[วนั ท่]ี ความรู้เรื่องภาพ (Picture) จดั ทำโดย ครูบวั ทิพย์ ชิตรัตน์ สำขำวิชำคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ
คำนำภำพเป็นอปุ กรณ์กำรสอนท่ีมีประโยชนม์ ำกอย่ำงหนึ่ง ภำพมลี ักษณะเปน็ ภำษำสำกล ไม่วำ่ ผู้เรียนจะเป็นผใู้ หญ่หรือเด็กกส็ ำมำรถที่จะตีควำมหมำยของภำพได้ ดังคำพูดที่พดู กันติดปำกอยูเ่ สมอวำ่ “สบิ ปำกวำ่ ไม่เท่ำตำเห็น”ขงจื้อนักปรำชญ์จนี กลำ่ ววำ่ “รูปภำพเพยี งรูปเดยี วสำมำรถแทนคำพดู ไดถ้ งึ พนั คำ” ภำพประกอบมีส่วนสำคัญในกำรจูงใจให้เกิดควำมร้แู ละควำมคดิ อย่ำงรวดเร็ว โดยใชภ้ ำพบรรยำยให้ทรำบถงึ เหตุกำรณน์ ้นั ๆ ถ้ำหนงั สอื เล่มน้นั ไม่มภี ำพ ผู้อ่ำนก็จะอ่ำนคำบรรยำยในหนงั สืออยำ่ งต้งั ใจและอำจต้องอ่ำนซำ้ หลำยๆ คร้ังจึงจะเขำ้ ใจไดด้ ี เพรำะฉะนนั้ ภำพในหนังสอื จะชว่ ยเร้ำควำมสนใจของผู้อำ่ นอย่ำงได้ผลภำพจะช่วยแปลควำมหมำยของเนือ้ หำในหนังสอื และชว่ ยใหผ้ ู้อ่ำนจดจำเนอื้ หำไดด้ ียงิ่ ขน้ึ ผู้จดั ทำ ครบู ัวทิพย์ ชติ รตั น์
ควำมหมำยของภำพ สำรบญัประเภทของไฟลภ์ ำพ 1ภำพเวคเตอร์ 3ภำพบิตแมป 4 5
1. ความหมายของภาพภำพเปน็ อุปกรณ์กำรสอนที่มีประโยชน์มำกอย่ำงหนง่ึ ภำพมีลกั ษณะเป็นภำษำสำกล ไม่วำ่ ผู้เรียนจะเปน็ ผ้ใู หญ่หรือเด็กก็สำมำรถท่จี ะตีควำมหมำยของภำพได้ ดังคำพูดท่ีพูดกนั ตดิ ปำกอยู่เสมอว่ำ “สิบปำกวำ่ ไม่เทำ่ ตำเห็น” ขงจ้ือนักปรำชญ์จนีกล่ำวว่ำ “รปู ภำพเพยี งรูปเดยี วสำมำรถแทนคำพูดได้ถึงพนั คำ” ภำพประกอบมีส่วนสำคญั ในกำรจูงใจใหเ้ กิดควำมรู้และควำมคิดอยำ่ งรวดเรว็ โดยใช้ภำพบรรยำยให้ทรำบถึงเหตุกำรณน์ ัน้ ๆ ถ้ำหนังสือเล่มนั้นไม่มภี ำพ ผู้อ่ำนกจ็ ะอำ่ นคำบรรยำยในหนงั สืออยำ่ งต้ังใจและอำจต้องอ่ำนซำ้ หลำยๆ คร้ังจงึ จะเข้ำใจได้ดี เพรำะฉะนั้นภำพในหนงั สอื จะชว่ ยเร้ำควำมสนใจของผู้อำ่ นอย่ำงไดผ้ ล ภำพจะชว่ ยแปลควำมหมำยของเนื้อหำในหนังสอื และช่วยใหผ้ อู้ ำ่ นจดจำเน้ือหำไดด้ ีย่งิ ขึ้น ภำพประกอบหนงั สอื สำหรับเดก็ มีควำมสำคัญต่อเด็กทกุ ระดับ ยิง่ ในระดับประถมดว้ ยแลว้ ยิ่งมีควำมสำคญั มำก ในกำรที่จะช่วยสง่ เสรมิ ให้เดก็ เข้ำใจในเน้ือเรื่องย่ิงขึ้น ภำพประกอบหนงั สอื เด็กแต่ละวยั มีลักษณะของภำพ เช่นเดียวกนั ไม่ได้ เด็กทเี่ ลก็ กวำ่ มีควำมสนสำมำรถในกำรแปลควำมหมำยของภำพไดน้ ้อย ภำพควรมีลักษณะงำ่ ย ฉะนน้ั ภำพของเด็กแต่ละวัยตอ้ งแตกตำ่ งกัน กำรสรำ้ งภำพในหนังสือสำหรับเดก็ ไมใ่ ช่ของง่ำย จะตอ้ งมีกำรพจิ ำรณำอยำ่ งถี่ถ้วน เพรำะมิได้คำนงึ ถึงศิลปะควำมงำมในภำพอยำ่ งเดียว จะต้องคำนงึ ถึงควำมสำคญั ของภำพในอีกหลำยดำ้ น เช่น พฒั นำกำรของเด็กวยั ตำ่ งๆ รุท เฮเลน แอนเนสเดน (Ruth Helen Anesden) ได้ใหห้ ลกั เกณฑ์ในกำรพิจำรณำภำพประกอบหนงั สอื สำหรบั เดก็ ไว้ดงั นี้ 1. ภำพประกอบทเี่ หมำะสม จะต้องเปน็ ภำพทีแ่ สดงอำกำรคลำ้ ยกับเคลอ่ื นไหว มีชีวิตจติ ใจ 2. ภำพประกอบทีเ่ หมำะสม จะต้องมีจดุ สนใจในภำพซึง่ ใหญ่และสะดุดตำ มีควำมหมำยงำ่ ย ไมม่ ีรำยละเอียดยุ่งยำกซบั ซ้อน 3. ขอบเขตของสีท่ีใชใ้ นภำพประกอบ ปรำกฏว่ำภำพหลำยสไี ดร้ ับควำมสนใจกวำ่ ภำพขำวดำ
4. ขนำดโดยเฉล่ียของภำพ ควรมขี นำดใหญ่ ภำพใหญ่ได้รับควำมสนใจกว่ำภำพเล็ก 5. หนังสือที่มีภำพประกอบมำก มักจะไดเ้ น้ือหำมำกกว่ำหนังสอื ที่มภี ำพประกอบนอ้ ย 6. รูปภำพที่มเี นื้อหำตรงกับหวั เรอ่ื ง มักได้รับควำมสนใจมำกกว่ำรปู ภำพที่ไมต่ รงกับหัวเร่ือง โดยเฉพำะภำพท่ีแสดงถงึ กำรผจญภยั ทีต่ ื่นเตน้ จะไดร้ บั ควำมสนใจมำกกว่ำ ประภัสร นยิ มธรรม ไดพ้ ูดถึงเร่ืองศิลปะของเด็กไว้ว่ำ งำนขีดเขยี นเป็นกำรเร่มิ ตน้ ของกำรสรำ้ งงำนทำงศิลปะ ระหว่ำง 2 – 3 ขวบ เปน็ ระยะที่เดก็ เรมิ่ คิดค้นสงิ่ ทเ่ี ขำพบเห็นวำ่ ควรเปน็อยำ่ งไร เหมือนอะไร มคี วำมรูส้ กึ อยำ่ งไร และจะแสดงควำมโดยกำรลำกเส้นต่ำงๆ ลงบนกระดำษ ฝำผนังพื้นดิน ฯลฯ ทกุ ส่ิงทุกอย่ำงท่ีเดก็ คิดได้ไม่นับเป็นกำรสูญเปล่ำ เพรำะเปน็ งำนศลิ ปะของเขำนน่ั เอง กิจกรรมดังกล่ำวน้ีจะเกดิ กบั เดก็ ทกุ คนเม่อื อำยุรำว 2 ขวบ ในขน้ั แรกเรำจะเห็นกำรขีดเขย่ี เป็นเส้นย่งุ เหยงิ สะเปะสะปะคลำ้ ยเสน้ กว๋ ยเตย๋ี ว เป็นเสน้ ทีไ่ มม่ ีรูปแบบแยกแยะอะไรไม่ได้ แต่อนั ท่ีจริงแลว้ กำรขดี เขี่ยมอี ยู่หลำยชนิด บำงอยำ่ งยงุ่ ยำกซบั ซ้อน แต่ไม่มีอนั ไหนท่ีไมม่ คี วำมหมำย วัย 5 –6 ขวบ เด็กวยั นีเ้ รมิ่ สนใจเก่ียวกบั ธรรมชำตริ อบตวั เขำเป็นต้นว่ำ บำ้ นของเด็กและสมำชิกในครอบครวั เมื่อเดก็ วำดภำพ ส่วนใหญ่จะเป็นภำพตัวของเขำเอง พ่อแม่ สตั วเ์ ล้ียงของเขำ ภำพท่ีเด็กวยั นี้เขยี นผใู้ หญ่จะดไู ม่ออก รำยละเอียดและควำมประณตี ไม่มี ไม่รจู้ ักจัดภำพ เขยี นไปตำมพอใจ สีท่ีนิยม คอื แดง น้ำเงนิ เหลอื ง วัย 7 – 10 ขวบ เดก็ วยั นีม้ ีสงิ่ ที่น่ำสงั เกตเกีย่ วกบั พัฒนำกำร กำรใช้ควำมสัมพนั ธ์ระหวำ่ งมอื กบั สำยตำไดด้ ี รจู้ ักใช้กลำ้ มเนอื้ มอื และสำมำรถบังคบั ให้เป็นไปตำมควำมต้องกำร ภำพทเ่ี ด็กวยั นีเ้ ขียนจะเปน็ แบบอิสระรูปมรี ำยละเอียด และมีส่วนประกอบอน่ื ๆ เพ่มิ ข้ึนมำ รจู้ ักกำรจดั ภำพเพอ่ื ให้สวยงำมแต่ยงั ไมม่ รี ำยละเอียดมำกนกั สีท่ใี ช้ชอบสีทม่ี ีควำมสดใส วัย 11 – 12 ขวบ มีควำมสังเกตสงู มีกำรจัดลำดับภำพ กำรวำงภำพได้ เปน็ ระเบียบสวยงำม ภำพที่เขียนอำจเปน็ ภำพชมุ นุมชนที่อยู่ เชน่ ตลำด บำ้ น โรงเรียน สีทใี่ ชเ้ ป็นสีผสม ควำมสดใสของสลี ดน้อยลง
จำกกำรศกึ ษำถึงพฒั นำกำรทำงจิตวิทยำ ในกำรแสดงออกทำงศิลปะของเดก็ เรำสำมำรถนำไปใชส้ ร้ำงภำพประกอบหนังสือสำหรับเด็กได้ดังนี้1. ภำพสำหรับเด็กควรสรำ้ งง่ำยๆ ชดั เจน เด็กยิง่ เล็กเท่ำใดภำพก็ควรจะง่ำยขน้ึ เท่ำนัน้ อำจจะเปน็ ลำยเสน้เฉพำะแต่ลักษณะเดน่ ๆ ของภำพนน้ั สกี ับรำยละเอียดตำ่ งๆ ก็คอ่ ยๆ เพมิ่ ขนึ้ ตำมวยั และตำมพัฒนำกำรทำงรำ่ งกำยของเดก็ ในกำรวจิ ยัพบว่ำเดก็ ชอบภำพสัตว์มำกกว่ำภำพคนสว่ นจำนวนภำพในหนังสือสำหรับเด็ก ไม่อำจกำหนดแนน่ อนลงไปได้ว่ำ ในแตล่ ะระดบั ช้ัน ควรจะมภี ำพสกัเท่ำไร แต่มหี ลกั อยูว่ ่ำ เด็กยง่ิเลก็ เทำ่ ไร ภำพกต็ ้องมำกข้ึนเท่ำนั้น และตัวหนังสอื ก็ต้องมีน้อย อำจเปน็ คำๆ เดียว วลีเดียว หรอื ประโยคเดียวครั้นพอเดก็ โตข้นึ ภำพก็ต้องมีจำนวนลดลงตำมวัย เพรำะควำมสนใจในภำพของเด็กจะลดลงไปเรอ่ื ยๆ ควำมสนใจในเรือ่ งจะเขำ้ มำแทนท่ี แต่ถึงอย่ำงไรก็ตำมหนังสือสำหรับเด็กทุกเล่มตอ้ งมภี ำพประกอบเสมอ2. กำรให้สี พยำยำมให้สที ี่ดงึ ดูดควำมสนใจของเด็กให้มำก ภำพทใ่ี ช้สำหรับเดก็ เล็กไม่ควรเปน็ สีผสม ควรเป็นแมส่ ี ต่อเมื่อเด็กโตขึ้นภำพจึงควรใช้สีผสมและต้องให้คล้ำยคลึงกบั ธรรมชำตมิ ำกท่ีสดุ เดก็ เล็กไม่ควรใช้สมี ำกเกินไปเพรำะจะทำให้ภำพไมเ่ ดน่ ชัด3. สแี ละภำพประกอบ สีเปน็ ส่วนหนึ่งของภำพประกอบหนงั สือ เพรำะภำพสีสำมำรถดึงดดู ควำมสนใจได้มำกกวำ่ ภำพขำวดำ และชว่ ยให้เหน็ ควำมเป็นจริงมำกกวำ่ ภำพขำวดำ
2. ประเภทของไฟล์ภาพ ประเภทของไฟลม์ ีไวเ้ พื่อจำแนกหน้ำที่และรูปแบบของไฟล์ เพื่อใหเ้ รำทรำบได้ว่ำไฟลน์ ้ันๆ มีหนำ้ ท่ีอะไรใชท้ ำอะไร แตใ่ นท่ีนี้ ทำงเรำ จะแนะนำเฉพำะไฟล์ใช้ควบคู่กับกำรทำงำนกรำฟฟคิ เท่ำนน้ัประเภทของไฟล์กรำฟฟคิ มี 2 ประเภท คอื based1. ไฟลก์ รำฟฟิคประเภท Raster baseded2. ไฟล์กรำฟฟิคประเภท Vector basedภำพตวั อยำ่ งของกรำฟฟิคไฟล์ทั้งสองประเภท ภำพแตงโมขยำยใหญ่ในแบบ raster สังเกตไุ ด้วำ่ ภำพจะแตกเป็นเส่ียงๆ เพรำะ วำ่ ภำพเกิดขึ้น จำกจุดเลก็ ๆ มำเรียงกนั ภำพแตงโมขยำยใหญใ่ นแบบ vector ภำพยังเฉยี บคมแมจ้ ะขยำยเป็นพนั ๆ พนั เท่ำ (โปรดสังเกต : ขนำดขยำยใหญ่กวำ่ นะ)1) ไฟลก์ รำฟฟิคประเภท Raster based หรอื ท่ีเรียกกนั ทัว่ ไปวำ่ \"bitmap\" ซ่งึ เกิดจำกกำรนำเอำจดุ สเี ลก็ ๆ หลำยๆ จดุ มำรวมกันเพ่ือให้เกิดภำพ ซึง่จะมีควำมกว้ำงยำว X pixel และ Y pixel และควำมลึกคือ Z pixel (Z pixel คือ คำ่ ควำมลกึ ของสี : ColorDepth) ไฟล์ Raster มรี ปู แบบและวตั ถปุ ระสงค์ในกำรใช้งำนแตกตำ่ งกันไป ซง่ึ เรำควรจะนำมำใช้ให้เหมำะสมโดยศกึ ษำกำรใชง้ ำนไดจ้ ำกตำรำงต่อไปน้ี
ตำรำงที่ 1.1 ชนดิ ของกรำฟฟิคไฟล์ประเภท Rasterไฟล ์ มาจากคาวา่ ลกั ษณะการใชง้ าน ถกู สรา้ งขน้ึ มาเพอ่ื ใชเ้ พอ่ื แสดงผลภาพกราฟฟิคโปรแกรมวนิ โดวส์ เป็ นBMP Bitmap squence ไฟลท์ ไี่ มค่ อ่ ยมปี ระโยชนใ์ นดา้ นการใชง้ านมากนัก จะใชเ้ พอื่ เก็บกราฟ ฟิคไฟลท์ เี่ ป็ นตน้ แบบเสยี สว่ นใหญ่ และใชใ้ นการแสดงผลบนPCX - จอคอมพวิ เตอร์TIFF Tagged Image File เป็ นกราฟฟิคไฟลพ์ นื้ ฐานอกี ชนดิ หนง่ึ ใน PC ถกู สรา้ งและพฒั นาโดย Z- soft Corperation เพอื่ ใชก้ บั โปรแกรม PC Paintbrush มรี ปู แบบ Format คลา้ ยคลงึ กับไฟล์ bitmap ปัจจบุ นั ไมน่ ยิ มใชก้ นั แลว้GIF compu surve Graphic เป็ นกราฟฟิคไฟลท์ ส่ี รา้ งมาเพอ่ื โปรแกรมประเภทจัดหนา้ หนังสอื (Desktop Publishing) สามารถเก็บขอ้ มลู รายละเอยี ดของภาพได ้ Interchange File คอ่ นขา้ งมาก ใชไ้ ดท้ ัง้ ใน Mac และ PC มหี ลายเวอรช์ นั่ แตท่ น่ี ยิ มใชก้ ันJPG Joint Photographic คอื เวอรช์ น่ั 4 และ 5 ถกู สรา้ งขนึ้ มาโดยบรษิ ัท Compu surve ซงึ่ เป็ นบรษิ ัททใ่ี หบ้ รกิ ารดา้ น Experts Group เครอื ขา่ ยของสหรฐั เหมาะกบั การเก็บไฟลร์ ปู ภาพขนาดเล็ก และมีPICT PICTure จานวนของสนี อ้ ย มขี นาดไฟลเ์ ล็กเพราะสรา้ งขน้ึ มาเพอื่ ใชใ้ นระบบPSD - เครอื ขา่ ยPNG - เป็ นไฟลท์ ถ่ี กู สรา้ งขนึ้ มาเพอ่ื บบี อดั ขอ้ มลู ภาพ เพอ่ื ใหม้ ขี นาดกระทัดรดัPDF - เพอื่ นาใชง้ านในระบบอนิ เตอรเ์ นต นยิ มมาใชใ้ นการแสดงผลรปู ภาพบน เครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ นตเชน่ เดยี วกบั GIF แตม่ วี ัตถปุ ระสงคใ์ นการใชง้ าน แตกตา่ งกนั เป็ นกราฟฟิคไฟลป์ ระเภทเดยี วกบั ไฟล์ BMP เป็ นไฟลท์ ใ่ี ชเ้ พอื่ แสดงผล ภาพกราฟฟิค บนจอภาพของ แมคอนิ ทอช คอื กราฟฟิคไฟล์ ของโปรแกรมตบแตง่ รปู ภาพ (Retuching) ยอดนยิ ม Adobe Photoshop ไฟล์ PSD นจี้ ะใชก้ ับโปรแกรม Adobe Photoshop เพอ่ื การแกไ้ ขตบแตง่ รปู ภาพ เป็ นกราฟฟิคไฟลช์ นดิ ลา่ สดุ ทนี่ ามาใชแ้ สดงผลภาพบนเวบเพจ ไฟล์ PDF เป็ นไฟลเ์ อกสารของ Adobe Acrobat ใชใ้ นการแสดงเอกสาร ในรปู แบบของกราฟฟิค ซง่ึ จะตอ้ งใช ้ โปรแกรม Adobe Acrobat Reader ในการอา่ น
ตารางที่ 1.1 คณุ สมบตั แิ ละขอ้ ด,ี ขอ้ เสยี ของกราฟฟิ คไฟลป์ ระเภท Rasterไฟล ์ คณุ สมบตั ขิ องไฟล์ ลกั ษณะการใชง้ านBMP สามารถบนั ทกึ ภาพชนดิ ขาว สามารถเก็บองคป์ ระกอบของรปู ไดค้ รบ ดาแบบ 16 สี และภาพสี ขนาด 24 บทิ (True color) ขนาดของไฟลใ์ หญ่ ได ้PCX บันทกึ ไดต้ งั้ แตภ่ าพชนดิ - ขาวดาแบบ 16 ส,ี ภาพขาว - ดา 256 ระดบั (Grayscales), ภาพสแี บบ 16, 256 และ 16.7ลา้ นสี ได ้TIFF บนั ทกึ ภาพไดห้ ลายชนดิ ทัง้ สามารถบันทกึ ขอ้ มลู ไดห้ ลายชนดิ และบนั ทกึ ระดับสไี ดส้ งู และมกี ารบบี ภาพลายเสน้ (Line-Art), อัดขอ้ มลู เพอื่ ประหยัดเนอื้ ทใ่ี นการบนั ทกึ ได ้ ภาพ halftone, ภาพ มหี ลายเวอรช์ น่ั ซงึ่ ตอ้ งระวงั ในเซฟเพอ่ื ใชง้ านกับ โปรแกรมประยกุ ตร์ นุ่ grayscale และภาพสตี งั้ แต่ เกา่ ๆ 1 บทิ จนถงึ ภาพสี 32 บทิGIF เก็บขอ้ มลู ภาพในลกั ษณะ 8 นยิ มใชง้ านในอนิ เตอรเ์ นต มคี วามสามารถพเิ ศษมาก เชน่ การทาภาพ bit (256 ส)ี สามารถเก็บ โปรง่ ใส (Transparent), สามารถรอรบั อนิ พทุ จากผใู ้ ชเ้ พอ่ื ใหม้ กี าร ภาพไวไ้ ดห้ ลายภาพในไฟล์ เคลอื่ นไหวภาพ, การใสค่ อมเมนทเ์ พอื่ การอา้ งองิ เดยี ว จงึ สามารถทา เก็บสไี ดเ้ พยี ง 256 สี (สโี ปรง่ ใส หรอื Transparent ก็นับเป็ น 1 ส)ี และ ภาพเคลอื่ นไหวได,้ มกี าร ไมเ่ หมาะทจี่ ะเซฟไฟลร์ ปู ขนาดใหญๆ่ เพราะจะมขี นาดใหญม่ าก บบี อัดขอ้ มลู แบบ LZW (Lamp Ziv-Welch),JPG เก็บขอ้ มลู ภาพในลกั ษณะ เหมาะสาหรับการใชง้ านบนอนิ เตอรเ์ นต เพราะมขี นาดเล็กสามารถโหลด ของการบบี อดั ขอ้ มลู ไดร้ วดเร็ว แตใ่ หร้ ายละเอยี ดของภาพสงู สามารถเก็บภาพสไี ดส้ งู ถงึ 16.7 ลา้ นสี คณุ ภาพของรปู จะลดลงเมอื่ บบี อัดไฟล์ จงึ ไมเ่ หมาะแกก่ ารนามาแกไ้ ข ตบแตง่PICT ไมท่ ราบขอ้ มลู แตม่ ี สามารถเก็บองคป์ ระกอบของรปู ไดค้ รบ ความสามารถใกลเ้ คยี งกบั เป็ นไฟลข์ อง Mac OS และไมส่ ามารถเซฟในโหมด CMYK เพอื่ นามาใช ้ ไฟล์ BMP งานดา้ นการพมิ พไ์ ด ้PSD สามารถบนั ทกึ ขอ้ มลู ภาพ มกี ารแบง่ เลเยอร์ เพอ่ื งา่ ยแกก่ ารแกไ้ ข ในภายหลงั และสามารถบนั ทกึ ไดท้ กุ รปู แบบ กราฟฟิคแบบ Vector ลงในไฟลไ์ ด ้ มขี นาดไฟลท์ ใ่ี หญ่PNG ยงั ไมม่ ขี อ้ มลู - -PDF ยงั ไมม่ ขี อ้ มลู สามารถเซฟไฟลก์ ราฟฟิค ทกุ ประเภทใหเ้ ป็ น PDF ได ้ (โดยใชโ้ ปรแกรม Adobe Acrobat) โดยยังคงลักษณะเดมิ ของเอกสารไว ้ ไมว่ ่าจะเปิดทใี่ ด ตอ้ งอา่ นไฟลช์ นดิ นดี้ ว้ ย โปรแกรม Adobe Acrobat Reader เทา่ นัน้
2) ไฟลก์ รำฟฟคิ ประเภท Vector based คอื ไฟล์กรำฟฟคิ ที่เกิดจำกกำร ผลคำนวณทำงคณติ ศำสตร์เพอ่ื ให้เกิดภำพ หรือเรำจะเรยี กไฟลช์ นดิ นี้ได้อีกอยำ่ งหนึ่งว่ำ ไฟล์ประเภท \"postscript\" ไฟล์ชนิดนบี้ ำงประเภทกย็ ังสำมำรถเก็บภำพ bitmap เอำไว้ในตวั ได้อีกดว้ ย ส่วนใหญ่แลว้ ไฟล์ประเภท Vector นจ้ี ะถูกแบ่งแยกโดยโปรแกรมประยุกตท์ ่ีใช้ในกำรแก้ไขไฟล์นนั้ ๆไฟล์ชนิดซ่งึ ท่ีนยิ มใชก้ นั นน้ั มีดงั น้ี ตารางที่ 1.1 ตวั อยา่ งของกราฟฟิ คไฟลป์ ระเภท Vectorไฟล ์ มาจากคาวา่ ลกั ษณะการใชง้ านPS PostScript ไมม่ ขี อ้ มลู ครับEPS Encapsulated PostScript เป็ นไฟลท์ ถ่ี กู สรา้ งขน้ึ มาเพอื่ ใชใ้ นงานออกแบบสอ่ื สง่ิ พมิ พ์ (Desktop Publishing) เป็ นไฟล์ Vector มาตรฐาน ใชง้ านไดก้ ับโปรแกรมหลาย โปรแกรม สามารถทาการแยกสเี พอื่ งานพมิ พไ์ ด ้ นอกจากนยี้ ังใชใ้ นการ เซฟ Vector ไฟล์ จากโปรแกรมหนงึ่ เพอื่ นาไปโหลดใชง้ าน ในอกี โปรแกรมหนง่ึ อกี ดว้ ย ไฟลช์ นดิ นจ้ี ะมขี นาดใหญก่ วา่ ไฟล์ vector ชนดิ อนื่ ๆAI Adobe Illustrator AI เป็ นไฟลข์ อง Adobe Illustrator จงึ ควรรแกไ้ ขไฟล์ AI บนโปรแกรม sequence Illustrator เทา่ นัน้FH FreeHand คอื ไฟลข์ องโปรแกรม vector ของ คา่ ย Macromedia ทม่ี ชี อ่ื วา่ FreeHand (เครอื่ งหมาย ?ใชแ้ ทนตัวลขเพอื่ บอกเวอรช์ น่ั ของไฟล)์DWG DraWinG file คอื drawing file ของโปรแกรม AutoCAD FLA FLAsh เป็ นไฟล์ Vector ของโปรแกรม Macromedia Flash ใชใ้ นการสรา้ งอนิ เมชนั่ บนเวบเพจSWF Shock Wave Flash เป็ นไฟล์ Vector ของโปรแกรม Macromedia Flash ใชใ้ นการแสดงผล Flash อนเิ มชน่ั บนเวบเพจไฟลป์ ระเภท Vector ทใี่ ช้กับงำนสือ่ ส่งิ พิมพ์น้ัน จะสำมำรถสรำ้ งไฟลแ์ ยกสชี นดิ 5 สี โดย 4 แรกคือ CMYKและสสี ุดทำ้ ยจะเป็นข้อมูลของกำรจดั ตำแหนง่ ไฟล์แยกสี 5 สี ทีเ่ รยี กว่ำ DCS (Digital Color Separation)
แหลง่ อ้ำงองิ 1.http://www.infinityprinting.co.th/main/content.php?page=sub&category=22&id=592.https://sites.google.com/a/sikaopracha.ac.th/porkaerm-khxmphiwtexr-krafik/prapheth-khxng-fil-phaph-krafik
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: