกันการจารกรรมขอ มูล  3.)การแกไขขอมลู : ความสามารถในการเปล่ยี นแปลง แกไ ขขอ มลู ในอนาคตได  4.)การปรบั ปรงุ ขอมูล : จัดเก็บขอ มลู โดยจัดแบงเปน สว นหรอื สรา งเปนตาราง เพ่ืองายตอการปรับปรงุ    

13 ประเภทของขอมลู   1.) การจัดแบงประเภทขอมลู   1.1) พิจารณาจากแหลง ทมี่ าของขอ มลู   ขอมลู ปฐมภูมิ ไดจ ากการเก็บรวบรวมจากหนวยศึกษาโดยตรง โดยผศู กึ ษาทำการเกบ็ รวบรวมขอ มูลเอง  ขอมลู ทตุ ยิ ภูมิ ผา นการเกบ็ รวบรวมขอ มูลมาแลว โดยผานบุคคลหรอื องคก รหน่งึ   1.2) พิจารณาจากหลกั เกณฑค ุณลกั ษณะของขอมลู   ขอมูลเชิงปริมาณ เปน ขอมลู ตัวเลขหรอื หนว ยนบั ได  ขอมูลเชงิ คุณภาพ บรรยายลกั ษณะหรอื คุณสมบัตขิ องส่งิ ตา งๆ  1.3) พิจารณาจากหลักเกณฑล ักษณะของการจดั ทำขอมลู   ขอมลู ดบิ ไดจ ากการเก็บรวบรวม ซึ่งยงั ไมไ ดผ านการประมวลหรือเปลย่ี นแปลงใดๆ  ขอ มูลจัดกลมุ ผานระบบหรือกระบวนการประมวลขอมูลแลว เพอ่ื ใหข อ มลู อยูในรปู แบบที่เปนหมวดหม ู 1.4) พิจารณาจากจัดเกบ็ ในสื่ออิเลก็ ทรอนิกส  ขอ มลู ตวั อกั ษร เชน ตัวหนงั สือ ตัวเลข สัญลกั ษณ มักมีนามสกุลไฟลเ ปน .txt .doc docx  ขอ มลู ภาพ เชน ภาพกราฟก ตางๆ ภาพถา ยดจิ ทิ ัล มักมนี ามสกุลไฟลเ ปน .bmp .jpg .png .gif  ขอมูลเสียง เชน เสยี งพดู เสยี งดนตรี มกั มีนามสกุลไฟลเปน .wav .mp3  ขอ มลู ภาพเคลื่อนไหว เชน ภาพยนตร คลปิ วิดโี อ มักมนี ามสกุลไฟลเปน .avi .mov .mp4                ภาพแสดงตัวอยางไฟล .PNG ภาพแสดงตัวอยา งไฟล .GIF  

14 1.5) พิจารณาตามระบบคอมพวิ เตอร  ขอ มูลเชิงจำนวน เปนตัวเลขทส่ี ามาาถนำมาคำนวณดวยคอมพวิ เตอรไ ด  ขอ มลู อักขระ เปนตวั อกั ษร ตัวหนงั สือ หรอื สัญลกั ษณตา งๆ สามารถนำมานำเสนอขอ มูลและเรียงลำดบั ได  ขอ มูลกราฟก เกดิ จากจุดพกิ ัดทางคอมพวิ เตอรท ำใหเ กิดรปู ภาพหรอื แผนท ่ี ขอมลู ภาพ แสดงความเขม และสีของภาพท่เี กดิ จากเครือ่ งสแกนเนอรหรือกลองดจิ ิทลั สามารถนำเสนอขอมูลยอขยาย และตัด ตอได    การประมวลผลขอ มลู   1.) ขน้ั ตอนการประมวลผลขอมลู   ขน้ั ตอนที่ 1 การนำเขาขอมลู   1.เก็บรวบรวมขอมูล การนำขอ มลู สองชดุ ข้ึนไไปมารวมกนั ใหเปน ชดุ เดยี ว โดยขอมลู นั้นควรมีลกั ษณะดงั น ี้ 1.1 ความถูกตองแมน ยำ สามารถควบคุมความคลาดเคลอื่ นใหนอยท่สี ดุ   1.2 ความทนั เวลา ขอ มลู ทีท่ นั สมยั และทันตอความตอ งการของผูใ ช  1.3 ความสมบูรณครบถวน ขอมูลที่ใหข อ เท็จจรงิ ครบถวนสมบูรณไมข าดสว นใดไป  1.4 ความกระทัดรดั ขอมลู ท่สี ะดวกตอ การนำไปใช และมคี วามเขา ใจไดในทนั ท ี 1.5 ความตรงตอ ความตองการของผใู ช ขอมลู ตรงตอ การใชงาน  1.6 ความตอ เนือ่ ง ดำเนินการอยางสม่ำเสมอ  2.การเปล่ยี นสภาพขอมูล ทำใหข อ มลู อยใู นรูปท่ีสามารถประมวลผลไดส ะดวกย่ิงขน้ึ โดยมวี ธิ ีการดงั น ี้ 2.1 การบรรณธกิ าร ตรวจสอบความถกู ตอ งสมบรู ณ ใหครบตามเงอื่ นไขทต่ี องการ  2.2 การลงรหัส เปนการเปลย่ี นคำตอบท่เี ปนคำพดู หรอื ตวั อักษรใหอ ยใู นรูปของรหสั ตองกำหนดไวลวงหนา กอ นใชรหสั บนั ทึก  3.การจดั ระเบยี บขอมูล นำขอมลู ไปคำนวณวเิ คราะหท างสถติ ิ เพ่ือแบง ขอ มลู ไปใชป ระโยชนตอ ไป  4.การแปรสภาพขอมูล นำขอมูลทอ่ี ยใู นรูปแบบรหสั มาบนั ทึกลงในแบบฟอรมการลงรหัสหรอื สื่อบันทกึ ขอ มูลตา งๆ     

15 ข้ันตอนที่ 2 การประมวลผล  1.การจัดแบง กลมุ ขอมูล แยกขอ มูลออกเปน กลมุ หรอื ประเภทตา งๆ  2.การจัดเรียงขอมลู จดั เรยี งขอ มลู จากนอยไปมาก หรือมากไปนอย เพ่ือใหด งู า ยขน้ึ คน หาขอ มลู ทต่ี อ งการเร็วข้นึ   3.การสรปุ ผลขอมูล สรปุ สว นตา งๆของขอ มูล โดยยอ เอาเฉพาะสว นท่ีเปน ใจความสำคญั   4.การคำนวณขอ มูล การนำขอมูลทเี่ ปน ตัวเลขมาทำการบวก ลบ คณู หาร ยกกำลงั   5.การวเิ คราะหข อ มลู   5.1 การวิเคราะหขอมลู ขน้ั ตน เปน การหาคา สถติ ิพ้นื ฐาน เชน คาเฉลย่ี   5.2 การวิเคราะหข อ มูลข้ันสงู มคี วามซบั ซอน เชน วเิ คราะหค วามถดถอย ความแปรปรวน  ข้นั ตอนที่ 3 แสดงผลลัพธ (สารสนเทศ)  1.การดงึ ขอ มูล นำขอมลู จากแหลง เกบ็ มาใชงาน  2.การทำรายงาน นำขอมูลมาจดั พิมพใ นรปู แบบตา งๆ  3.การบนั ทึก คัดลอกขอ มูลจากตน ฉบับเขา แฟม   4.การปรบั ปรงุ รักษาขอมูล เพ่ิม หรือ ลด และเปลย่ี นคา ใหขอ มูลทันสมยั อยเู สมอ  2.) เคร่ืองมอื ที่ใชในการประมวลผลขอ มลู   1.ประมวลผลขอ มูลดว ยมือ ใชม นษุ ยเ ปนหลัก โดยมีอุปกรณช วย  2.ประมวลขอมูลดว ยเครื่องจกั รกล ใชแรงงานมนุษยและเครื่องจกั รกลรว มกัน  3.ประมวลขอมูลดวยเครอ่ื งอิเลก็ ทรอนิกส ใชค อมพิวเตอร มีขนั้ ตอนซบั ซอนหรือใชก ารคำนวณจำนวนมาก             

16 3​ .) การเปรียบเทียบวิธีการประมวลผล ก​ ารประมวลผลในแตละวิธนี น้ั มีขอ ดีขอ เสยี ที่แตกตา งกัน ผรู วบรวม ตองตัดสินใจเลือกวธิ ีใดวิธหี นึ่ง  4​ .)การวเิ คราะหแ ละตคี วามหมายขอ มูล ก​ ารแยกประเภท การจัดชั้น การสังเขป การหาขอสรุปเกย่ี วกับ ลกั ษณะตางๆของขอมลู การพิจารณาขอ มลู     ภาพตวั อยางการประมวลผลขอ มลู            

17 พ้ืนฐานภาษาซ ี   ประวตั ขิ องภาษาซ ี ภาษาซเี ปนภาษาทถ่ี ือวา เปน ท้ังภาษาระดับสงู และระดบั ตำ่ ถกู พัฒนาโดยเดนนิส ริดชี (Dennis Ritche) แหง หอ งทดลอง เบลล (Bell Laboratories) ทีเ่ มอรรฮี ลิ มลรฐั นิวเจอรซ ่ี โดยเดนนิสไดใ ชห ลักการของภาษา บีซีพีแอล (BCPL : Basic  Combine Programming Language) ซง่ึ พฒั นาขึน้ โดยเคน ทอมสัน (Ken Tomson) การออกแบบและพฒั นาภาษาซีของ เดนนิส รดิ ชี มจี ุดมุงหมายใหเ ปนภาษาสำหรับใชเขียนโปรแกรมปฏบิ ัตกิ ารระบบยนู กิ ซ และไดต ัง้ ช่อื วา ซี (C) เพราะเหน็ วา  ซี (C) เปน ตวั อกั ษรตอจากบี (B) ของภาษา BCPL ภาษาซถี อื วาเปน ภาษา ระดับสงู และภาษาระดบั ตำ่ ท้ังนเี้ พราะ ภาษาซมี ีวธิ ีใชขอมูลและมี โครงสรา งการควบคุมการทำงานของโปรแกรมเปนอยา งเดยี วกบั ภาษาของ โปรแกรมระดับสูงอ่ืนๆ จึงถือวา เปน ภาษาระดบั สูง ในดา นที่ถือวาภาษาซี เปนภาษาระดบั ตำ่ เพราะภาษาซีมีวิธกี ารเขาถึงในระดบั ต่ำท่ีสุดของ ฮารด แวร ความสามารถทง้ั สองดานของภาษาน้ีเปน ส่งิ ทีเ่ กอื้ หนนุ ซ่งึ กนั และ กนั ความสามารถระดบั ตำ่ ทำใหภ าษาซสี ามารถใชเฉพาะเครอ่ื งได และ ความสามารถระดบั สูง ทำใหภ าษาซีเปนอิสระจากฮารด แวร ภาษาซี สามารถสรางรหสั ภาษาเครื่องซ่ึงตรงกบั ชนิดของขอมลู นน้ั ไดเอง ทำให โปรแกรมท่ีเขียนดวยภาษาซีที่เขียนบนเครื่องหน่งึ สามารถนำไปใชกับอีก เครอ่ื งหน่ึงได  1.) โครงสรา งหลักภาษาซ ี คำสัง่ ทใี่ ชง านในภาษา C นน้ั ลว นเปน ฟงกช่นั ทง้ั สิ้น ดงั น้นั โปรแกรมทเ่ี ขียนขน้ึ จึงประกอบไปดว ยฟง กช ่นั มากมาย ท่ถี ูกกำหนด ใหทำหนาที่ใดหนาที่หน่งึ ในลกั ษณะของโมดูลยอย เพือ่ ทำงานใหบ รรลุเปาหมาย และในเมื่อภาษา C คือภาษาทปี่ ระกอบไป ดวยฟง กช ่ัน ดังนนั้ จึงจำเปน ทำความเขา ใจเก่ียวกับความหมายของฟง กช น่ั เสียกอ น 

18     ฟงกช น่ั (Function) คอื ชุดคำส่งั ทีเ่ ขยี นขน้ึ เพอ่ื ส่งั ใหค อมพวิ เตอรทำงาน ที่อนญุ าตใหสามารถรบั ขอมลู (Input) ประมวลผล  (Processes) และแสดงผลขอมลู (Output) โดยฟง กช ่ันทีถ่ ูกเขียนขึ้นใชงาน และสามารถเรียกมาใชง านไดทันที จะถกู จัดเก็บ ไวในไลบารมี าตรฐาน (Standard Library) ในขณะทฟ่ี ง กช ่ันอ่นื ๆจะเปน ฟงกช่นั ท่ีถูกเขยี นขนึ้ โดยโปรแกรมเมอร อยางไรก็ตาม ในภาษา C จะมฟี ง กชนั่ พิเศษฟงกช ัน่ หนง่ึ ทจี่ ำเปน ตอ งมีไวในโปรแกรมเสมอ คอื ฟงกช น่ั main() ทั้งนฟ้ี งกช น่ั ดังกลา วจดั เปน ฟง กช น่ั หลักที่นำมาใชเ ปน จดุ เรม่ิ ตนของโปรแกรมเพ่ือสัง่ ใหท ำงาน โดยฟงกชนั่ อนื่ ๆจะถอื เปน รทู ีนยอ ย (Subroutines)    2.) กฎเกณฑใ นการเขยี นภาษา C ทค่ี วรคำนึง มีดงั น ี้ 1. จะตอ งกำหนดพรโี ปรเชสเชอรท่ตี น โปรแกรมกอน เชน #include<stdio.h>, #include<conio.h>    2. คำส่งั ตางๆจะใชอ ักษรพมิ พเ ลก็   3. ตัวแปรที่ใชง านในโปรแกรมตองประกาศไวเ สมอ  4. ภายในโปรแกรมตองมีอยา งนอยหนง่ึ ฟง กช่นั คือ main ( )  5. ใชเ ครอื่ งหมาย { เพื่อบอกจุดเร่ิมตนของชดุ คำส่งั และเครือ่ งหมาย } เพ่อื บอกจดุ สนิ้ สดุ ของชดุ คำส่ัง โดยสามารถซอ น เคร่ืองหมาย { } เพ่ิมไวภายในได  6. ส้ินสุดของแตล ะประโยคคำสัง่ จะตองจบดว ยเครื่องหมาย ; (semicolon)  7. สามารถใชเ คร่ืองหมาย /*comment*/ หรอื //comment เพ่อื ระบหุ มายเหตุภายในโปรแกรม โดยคำ อธิบายท่ีอยูภายใต เครอื่ งหมาย /*comment*/ หรอื //comment จะไมถ กู นำไปประมวลผล    3.) ตวั แปลภาษา  ตัวแปลภาษา(Translator)  เนือ่ งจากภาษาคอมพวิ เตอรโ ดยเฉพาะภาษารับสูง จะมีจุดประสงคเพอื่ ใหม นษุ ยส ามารถสื่อสารเพอ่ื การเขยี นโปรแกรมไดงา ย ข้นึ แตภาษาระดบั สงู เปน ภาษาทีค่ อมพิวเตอรไมร จู กั ดังนัน้ จึงตองนำภาษาระดบั สงู ผานกระบวนการแปลเพอ่ื ใหเปนภาษา เครือ่ งเสยี กอน ตัวแปลภาษาแบง ออกเปน 2 ชนิด คอื   1. อินเตอรพรเี ตอร (Interpreter) ตัวแปลภาษาชนดิ อินเตอรพ รเี ตอร จะทำการแปลคำส่งั ทล่ี ะคำส่ัง และจะปฏบิ ัตติ ามใน คำสัง่ นน้ั ๆ หากไมพ บขอ ผิดพลาดใดๆ จากนน้ั กจ็ ะนำคำสัง่ ตอ ไปมาแปลตอ จะกระทำเชนน้ีไปเรอื่ ยๆจนจบ ถา มขี อผดิ พลาดใน โปรแกรม เครือ่ งก็จะหยุดแลว รายงานใหทราบทันทที างจอภาพ 

19 2. คอมไพลเลอร (Compiler) การแปลของคอมไพลจ ะแปลทง้ั โปรแกรมท่ีเดียว น่นั คอื ซอรสโคดท้งั โปรแกรมจะถูกนำมา แปลเพียงคร้งั เดยี วถาเจอขอผดิ พลาดกจ็ ะรายงานใหท ราบเพยี งครั้งเดยี วโดยไมบอกตำแหนงของการผิดพลาด      EXAMPLE PROGRAMMING C                           

20 เทคโนโลยปี ระยุกต   ความหมายของเทคโนโลยีประยุกต  เทคโนโลยสี ารสนเทศเปนเครอ่ื งมือในการจดั การและการกระจายสารสนเทศไปยงั ผูใชไ ดอ ยางทัว่ ถงึ และมปี ระสิทธภิ าพอีกทง้ั ผู ใชส ามารถนำสารสนเทศไปใชประโยชนใ นการตดั สนิ ใจไดเ ปน อยา งดีและตอ งไดรบั ขอมลู สารสนเทศจากแหลง ตา งๆที่นา เชอื่ ถอื เพื่อใชใ นการพฒั นาตนเองพฒั นาอาชีพรวมท้งั พฒั นาสังคมและประเทศชาต ิ การประยุกตใ ชงานเทคโนโลยสี ารสนเทศในปจจุบันไดมีการนำมาใชใ นหลายสาขาวชิ าชีพทั้งในดานการศกึ ษา ดานธุรกิจ อุตสาหกรรม ดา นการแพทย ดา นวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีเพ่อื อำนวยความสะดวกในการประกอบธรุ กิจ การทำงานการ ศกึ ษาหาความรทู ำใหค ุณภาพชวี ิตของคนในสังคมปจจบุ นั ดีขนึ้ นอกจากนีห้ นว ยงานราชการตางๆกน็ ำเทคโนโลยสี ารสนเทศ และระบบคอมพวิ เตอรเ ขามาอำนวยความสะดวกใหก ับประชาชนในการตดิ ตอ ประสานงานกับทางราชการและในธรุ กิจเอกชน ทางดา นการโรงแรมและการทองเทีย่ วก็ใหบรกิ ารขอมลู ขาวสารและบรกิ ารลกู คา ผานทางระบอินเทอรเนต็ ทำไดอ ยางสะดวก รวดเร็วทันเหตกุ ารณ  1.) เทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษาTECHNOLOGY IN EDUCATION  หมายถงึ การนำเทคโนโลยดี านตางๆ เขา มาประยุกตใชเ พอ่ื ประโยชนในการจดั การศกึ ษา การจดั การเรยี นการสอนเพ่อื ใหการ ศกึ ษาการสอนการเรยี นมีคุณภาพและมีประสทิ ธภิ าพ การนำหลักการทางวิทยาศาสตรม าประยุกตใชเพอ่ื การออกแบบและสง เสริมระบบการเรียนการสอน เปน การเนน ที่วตั ถุประสงคทางการศึกษาโดยสามารถวดั ไดอ ยางถกู ตอ งแนน อน มีการยึดหลกั ผู เรียนเปน ศูนยก ลางการเรียน     

21 เทคโนโลยปี ระยุกตท ่นี ำมาใชในการศกึ ษา  1.) เทคโนโลยีสอ่ื สารโทรคมนาคม คือ เทคโนโลยีทเี่ ก่ยี วกับการสื่อสารทางไกลโดยผานระบบการสื่อสารคมนาคมตา ง ๆ  2.) เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร ซึง่ ใชคอมพิวเตอรใ นการรบั ขอมลู ประมวลผลขอ มูลและนำเสนอขอมลู ตามที่ผูใชตอ งการ  3.) เทคโนโลยีเครือขา ยคอมพิวเตอร ซึ่งแบง เปนประเภทใหญ ๆ ไดแ ก เครอื ขา ยเฉพาะท่ี (LocalArea Network-LAN) เปน ระบบเครอื ขายคอมพวิ เตอรข นาดเล็กท่ตี อ เชอื่ มคอมพิวเตอรกบั อุปกรณไมมากนกั เครอื ขายบรเิ วณกวาง (Wide Area  Network-WAN)เปนระบบเครอื ขายท่มี ีคอมพิวเตอรกระจายอยา งกวางขวางทว่ั ประเทศ  4.) ระบบมัลติมีเดีย เปนเทคโนโลยีที่ผสมผสานภาพ ภาพเคล่อื นไหว เสยี งและขอความเขาดวยกนั   5.) คอมพวิ เตอรชวยสอน เรียกกันโดยท่ัวไปวา บทเรียน CAI ในปจ จุบนั มักอยูในรปู ของส่อื ประสม (Multimedia) หมายถึง นำเสนอไดท้ังภาพ ขอความ เสียง ภาพเคลื่อนไหวเหมาะกบั การศกึ ษาดวยตนเอง และเปด โอกาสใหผูเรียนสามารถโตต อบ กับ บทเรียนไดตลอด  6.) การเรียนการสอนโดยใชเวบ็ เปนหลัก มีสภาพการเรียนตางไปจากรูปแบบเดิม อาศัยศักยภาพและความสามารถของเครอื ขายอินเทอรเนต็ ทำใหเ กดิ การเรยี นรู การสืบคนขอมลู และเชอื่ มโยงเครอื ขาย ทำใหผ เู รยี นสามารถเรยี นไดทุกสถานทีแ่ ละทุก เวลา  7.) วิดโี อเทเลคอนเฟอเรนซ หมายถึง การประชุมทางจอภาพ โดยใชเ ทคโนโลยีการส่อื สารทท่ี นั สมัย เปน การประชมุ รวมกัน ระหวา งบุคคลหรอื คณะบคุ คลที่อยตู างสถานที่และหางไกลกันโดยใชสือ่ ทางดานมลั ติมีเดยี   8.) ระบบวดิ โี อออนดมี านด เปนระบบใหมท ก่ี ำลงั ไดรบั ความนิยมนำมาใช ในหลายประเทศเชน ญีป่ ุนและสหรัฐอเมรกิ า โดย อาศยั เครอื ขา ยคอมพวิ เตอรความเร็วสูง นำมาใชในเรอื่ งการเรียนการสอนทางไกลไดโดยไมม ีขอจำกดั ดา นเวลาผูเรยี นสามารถ เลอื กเรียนในส่ิงท่ตี นเองตอ งการเรยี นหรอื สนใจได  2.) เทคโนโลยใี นงานธุรกจิ (BUSINESS TECHNOLOGY)  หมายถึง การประยกุ ตใ ชเ ทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาธรุ กิจ พาณชิ ย และสำนักงานมวี ตั ถปุ ระสงคเ พ่ือเพิ่มประสทิ ธิภาพใน การผลติ และการบริการ ในโลกยุคใหมม ีการแขงขนั กนั อยางรนุ แรง ทำใหการคาและการดำเนินธรุ กจิ มีการเปลีย่ นแปลงองคกร ตา งๆเร่มิ พยายามเปลย่ี นแปลงใหกา วทันสยู ุคของการคา รปู แบบใหม โดยผา นเครือขายอินเตอรเนต็ เพ่ือเพม่ิ ชองทางการคาขาย การตลาดและการบรกิ ารไปสกู ลุมลกู คาท้งั เกา และใหม เปน การสรางความพงึ พอใจแกลูกคา คำวา “อคี อมเมิรซ ”จัดเปนทาง เลือกหนง่ึ ทีช่ ว ยใหองคก รไดเ ปรียบคูแขงขัน   

22 เทคโนโลยีประยกุ ตทน่ี ำมาใชในงานธุรกจิ   1.) การพาณชิ ยอ ิเล็กทรอนกิ ส (e-commerce) คือ การทำกิจกรรมทางธรุ กจิ ผานชอ งทางอิเล็กทรอนกิ ส เชน อินเทอรเ นต็   โทรศัพท วทิ ยุ แฟกซ เปนตน ทัง้ ในรปู แบบขอ ความ เสยี ง และภาพ เนนการขายสินคาหรอื บรกิ ารซง่ึ เริ่มตง้ั แตสว นของผูชอ่ื   สามารถดำเนินการเลือกซอ้ื สนิ คา หรือบริการ คำนวณเงนิ ชำระเงิน รวมถงึ การไดร บั บรกิ ารหลังการขายไดโดยอัตโนมัติ สวน ของผขู าย สามารถนำเสนอสนิ คา รับเงนิ ชำระคาสินคา ตัดสินคา จากคลังสินคา และประสานงานไปยังผจู ดั สงสนิ คา รวมถงึ การบริหารหลงั การขายไดโดยอัตโนมตั ิ ปจ จุบันประเทศไทยนิยมใชพาณชิ ยอ ิเล็กทรอนกิ สก ับธรุ กิจประเภท OTOP ซึง่ สามารถ ประชาสมั พันธส ินคาของแตล ะทองถ่นิ ใหเ ปนที่รูจักทว่ั โลก ซึ่งชวยสรางรายไดใ หกบั ชมุ ชนไดใ นระดบั หนึ่ง  2.) สำนกั งานอตั โนมัติ (office automation) เปน การนำเอาเทคโนโลยีสมยั ใหม ไดแ ก เคร่อื งคอมพิวเตอร ซอฟตแ วร  โทรศพั ท เทเลเท็กซ เครือ่ งเขียนตามคำบอกอัตโนมตั ิ (dictating machines) เครอื่ งถายเอกสารแบบหนว ยความจำ เครอ่ื ง โทรสาร ฯลฯ มาชว ยใหการปฏิบัตงิ านในสำนักงานเกิดประสทิ ธภิ าพและความสะดวกรวดเร็วมากข้นึ และยังชว ยใหล ด  ปรมิ าณารใชกระดาษของสำนักงานไดเ ปนอยางด ี 3.) เทคโนโลยีดานการแพทย( MEDICAL TECHNOLOGY)  หมายถึง วิทยาการท่ีเกีย่ วกบั ศิลปะในการนำเอาวิทยาศาสตรม าประยกุ ตใ ช เพ่ือใหเกดิ ประโยชนตอ มนุษยใ นดานการแพทย  เชน การตรวจ การรกั ษาพยาบาล และการปองกนั โรค การประยกุ ตใ ชเ ทคโนโลยีสารสนเทศดา นสาธารณสุขและการแพทยม ี วตั ถปุ ระสงคหลกั เพือ่ ใหประชาชนมสี ุขภาพอนามยั ท่ดี ีขน้ึ ตลอดจนไดรับการรกั ษาพยาบาลทีด่ ีขึ้น ทำใหงานดา นสาธารณสุข เจริญกา วหนาอยา งรวดเรว็                          

23 เทคโนโลยีประยกุ ตท่ีนำมาใชใ นดานการแพทย  1.) ระบบแพทยทางไกล (telemedicine) เปน โครงการของรฐั บาลทีย่ กระดบั การใหบ ริการรักษาผูปวยในทองถิ่นทุรกันดาร ผา นเครอื ขา ยโทรคมนาคม โดยเรมิ่ จากสง ขอมลู ผูปว ยดว ยการถายทอดสดผานทางดาวเทยี มในการประชุมทางไกลผา นเครอื ขาย (video conference system) เพื่อใหแพทยผูเชี่ยวชาญของโรงพยาบาลปลายทางไดด ภู าพลักษณะของผูปว ย กอน ทำการวินจิ ฉยั อาการผานจอมอนเิ ตอรอ ยางละเอยี ดอีกครง้ั พรอมกบั ใหคำแนะนำในการรกั ษาเพื่อใหก ารรักษาพยาบาลเปนไป อยา งถูกตองและถกู วธิ ีทส่ี ุด   2.) ระบบการปรึกษาแพทยทางไกล (medical consultation) เปนระบบการปรึกษาระหวางโรงพยาบาลชมุ ชนกบั โรง พยาบาลท่มี ีแพทยผเู ช่ียวชาญผานสญั ญาณดาวเทียม ซ่ึงสามารถสง ไดท ั้งขอมลู ภาพ ภาพเคลื่อนไหว และเสยี ง   3.) ดานการลงทะเบียนผูปวย ตง้ั แตเริม่ ทำบตั ร จา ยยา เก็บเงิน  4.) เทคโนโลยสี ารสนเทศชวยในการใหความรูแ กป ระชาชนของแพทยหรือหนวยงานสาธารณสุข เปน ไปดว ยความสะดวก  รวดเร็ว โดยสามารถใชส ือ่ ตางๆ เชน ภาพนง่ิ ภาพเคล่อื นไหวท่มี ีเสยี ง  5.) เทคโนโลยีสารสนเทศชวยใหผ บู ริหารสามารถกำหนดนโยบายและตดิ ตามกำกบั การดำเนินงานตามนโยบายไดดยี ิ่งข้ึน  โดยอาศัยขอมลู ท่ีถกู ตองฉบั ไวและขอ มูลท่จี ำปน ท้งั นอ้ี าจใชค อมพวิ เตอรเ ปน ตัวเกบ็ ขอ มูลทำใหก ารบริหารเปนไปไดด ว ยความ รวดเร็ว ถกู ตองมากยงิ่ ข้ึน  6.) การพฒั นาเคร่ืองมอื และอุปกรณ โดยอาศยั ความรดู านวศิ วกรรมเปนหลักในการผลิตเครื่องมือและอปุ กรณต า ง เชน   6.1 เพือ่ การตรวจและวินิจฉัยโรค = เครื่องเอกซเรย,เครื่องอลุ ตราซาวด,เคร่อื งตรวจการทำงานของหัวใจ  6.2 เพื่อการรกั ษาพยาบาล = มดี ผาตัดเลเซอร, เคร่ืองฉายรงั สี,เครื่องควบคุมการใหออกซเิ จน,เครือ่ งกระตุนการทำงานของ หวั ใจ,การสรา งอวัยวะเทยี ม  6.3 เพ่ือการปองกนั โรค = เตาอบและตอู บฆา เช้อื ,การใชร งั ส,ี เคร่อื งฉายรงั ส,ี อปุ กรณสำรหับการสวมครอบหรือสอดใสเ ขาไปใน รูห ู 7.) การพฒั นาเทคโนโลยีเพ่อื การผลิตยา สาร หรือวธิ กี ารท่ใี ชในทางการแพทย ในการพัฒนาตองอาศยั เทคโนโลยี เทคนิค  และวิธกี ารตา งๆ เชน เทคโนโลยีชีวภาพ และเทคนิคทางดานวิศวกรรม ไดแ ก การพัฒนาวิธกี ารเพาะเลย้ี งเชื้อซึง่ เก็บตวั อยา ง มาจากผูปว ย,การสรา งเด็กหลอดแกว,การหาสาเหตแุ ละการรักษาโรคท่ีเกดิ จากความบกพรองทางพันธุกรรม,อตุ สาหกรรมการ ผลติ ยา,การผลิตเซรมุ ,การผลติ วัคซีนปองกันโรค       

24 บรรณานุกรม   นายมนัสชยั กีรติผจญ. (๒๕๖๒). เทคโนโลย.ี กรงุ เทพมหานคร: สำนักพิมพเ อมพนั ธ     https://sites.google.com/site/ccomputeryrc/prawati-khxng-phasa-si   https://belle050blog.wordpress.com/2017/02/26/%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a 3%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%a2%e0%b8%b8%e0%b8%81%e0 %b8%95%e0%b9%8c%e0%b9%83%e0%b8%8a%e0%b9%89%e0%b9%80%e0%b8%  97%e0%b8%84%e0%b9%82%e0%b8%99%e0%b9%82%e0%b8%a5%e0%b8%a2/    https://sites.google.com/a/cps.ac.th/sitelearning/kar-prayukt-chi-thekhnoloyi-sar-sn-dan-t hurkic-phanichy-laea-sanakngan-thes    https://sites.google.com/site/krunoptechno/kar-prayukt/kar-prayukt-dan-kar-phaethy    https://sites.google.com/site/kroonom/kar-prayukt-chi-the                                  

25 ภาคผนวก   1.)ภาพสถติ เิ กย่ี วผเู ขาชมการ (live) หรือนำเสนอออนไลน  https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=755066118604597&id=100023036469942    2.)ยอดผูเขาดูเวบ็ ไซตของ Admin  https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=1496715174050074&id=100011348189816   


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook