Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Unit 1

Unit 1

Published by aumaiya11, 2020-06-01 23:53:28

Description: Unit 1

Search

Read the Text Version

วิชา งานเชื่อมโลหะ แผ่นเบ้ อื งตน้ 20100-1004

- ความปลอดภยั - ความปลอดภยั ในงานเช่ือมแกส๊ - ความปลอดภยั ในงานเชื่อมไฟฟ้า -ความปลอดภยั ในงานโลหะแผน่ -ความปลอดภยั ในการทางาน

ความปลอดภัยในการทางาน คือ สภาพทป่ี ลอดภัยจากอบุ ัตเิ หตุต่างๆทจ่ี ะเกดิ แก่ร่างกาย หรือทรัพย์สินในขณะที่ ปฏิบัติงานซึ่งกค็ ือสภาพการทางานให้ถูกต้องโดยปราศจาก “ อุบตั เิ หตุ ” สาเหตุทส่ี าคั 3 ประการ 1.ตวั บุคคล 2. สภาพแวดล้อม 3. เครื่องมือเครื่องจกั ร

ความปลอดภยั ทัว่ ไปในงานเช่ือม (ต่อ)  ความปลอดภยั ในงานเช่ือมมีสาเหตุเกิดจากการปฏิบตั ิงานเชื่อม ดงั น้นั ก่อนทาการเช่ือมควรศึกษา ถึงข้นั ตอนในการทางานวา่ อนั ตรายที่จะเกิดข้ึนจากข้นั ตอนในการทางานและสิ่งที่อาจเกิดข้ึนได้ โดยอยเู่ หนือการควบคุมอนั ตรายที่เกิดข้ึนไดแ้ ก่ 1. แก๊สพิษท่ีเกิดจากการเช่ือมโลหะบางชนิดและควนั ที่เกิดจากการเชื่อม 2. ความร้อนจากเปลวแก๊สและความร้อนจากการ อาร์คของลวดเช่ือมโลหะร้อน 3. แสงหรือรังสีท่ีเกิดจากการอาร์คของลวดเชื่อมไฟฟ้า

ความปลอดภัยทัว่ ไปในงานเช่ือม 4. กระแสไฟฟ้ารั่วหรือไฟฟ้าดูด 5. การเคลื่อนยา้ ยอุปกรณ์ต่างๆเช่นถงั แก๊ส 6. การใชเ้ ครื่องมือ / อุปกรณ์ไม่ถูกตอ้ งหรือชารุด

ความปลอดภยั ในงานเชื่อมไฟฟ้า (ต่อ) การเชื่อมไฟฟ้าอาศยั ความร้อนจากการอาร์คของลวดเชื่อมกบั ชิ้นงานจึงทาใหเ้ กิดผลต่างๆตามมาที่ก่อใหเ้ กิด อนั ตรายต่อร่างกายดงั น้นั จึงตอ้ งคานึงถึงความปลอดภยั ในการเชื่อมไฟฟ้าในดา้ นตา่ ง ๆดงั น้ี 1.ความปลอดภยั ในดา้ นกระแสไฟฟ้า

ความปลอดภยั ในงานเชื่อมไฟฟ้า (ต่อ) 3. ความปลอดภยั ในแสงท่ีเกิดจากการอาร์ค 2. ความปลอดภยั ในดา้ นควนั ในการเช่ือม

ความปลอดภยั ในงานเช่ือมไฟฟ้า ความปลอดภยั จากความร้อนและโละหะร้อน

ความปลอดภยั ในงานเชื่อมไฟฟ้า 1. ผู้ปฏิบตั ิงานเช่ือมโลหะด้วยไฟฟ้า  ตอ้ งใชห้ นา้ กากกรองแสงที่เหมาะสมกบั งานและสามารถป้องกนั อนั ตรายจากสะเก็ด ไฟจากการเช่ือมและมีมาตรฐานในการป้องกนั อุบตั ิเหตุ  สวมชุดที่สามารถป้องกนั อนั ตรายจากสะเกด็ ไฟจากการเชื่อมและไม่ลุกติดไฟง่าย  ตอ้ งสวมรองเทา้ ชนิดหุม้ ขอ้ หรือรองเทา้ นิรภยั ตามความเหมาะสม  ตอ้ งสวมถุงมือหนงั ชนิดไม่เปิ ดปลายนิ้วมือ

ความปลอดภยั ในงานเช่ือมไฟฟ้า (ต่อ) 2. เคร่ืองเช่ือมและอุปกรณ์  เคร่ืองเช่ือมโลหะแต่ละเคร่ืองตอ้ งมีสวิทซ์ตดั ตอนไฟฟ้าเพื่อป้องกนั ไฟฟ้าเกินขนาด และเกินกาลงั  เครื่องเช่ือมตอ้ งต่อสายดินทุกเครื่อง  หา้ มใชล้ วดทองแดงแทนฟิ วส์ตะกวั่  สายไฟฟ้าที่ใชจ้ ะตอ้ งมีคุณสมบตั ิตามมาตรฐาน เหมาะสมกบั งานและตอ้ งรักษาใหอ้ ยู่ ในสภาพดีอยเู่ สมอ

ความปลอดภยั ในงานเชื่อมไฟฟ้า (ต่อ) 3. พืน้ ทป่ี ฏบิ ัติงาน  พ้นื ที่อาคารโรงงานตอ้ นเป็นวสั ดุทนไฟไม่ขรุขระและมีน้าขงั  ตอ้ งมีฉากหรือหอ้ งก้นั สาหรับป้องกนั แสง รังสีและสะเกด็ ลูกไฟ  ตอ้ งไม่มีวตั ถุไวไฟในบริเวณท่ีทาการเช่ือมและในบริเวณใกลเ้ คียง  จะตอ้ งมีการระบายอากาศในโรงงานและในบริเวณท่ีปฏิบตั ิงานใหเ้ พียงพอ  ตอ้ งจดั ไหม้ ีแสงสวา่ งท่ีเพยี งพอ

ค4ว. กามารปปลฏอิบดตั ภิงายั นใเนชื่องามนไฟเชฟ่ือ้ามไฟฟ้า (ต่อ)  ก่อนท่ีจะทาการเช่ือมควรตรวจสอบเคร่ืองมือต่างใหม้ ีสภาพความพร้อมในการใชง้ าน  ไม่ควรนาขากางเกงใส่ไวใ้ นรองเทา้ หรือสวมนาฬิกาขณะที่ทาการเชื่อม  เม่ือตอ้ งการเพม่ิ หรือลดกระแสไฟฟ้า ควรหยดุ เครื่องก่อนเสมอ  แคลมป์ จบั ยดึ สายดินจะตอ้ งแน่น และขนาดของสายดินจะตอ้ งเหมาะสมกบั กระแสไฟฟ้ามิฉะน้นั สายเช่ือมจะร้อนและ ลุกติดไฟในที่สุด  อยา่ เช่ือมงานกลางสายฝนหรือบนพ้ืนที่นองไปดว้ ยน้าเพราะกระแสไฟฟ้าอาจลดั วงจรเป็นอนั ตรายต่อผทู้ ่ีเช่ือมได้

ความปลอดภยั ในงานเชื่อมไฟฟ้า (ต่อ)  เมื่อเกิดไฟลุกติดโดยที่ผูท้ ่ีเชื่อมไม่รู้บุคคลที่พบเห็น ไม่ควรท่ีจะไปดบั ไฟดว้ ยน้าเพราะไฟฟ้าอาจลดั วงจร ดูดผเู้ ชื่อมได้ ควรดบั ดว้ ยน้ายาดบั เพลิง  อย่ามองแสงท่ีเกิดจากการเชื่อมดว้ ยตาเปล่า เพราะ แสงสวา่ งมากเกินไปจะทาใหต้ ารับไม่ได้ มองไม่เห็น ชว่ั ขณะหน่ึง แสงที่เกิดจากการเชื่อมสามารถมองดว้ ย ตาเปลา่ ไดต้ อ้ งมีระยะห่าง 40 ฟุตข้ึนไป  ควรตรวจสอบอุปกรณ์ดูดควนั ให้สามารถทางานได้ เมื่อทาการเช่ือมโลหะจาพวก ตะกั่ว แคดเมียม โครเมียม สงั กะสี เพราะจะเกิดแกส๊ พิษท่ีเป็นอนั ตราย มาก

ความปลอดภยั ในงานเชื่อมไฟฟ้า (ต่อ)  อย่าทาการเช่ือมชิ้นงานท่ีอยู่ใกลถ้ งั น้ามนั เช้ือเพลิง เพราะสะเก็ด ไฟอาจกระเด็นไปถูกถงั และลุกไหมไ้ ด้  ไม่ควรเชื่อมในห้องท่ีปิ ดหมดทุกด้านควรเช่ือมในบริเวณท่ีมี อากาศถ่ายเทไดส้ ะดวกและมีท่อลมดูดควนั พษิ  อยา่ เชื่อมไฟฟ้าดว้ ยตาเปล่าตอ้ งใชเ้ ลนส์กรองแสงทุกคร้ัง และควร ที่จะเช่ือมในห้องท่ีจัดไว้โดยเฉพาะ ถ้าจาเป็ นต้องเชื่ อมนอก สถานที่ควรท่ีจะมีฉากป้องกนั แสงเพ่ือไม่ให้เป็ นอนั ตราย หรือ รบกวนผทู้ ี่อยขู่ า้ งเคียง  อย่าจบั ชิ้นงานดว้ ยมือเปล่าหรือใส่ถุงมือจบั เมื่อเช่ือมเสร็จใหม่ๆ ควรใชค้ ีมจบั งานร้อน  การเชื่อมงานท่าเหนือศีรษะควรสวมหมวกไม่เช่นน้ันความร้อน จากชิ้นงานอาจลุกไหมต้ ิดศีรษะได้

ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้า (ต่อ)  การทาการเช่ือมในห้องเล็กๆ ในถ้า ในท่อ ในบ่อ หรือในถงั ตอ้ งมีอากาศถ่ายเทเขา้ ออก ตลอดเวลาแต่ควรใช้อากาศในบรรยากาศห้ามใช้ ออกซิเจนบริสุทธ์เติมเขา้ ไปเพราะ ออกซิเจนมากเกินไปอาจทาใหเ้ กิดประกายไฟและลุกไหมไ้ ดง้ ่ายเป็นเหตุให้เกิดการระเบิด ได้  ขณะที่ทาการเชื่อมไม่ควรใส่เครื่องประดบั เช่นแหวน นาฬิกา สร้อยคอ หรือพกเครื่องมือ วดั ตามส่วนต่างๆ ของร่างกายเพราะอุปกรณ์พวกน้ีถา้ ไปกระทบกบั ชิ้นงานที่มีกระแสไฟฟ้า ไหลผา่ นกระแสไฟฟ้าอาจดูดได้  ในการเปล่ียนลวดใหม่ เม่ือทาการเปล่ียนลวดเก่าหมดไปไม่ควรใชม้ ือเปล่าจบั ลวดใส่หวั จบั เพราะอาจถูกไฟช๊อตได้ ควรวางลวดเชื่อมในท่ีใกลเ้ คียงและสะดวกในการใชห้ ัวเชื่อมจบั ลวดเช่ือมหรือใชถ้ ุงมือช่วยในการจบั

ความปลอดภัยในงานเช่ือมโลหะด้วยแก๊ส 1. ผู้ปฏบิ ัตงิ านเชื่อมโลหะด้วยแก๊ส  ตอ้ งสวมแวน่ ตากรองแสงชนิดสาหรับเช่ือมโลหะดว้ ยก๊าซที่มี คุณสมบตั ิตามมาตรฐานและสามารถป้องกนั เศษวสั ดุกระเดน็ เขา้ ตาได้ ดว้ ย  สวมชุดที่สามารถป้องกนั อนั ตรายจากสะเกด็ ไฟจากการเช่ือมและไม่ ลุกติดไฟง่าย  ตอ้ งสวมรองเทา้ ชนิดหุม้ ขอ้ หรือรองเทา้ นิรภยั ตามความเหมาะสม

ความปลอดภัยในงานเชื่อมโลหะด้วยแก๊ส (ต่อ) 2. เครื่องเช่ือม  ถงั ก๊าซและอุปกรณ์ตอ้ งมีสมบตั ิตามมาตรฐานของกระทรวงอุตสาหกรรมและมี สญั ลกั ษณ์สีตามมาตรฐานบอกชนิดของก๊าซท่ีบรรจุอยภู่ ายใน  ถงั กาซตอ้ งต้งั หวั ข้ึนและมีสายผกู ยดึ กนั ลม้ กบั สิ่งท่ีมนั่ คง  ถงั บรรจุก๊าซตอ้ งมีเกจวดั ความดนั ของก๊าซในถงั วาลว์ ควบคุมความดนั เกจวดั ความดนั ที่ใชง้ านที่อยใู่ นสภาพดี  วาลว์ และท่ออุปกรณ์ท่ีใชก้ บั ก๊าซออกซิเจนตอ้ งม่ีมีน้ามนั ไข หรือ จารบี และไม่ใชท้ ่อ ทองแดงกบั ท่อนาก๊าซอะเซติลีนหรือส่วนประกอบ  หวั เชื่อมและท่อนาก๊าซตอ้ งอยใู่ นสภาพดีและปลอดภยั

ความปลอดภยั ในงานเชื่อมโลหะด้วยแก๊ส (ต่อ) 3. วสั ดุ / อุปกรณ์  ถงั เก็บแคลเซียมคาร์ไบดต์ อ้ งเป็นถงั โลหะท่ีสามารถป้องกนั น้าเขา้ ไดแ้ ละต้งั อยู่ ในพ้นื ที่ยกระดบั อยา่ งนอ้ ย 15 ซม  การเก็บรักษาท่อแก๊ส หรือการนาท่อแก๊สมาใชง้ านควรใชโ้ ซ่คลอ้ งแลว้ ยึดติด กบั ผนงั เพอ่ื ไม่ใหท้ ่อลม้ เม่ือเกิดอุบตั ิเหตุข้ึน  การเก็บรักษาท่อแก๊สและการใชง้ านควรห่างจากสารติดไฟไม่นอ้ ยกวา่ 25 ฟุต หรือ 7.6 เมตร  การเก็บรักษาท่อแก็สและท่อออกซิเจนควรท่ีจะแยกออกจากกนั โดยมีกาแพง ก้นั กลางมีความสูงอยา่ งนอ้ ย 5 ฟตุ หรือ 1.5 เมตร

ความปลอดภัยในงานเช่ือมโลหะด้วยแก๊ส (ต่อ)  หอ้ งท่ีใชท้ าการเกบ็ แก๊ส อะเซทิลีน ตอ้ งมีช่องระบายอากาศและ ที่ประตูตอ้ งมีคาเตือนหา้ มนาเช้ือเพลิงหรือไฟเขา้ ใกล้  การเคล่ือนยา้ ยท่อแก๊สตอ้ งสวมฝาครอบป้องกนั วาลว์ เสมอเพ่ือ ป้องกันไม่ให้วาล์วกระแทกจนแตกหรือบ่ิน เม่ือขนส่งด้วย รถบรรทุกหรือรถเทลเลอร์  กรณีท่ีท่อแก๊สร่ัว ตอ้ งรีบนาท่อแก๊สออกจากอาคารหรือพ้ืนที่ ท่ี ทางานไปใวใ้ นท่ีโล่งแจง้ ท่ีอากาศระบายไดด้ ี ในขณะเดียวกนั ควรนาป้ายบอกเตือนเพ่ือไม่ให้ผูอ้ ่ืนสูบบุหร่ี หรือทาให้เกิด ประกายไฟบริเวณท่ีแก๊สร่ัว

ความปลอดภยั ในงานเช่ือมโลหะด้วยแก๊ส (ต่อ) 4. บริเวณพืน้ ท่ปี ฏิบัตงิ าน  พ้นื ที่อาคารโรงงานตอ้ นเป็นวสั ดุทนไฟไม่ขรุขระและมีน้าขงั  ตอ้ งมีฉากหรือหอ้ งก้นั สาหรับป้องกนั แสง รังสี และ  สะเกด็ ลูกติดไฟ  ตอ้ งไม่มีวตั ถุไวไฟในบริเวณที่ทาการเช่ือมและในบริเวณใกลเ้ คียง  จะตอ้ งมีการระบายอากาศในโรงงานและในบริเวณที่ปฏิบตั ิงานใหเ้ พียงพอ  ตอ้ งจดั ไหม้ ีแสงสวา่ งที่เพียงพอ

ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้า (ต่อ)  ควรใส่แวน่ ตาป้องกนั เศษโลหะขณะทาการเคาะสแลก และใหเ้ คาะออกจากตวั ดว้ ยความ ระมดั ระวงั เพราะอาจกระเดน็ ไปถูกผอู้ ่ืนได้  หลังจากเช่ือมงานเสร็จใหม่ๆต้องระมัดระวงั ไปให้ปลายของธูปเชื่อมไปถูกเพื่อน ขา้ งเคียง  อยา่ ซ่อมเคร่ืองเช่ือมไฟฟ้าเป็นอนั ขาดในขณะที่เครื่องกาลงั ทางานอยเู่ พราะไฟฟ้าอาจดูด ไดข้ ณะท่ีทาการเช่ือม ควรเลือกกระจกกรองแสงที่เหมาะสมเพราะถา้ ความเขม้ ของ กระจกนอ้ ยเกินไปจะเป็นอนั ตรายกบั สายตาได้  การเช่ือมในสถานท่ีสูงๆควรใชเ้ ขม็ ขดั นิรภยั ช่วยทุกคร้ัง

ความปลอดภยั ในงานเชื่อมโลหะด้วยแก๊ส (ต่อ) 5. การปฏบิ ตั งิ านเช่ือมแก๊ส  ก่อนทาการเช่ือมตอ้ งสงั เกตพ้นื ท่ีเสียก่อนวา่ มีถงั แก๊สถงั สี หรือกาน้ามนั อยใู่ นบริเวณพ้ืนท่ี เช่ือมหรือไม่  ถา้ เป็นการเชื่อมในหอ้ งส่ิงท่ีตอ้ งคานึงถึงคือ หอ้ งน้นั มีการระบายอากาศพอเพียง โดยทว่ั ไป ของพ้นื ท่ีของหอ้ งที่เพยี งพอต่อการระบายอากาศจะมีพ้นื ท่ี 10000 ลูกบาศกฟ์ ตุ หรือ283 ลูกบาศกเ์ มตร ต่อช่างเช่ือม 1 คน ในขณะเดียวกนั หอ้ งน้นั ตอ้ งควบคุมความสูง 16 ฟตุ หรือ 4.9 เมตร  ตอ้ งมีการระบายอากาศอยเู่ สมอเมื่อทาการเช่ือมโลหะบางประเภท เช่น สงั กะสี ตะกวั่ หรือ โลหะท่ีทาการเช่ือมแลว้ เกิดควนั พิษ ซ่ึงจะทาใหเ้ กิดอนั ตรายต่อร่างกายได้

ความปลอดภยั ในงานเช่ือมโลหะด้วยแก๊ส (ต่อ)  ถา้ วางท่อแก๊สอะเซทิลีนในตาแหน่งแนวนอนนานๆ หรือนาท่อต้งั ข้ึนแลว้ ใชง้ านทนั ที สารอะซิโตนจะเคลื่อนตวั ออกมาจากท่อ สารอะซิโตนท่ีเคลื่อนตวั ออกมาจากท่อ  จะทาให้เปลวไฟมีอุณหภูมิต่ากว่าปกติและทาความเสียหายต่อมาตรวัดความดัน (Regulator) หรือบริเวณลิ้นเปิ ดปิ ด (Valve) ของกระบอกเชื่อม (Torch) ถา้ การ เคล่ือนยา้ ยจาเป็นตอ้ งวางท่อในลกั ษณะแนวนอน เม่ือจะใชง้ านควรนาต้งั ข้ึนและมีะยะ เวลาเพือ่ ใหส้ ารอะซิโตนเขา้ ที่หรือจดั ระเบียบตวั เองระยะเวลาหน่ึง จึงจะใชง้ านไดอ้ ยา่ ง ปลอดภยั

ความปลอดภยั เกี่ยวกบั การใช้เคร่ืองมอื อปุ กรณ์ 1.ไมค่ วรใชก้ รรไกรตดั แผน่ งานท่มี คี วามหนามากเกินไปเพราะอาจทาใหเ้ กิดการบาดเจ็บจากแรงบีบกดท่มี ากเกินไปได้ 2. ไมค่ วรนาของมีคมเช่นเหลก็ ขีดไขควงใสไ่ วใ้ นกระเป๋ ากางเกงเพราะขณะปฏบิ ตั งิ านสว่ นปลายของเครอ่ื งมือท่มี คี วามคม อาจไปถกู ผปู้ ฏบิ ตั ิขา้ งเคียงได้ 3. การนาคอ้ นมาใชใ้ นงานเคาะโลหะแผ่นตอ้ งแน่ใจวา่ ดา้ มคอ้ นไมเ่ ปื้อนนา้ มนั หรอื จาระบเี พราะดา้ มคอ้ นอาจหลดุ มือไปถกู ผอู้ ยขู่ า้ งเคยี งได้

ความปลอดภยั เกี่ยวกบั การใช้เครอื่ งจกั ในโรงงานโลหะแผน่  1 .การเจาะแผ่นโลหะดว้ ยเครอ่ื งเจาะไม่ควรจบั ชิน้ งานดว้ ยมือเปลา่ เพราะแผน่ โลหะอาจหลดุ จากมอื เกิดอนั ตรายกบั นิว้ มือไดค้ วรใชค้ มี หรอื คีมลอ็ กจบั ใหแ้ นน่  2. เม่อื ตอ้ งใชเ้ ครอ่ื งตดั เครอ่ื งพบั เครอ่ื งมว้ น ตอ้ งระวงั อวยั วะของรา่ งกายใหพ้ น้ จากการหมนุ หรือพน้ จากรศั มกี าร ทางานของเครอ่ื งจกั รนนั้ ๆ

วงจรเชื่อมไฟฟ้า

องคป์ ระกอบของไฟท่ีใชใ้ นการเช่ือมแก๊ส

แสดงการจดุ ประกายไฟ

แสดงการระบายอากาศในการเช่ือมในถงั แสดงการดดู ควนั ในการเช่ือม

แสดงการระบายแก๊สทงิ้ ท่ีถกู วธิ ี

แสดงการเคล่อื นยา้ ยถงั อะเซทิลนี ท่ีถกู วธิ ี

แสดงการเปิด – ปิด วาลว์ ท่ีถกู วธิ ี

แสดงความดนั ท่ีเหมาะสมกบั การใชง้ าน

แสดงการตอ่ สายแก๊สท่ีถกู วธิ ี

แสดงการหลอ่ ล่นื เกลยี วและขอ้ ตอ่ ท่ีถกู วธิ ี

แสดงการจดั เก็บแก๊สเชือ้ เพลงิ ท่ีถกู วธิ ี

แสงดงการวางตาแหนง่ ของวาลว์ ท่ีถกู วธิ ี

การสวมถงุ มอื ทกุ ครงั้ เม่ือปฏบิ ตั งิ าน แสดงการเช่ือมท่ีมีฉากปอ้ งกนั แสง

แสดงการเช่ือมพ้นื มีน้าขงั แสดงการช่วยเหลือเม่ือประสบอุบตั ิเหตุ

แสดงการแต่งใหเ้ รียบร้อยก่อนปฏิบตั ิงาน

THE END


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook