1 การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ หลักสูตรได้ระบุส่ิงท่ีคาดหวังจะให้เกิดข้ึนกับผู้เรียน กาหนดคุณลักษณะท่ีต้องการของ ผู้เรียน รวมทั้งแนวทางในการดาเนินให้บรรลุเป้าหมาย ในการนาหลักสูตรไปใช้ ผู้ใช้หลักสูตร จึง ต้อ งวิเค ราะห์ จุด ห ม ายข องห ลั กสู ตรให้ เป็ น จุ ดป ระส งค์ก ารเรียน ก ารส อ น ที่ ชัด เจน เพื่ อจะได้จั ด กิจกรรมหรือกระบวนการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดประสบการณ์การเรียนรู้ตามท่ีจุดประสงค์ การ เรียนการสอนกาหนด และการที่ผู้ใช้หลกั สูตรจะตรวจสอบหรือทราบว่าผลเกิดจากการเรียนการสอน เป็นอย่างไร มีสิ่งใดบ้างต้องปรับปรุงแก้ไข และผู้เรียนได้บรรลุหรือพัฒนาความก้าวหน้าตรงตาม จุดประสงค์การเรียนการสอนท่ีตั้งไว้หรือไม่เพียงใดน้ัน ก็ต้องมีการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ ของผูเ้ รยี น การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นจึงเปน็ ส่ิงท่ีจาเปน็ และขาดเสียมไิ ด้ ความหมายและความสัมพันธ์ของการวัดและการประเมินผล ในยุคแรกของการใช้การประเมินผล คือ ตั่งแต่ ค.ศ.1950 การประเมินผลจะเป็น การทดสอบไอคิวเป็นหลัก ผลจากการวัดจะบอกความสามารถได้ว่าความฉลาดอยู่ในระดับใด ดงั นี้ ความหมายดั้งเดมิ ของการประเมนิ ผลคือการวดั ผล (Measurement) นั่นเอง ซ่ึงในปัจจุบัน ไม่ค่อยมีผู้ใดใช้คานิยามนี้แล้ว อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันยังมีนักการศึกษาหลายท่านที่ มักเข้าใจ สบั สนเกี่ยวกับความหมายของคาว่าการวัดและการประเมินผลอยู่เสมอ ๆ ความหมายของการวัดได้มี ผ้ใู หค้ านิยามต่าง ๆ ดงั น้ี เคอร์ลินเจอร์ (Kerlinger) ได้กล่าวไว้ว่า การวัดผลการศึกษาคือการกาหนดวัดตัวเลขแก่ สิง่ ของหรอื เหตุการณ์ต่าง ๆ ตามกฎเกณฑ์ กิลเฟร์ด (Guildford) ให้ความหมายไว้อย่างกว้าง ๆ ว่าเป็นการพิจารณาหรือตีค่าข้อมูลใน รูปของตวั เลข อีเบลและฟริสบาย (Ebel and Frisbie) ให้ความหมายว่า การวัดเป็นกระบวนการ กาหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์ท่ีมีความหมายแทนคุณลักษณะของสิ่งที่วัดโดยอาศัยกฎเกณฑ์อย่างใด อย่างหนึ่ง (อา้ งจากบุญธรรมกิจปรีดาบริสทุ ธ์ิ) ไพศาล หวังพานิช ได้กล่าวว่า การวดั ผลการศึกษาคือ กระบวนการในการกาหนดหรอื หา จานวนปริมาณ อันดับ หรือรายละเอยี ดของคุณลักษณะหรือพฤตกิ รรมความสามารถของบุคคลโดย ใช้เคร่ืองมือเป็นหลักในการวัด และโดยท่ัวไป การวัดผลจะมีอยู่ 2 อย่างคือ การวัดผล ทาง กายภาพศาสตร์ (Physical Science) ซ่ึงเป็นการวัดเพ่ือหาจานวนปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ที่เป็น รูปธรรม เช่นน้าหนัก มักมีเครื่องมือที่ให้ผลเชื่อถือได้และมีหน่วยการวัดแน่นอน และการวัด ผล ทางสังคมศาสตร์ (Social Science) ซึ่งเป็นการวัดเพ่ือหาจานวนหรือคุณภาพของส่ิงท่ีเป็น นามธรรม ไม่มีตัวตนแน่นอน เช่น ความรู้ และเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวัดผลประเภทนี้มักให้ผล
2 เช่ือถือได้ต่า เนื่องจากไม่มีหน่วยการวัดที่แน่นอนและส่ิงท่ีวัดจะเปล่ียนแปลงได้ง่าย ผลการวัดอาจ เกดิ ความผิดพลาด (errors) ไดม้ ากกวา่ การวัดผลทางกายภาพศาสตร์ อุทุมพร ทองอุไทย ให้ความหมายของการวัดวา่ เป็นกระบวนการท่ีนาตัวเลขหรือสญั ลักษณ์ มาเกย่ี วข้องกบั ลักษณะหรือคุณสมบัติของวัตถุ คน หรือสิง่ ของท่ีจะวดั การวัดจึงต้องมีลักษณะดังนี้ (1) ต้องมกี ล่มุ ของวัตถุ คน หรือสิ่งของ (2) มีคุณสมบัติของลักษณะที่จะวัด (3) มีการ กระทาเป็นตัวเลขหรือสัญลักษณ์กับลักษณะของวัตถุ คน หรือส่ิงของน้ัน และ (4) ต้องพิจารณา ถึงธรรมชาติ ตลอดจนนาตงั เลขหรือสญั ลักษณ์เหลา่ นนั้ ไปใช้ สาหรับความหมายของคาว่า “การประเมินผล” (Evaluation) ได้มีผู้ให้คานิยามหรือ ความหมายตา่ ง ๆ กันดงั นี้ เวิอร์ทธิงและเซนเดอร์ส (Worthing and Sanders) ได้นิยามว่าการประเมินผลคือการช้ี บ่งถึงคุณค่าหรือประสิทธิภาพของสิ่งใดส่ิงหนึ่ง การประเมินผลจะต้องรวบรวมข้อมูลเพ่ือใช้ใน การตัดสินใจคุณค่าหรือประสิทธ์ภาพของแผนงาน/โครงการ (Program) ผลผลิตหรือผลงานท่ี เกิดขึ้น(product) วิธีดาเนินการ (procedure) วัตถุประสงค์ (objective) หรือประโยชน์ของ ทางเลือก ตา่ ง ๆ (utility of alternative approaches) เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายท่ีกาหนด ทัคแมน (Tuckman) ได้ให้ความหมายของการประเมินผลว่า เป็นวิถีทาง (means) ใน การพจิ ารณาตดั สินว่า แผนงาน/โครงการ (program) ไดบ้ รรลเุ ปา้ หมายหรือไม่ สตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) กล่าวถึงนิยามของการประเมินผลว่าคือ กระบวนการใน การเกบ็ รวบรวมและหาข้อมลู ท่ีมปี ระโยชน์ เพือ่ ใชใ้ นการตัดสินหาทางเลอื กตา่ ง ๆ ท่เี หมาะสม สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ให้ความหมายว่า การประเมินผลหมายถึงกระบวนการตัดสินคุณค่า ของส่ิงของหรอื การกระทาใด ๆ โดยเปรยี บเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน จากความหมายและคานิยามต่าง ๆ ข้างต้นนี้ พอสรุปได้ว่า “การวัด” คือกระบวนการ กาหนดคา่ /ตีค่าคุณสมบัติของสิ่งใดส่ิงหนึ่งหรือของบุคคลเป็นตัวเลข โดยใช้เคร่ืองมือเป็นหลักในการ วัดส่วน “การประเมินผล” คือกระบวนการพิจารณาตัดสินคุณค่าของวัตถุ คน ส่ิงของ หรือการ ดาเนินงาน/กิจกรรมว่าบรรลุความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้มากน้อยเพียงใด หรือมีดีหรือ เลวเพียงใด โดยอาศัยข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการวัดเปน็ หลัก เม่ือเปรียบเทียบความหมายของการวัดและประเมินผลแล้ว จะพบว่ามีความแตกต่างอย่าง ชัดเจน นักศึกษาหรือครูอาจจะทราบสภาพความจริงของส่ิงที่จะประเมินว่ามีปริมาณเท่าไร มีคุณสมบัติอย่างไร แต่ไม่สามารถจะช้ีขาดหรือตัดสินได้ว่าผลจากการวัดในสิ่งดังกล่าวดีหรือไม่ดี ใช้ได้หรือใช้ไม่ได้ ยกตัวอย่างเช่น ครูพละอาจวัดจานวนคร้ังท่ีนักเรียนสามารถกระโดดเชือกได้ ภายใน 1 นาที หรือนักการศึกษาสามารถวัดคะแนนผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนที่ทาข้อสอบวิชา
3 คณิตศาสตร์ แต่ทั้งครูพละและนักการศึกษาจะทาให้ผลการวัดเกิดคุณประโยชน์ได้นั้น ก็ต้องนาผล ดังกล่าวมาพิจารณาและประเมินตัดสินว่านักเรียนมีความสามารถในการกระโดดเชือกได้ดีหรือไม่ดี สอบวิชาคณิตศาสตร์ได้หรือตก โดยนาผลการวัดที่ได้หรือข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมได้มาเปรียบเทียบกับ เกณ ฑ์ (Criteria) ที่กาหนดไว้หรือมาตรฐานท่ีต้องการ (ซ่ึงเกณฑ์ที่ใช้ในการศึกษาก็คือ จุดมุ่งหมายของการศึกษา หรือจุดประสงค์น้ันเอง) การเปรียบเทียบน้ีเรียกว่าการประเมินค่า (Assessment or Value Judgments) จากนั้นจึงจะตัดสินใจจากการเปรียบเทียบของผลการวัด กับเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ว่าสูงต่ากว่ากันขนาดไหน ดังน้ัน การประเมินผลจึงมีองค์ประกอบหลัก 3 อย่างคือ 1. ผลการวัด (Measurement) เป็นข้อมูลท่ีทาให้ทราบสภาพความจริงของส่ิงที่ประเมิน ว่ามีปรมิ าณหรอื คณุ สมบตั ิอยา่ งไร 2. เกณฑก์ ารพิจารณา (Criteria) เป็นมาตรฐานท่ีใช้เปรยี บเทียบกบั การวัด 3. การตัดสินใจ (Decision) เป็นการตัดสินคุณค่าด้วยการเปรียบเทียบระหว่างผล การวดั เกณฑ์ อยา่ งไรก็ตาม แม้ว่าการวัดและการประเมินผลจะมีความหมายท่ตี ่างกัน แต่กระบวนการทั้ง สองก็มีความสัมพันธ์ต่อเน่ืองกัน ถ้าผลการวัดถูกต้อง การประเมินผลย่อมจะมีความน่าเชื่อถือได้สูง ดงั นั้นจงึ สรปุ ให้เห็นความแตกตา่ งและความสัมพันธ์ของการวัดและการประเมินผลไดด้ ัง สมการน้ีคือ (อา้ งจากบุญธรรม กจิ ปรีดาบริสทุ ธิ์) การประเมนิ ผล = การตีค่าเชิงปริมาณ (การวดั ) + การตดั สินคุณค่า Evaluation = Quantitative Description (measurement) + Value Judgment ความสมั พันธ์ระหวา่ งการสอนกบั การวดั และประเมินผล การวัดและประเมินผลมีความสัมพันธ์กับการสอนอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากใน การจัดการเรียนการสอนระดับชั้นเรียนเพ่ือให้ผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์นั้น ครูผู้สอนควรมี การตรวจสอบโดยวัดและประเมนิ ความร้คู วามเข้าใจ และทักษะพื้นฐานของผู้เรียนแตละคนก่อนท่ีจะ สอนรายวิชาหรือหน่วยการเรียนน้ัน ๆ เพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของผู้เรียน กล่าวคือจะได้ทราบ ว่าความรู้ความสามารถของผู้เรียนในเร่ืองใดที่ยังขาดและต้องรีบเสริมให้เกิดข้ึนก่อน หรือความรู้ ความสามารถใดรู้แล้วจะได้ไม่ต้องเรียนซ้า เพ่ือจะได้วางแผนและจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสม กบั ผเู้ รียนกอ่ นการสอนจริง ซ่งึ จะมผี ลทาใหผ้ ู้เรยี นสามรถบรรลจุ ดุ ประสงคไ์ ดด้ ขี น้ึ
4 ในขณะท่ีดาเนินการสอน ครูผู้สอนยังสามารถทาการวัดและประเมินผลผู้เรียนเป็นระยะ ๆ เพ่ือจะได้ทราบความก้าวหน้าและปัญหาในการเรียนเรื่องนั้น ๆ ของผู้เรียน จะได้แก่ไขซ่อมเสริม ก่อนท่ีจะเรียนเรื่องอ่ืนต่อไป นอกจากน้ีผลจากการวัดและประเมินยังช่วยครูผู้สอนในการปรับปรุง การสอนของตนให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของผู้เรียนอีกด้วย การวัดและประเมินผล ระยะน้ีมักจะกระทาหลักจากจบบทเรียนในแต่ละช่วง หรือหลังจากจบเนื้อหาในแต่ละตอน ซ่ึงไม่ จาเป็นตอ้ งใชเ้ วลามากมายในการวดั หลังจากเสร็จสิ้นการเรียนการสอนแล้ว ครูผู้สอนยังสามารถจัดทาการวัดและประเมิน ผู้เรียน เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนมีพฤติกรรมหรือคุณสมบัติตรงตามท่ีได้ระบุไว้ในจุดประสงค์ หรือไม่ เกง่ /อ่อนในเร่ืองใด ครูผสู้ อนจะไดน้ าไปปรบั ปรุงการสอนโดยสว่ นรวมในครง้ั ต่อไป การวัด และประเมินผลในระยะน้ีมักจะกระมาเม่ือส้ินสุดการสอนในหนึ่งภาคเรียน หรือเม่ือจบเน้ือหา รายวิชาเป็นสว่ นใหญ่ จากข้อความดังกล่าวข้างต้นพอสรุปได้ว่าการวัดและประเมินผลภาคเรียนมีความสัมพันธ์กับ การสอนใน 3 ระยะดังน้ี 1. กอ่ นการสอน 2. ขณะดาเนินการสอน 3. หลังการสอนสน้ิ สุดลง ข้นั ตอนในการวดั และประเมนิ ผลการเรียน 1. การกาหนดจุดประสงค์ในการวดั และประเมินผลการเรยี น ก่อนท่ีจะวัดและประเมินผล การเรียนของนักเรียน ครูผู้สอนควรจะกาหนดจุดประสงค์ก่อนว่าจะวัดอะไร วัดแค่ไหน และวัดเพ่ือ อะไร (ซ่ึงการกาหนดจุดประสงค์ในการวัดและประเมินผลการเรียนควรให้สอดคล้องกับ จุดประสงค์ ในการสอน) เพราะการสอนกบั การวดั และประเมนิ ผลเป็นกจิ กรรมที่ตอ่ เน่อื งกัน ดงั น้ันเมอ่ื จุดประสงค์ ในการสอนช่วยครูผู้สอนให้มีเป้าหมายในการสอนชัดเจน ก็ย่อมเป็นประโยชน์ต่อการวัดและ ประเมินผลด้วย 2. การเลือกและสร้างเครื่องมือ เม่ือทราบว่าการวัดและประเมินผลครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย อยา่ งไร และต้องการจะวัดคุณลกั ษณะหรือพฤตกิ รรมใดของผู้เรียน ข้ันต่อไปกค็ วรพิจารณาว่า ใน การวัดคุณลักษณะหรือพฤติกรรมที่กาหนดไว้น้ัน ควรใช้เครื่องมืออะไรบ้างจึงจะวัดได้ตรงตามความ ต้องการอย่างครบถ้วน เพราะเคร่ืองมือในการวัดมีหลายอย่าง บางอย่างก็เหมาะสมกับ การวัด พฤติกรรมบางชนิด การวัดแต่ในละคร้ังจึงต้องเลือกเคร่ืองมือให้เหมาะสม หรืออาจต้องใช้เครื่องมือ หลาย ๆ ชนดิ ประกอบกันเพ่ือวดั พฤติกรรมด้านตา่ ง ๆ ครบทกุ ด้านตามจดุ ประสงค์
5 3. การนาเคร่ืองมือไปทาการสอบวัดผู้เรียน ครูผู้สอนหรือผู้คุมสอบควรจัดเตรียม สภาพแวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อให้นักเรียนทาข้อสอบหรือแก้ปัญหาได้อย่างเต็มความสามารถ ไม่ใหส้ งิ่ รบกวนสมาธหิ รอื เวลาของผเู้ ขา้ สอบ รวมทงั้ กาหนดเวลาสอบใหเ้ หมาะสม 4. การตรวจและนาผลเปรียบเทียบกับเกณฑ์ ในข้ันน้ีเป็นการรวบรวมและแปลงคาตอบ ของผู้เรียนให้เป็นคะแนนแล้วจดบันทึกไว้ จากน้ันจึงรวบรวมคะแนนของผู้เรียนที่ได้จากการวัดทุก ชนดิ จากทกุ ระยะมาเปรยี บเทียบกับเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้ 5. การประเมินผล เป็นการตัดสินว่าผู้เรียนมีความสามรถขนาดไหน สูงหรือต่ากว่าเกณฑ์ แต่ละคนได้เกรดอะไร ผูเ้ รียนสว่ นใหญ่มผี ลการเรยี นเป็นเชน่ ไร ความสาคัญของการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นองค์ประกอบสาคัญในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ทาให้ได้ข้อมูลสารสนเทศท่ีจาเป็นในการพิจารณาว่าผู้เรียนเกิดคุณภาพการเรียนรู้ตามผล การเรยี นรทู้ ่คี าดหวงั และมาตรฐานการเรียนรู้ จากประเภทของการประเมินโดยเฉพาะการแบ่งประเภทโดยใช้จุดประสงค์ของการประเมิน เป็นเกณฑ์ในการแบ่งประเภท จะเห็นว่า การวัดและประเมินผลการเรียนนอกจากจะมีประโยชน์ โดยตรงต่อผู้เรียนแล้ว ยังสะท้อนถึงประสิทธิภาพการการสอนของครู และเป็นข้อมูลสาคัญท่ีสะท้อน คุณภาพการดาเนินงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษาด้วย ดังน้ันครูและสถานศึกษาต้องมีข้อมูล ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ท้ังจากการประเมินในระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา และระดับอ่ืนที่ สงู ข้ึน ประโยชน์ของการวัดและการประเมินผลการเรยี นร้จู าแนกเปน็ ดา้ นๆ ดังนี้ 1. ดา้ นการจดั การเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนมีประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้หรือการจัดการ เรียนการสอนดงั นี้ 1.1 เพ่ือจัดตาแหน่ง (Placement) ผลจากการวัดบอกได้ว่าผู้เรียนมีความร้คู วามสามารถ อยู่ในระดับใดของกลุ่มหรือเปรียบเทียบกับเกณฑ์แล้วอยู่ในระดับใด การวัดและประเมินเพื่อจัด ตาแหนง่ นี้ มักใชใ้ นวัตถปุ ระสงค์ 2 ประการคือ 1.1.1 เพือ่ คดั เลือก (Selection) เป็นการใช้ผลการวัดเพ่ือคัดเลอื กเพื่อเขา้ เรียน เข้า ร่วมกิจกรรม-โครงการ หรือเป็นตัวแทน(เช่นของชั้นเรียนหรือสถานศึกษา) เพื่อการทากิจกรรม หรือ การให้ทุนผล การวดั และประเมนิ ผลลักษณะนค้ี านงึ ถึงการจัดอนั ดับที่เป็นสาคญั 1.1.2 เพ่ือแยกประเภท (Classification) เป็นการใช้ผลการวัดและประเมินเพื่อ แบ่งกลมุ่ ผูเ้ รยี น เช่น แบ่งเปน็ กลมุ่ อ่อน ปานกลาง และเก่ง แบ่งกลุ่มผ่าน-ไม่ผา่ นเกณฑ์ หรือตัดสินได้- ตก เปน็ ต้น เปน็ การวัดและประเมนิ ที่ยดึ เกณฑท์ ่ใี ชใ้ นการแบง่ กลุ่มเปน็ สาคญั
6 1.2 เพื่อวินิจฉัย (Diagnostic) เป็นการใช้ผลการวัดและประเมินเพ่ือค้นหาจุดเด่น-จุดด้อย ของผู้เรียนว่ามีปัญหาในเร่ืองใด จุดใด มากน้อยแค่ไหน เพ่ือนาไปสู่การตัดสินใจการวางแผนการ จัดการเรียนรแู้ ละการปรับปรุงการเรยี นการสอนให้มีประสทิ ธภิ าพยงิ่ ขึ้น เครื่องมือท่ีใชว้ ัดเพ่ือการวนิ ิจ ฉับ เรียกว่า แบบทดสอบวินิจฉัย (Diagnostic Test) หรือแบบทดสอบวินิจฉัยการเรียน ประโยชน์ ของการวดั และประเมินประเภทนี้นาไปใชใ้ นวัตถปุ ระสงค์ 2 ประการดงั นี้ 1.2.1 เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ผลการวัดผู้เรียนด้วยแบบทดสอบวินิจฉัย การเรียนจะทาให้ทราบว่าผู้เรียนมีจุดบกพร่องจุดใด มากน้อยเพียงใด ซ่ึงครูผู้สอนสามารถแก้ไข ปรับปรุงโดยการสอนซ่อมเสริม (Remedial Teaching) ได้ตรงจุด เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม มาตรฐานการเรยี นรู้ทีค่ าดหวงั ไว้ 1.2.2 เพ่ือปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ผลการวัดด้วยแบบทดสอบวินิจฉัยการเรียน นอกจากจะช่วยให้เห็นว่าผู้เรียนมีจุดบกพร่องเรื่องใดแล้ว ยังช่วยให้เห็นจุดบกพร่องของกระบวนการ จัดการเรียนรู้อีกด้วย เช่น ผู้เรียนส่วนใหญ่มีจุดบกพร่องจุดเดียวกัน ครูผู้สอนต้องทบทวนว่าอาจจะ เป็นเพราะวิธกี ารจัดการเรียนรู้ไม่เหมาะสมตอ้ งปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสม 1.3 เพ่ือตรวจสอบและปรับปรุง การประเมินเพ่ือพัฒนา (Formative Evaluation) เป็น การประเมินเพื่อตรวจสอบผลการเรียนร้เู ทยี บกับจดุ ประสงค์หรือผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวัง ผลจากการ ประเมินใช้พัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยอาจจะปรับปรุงหรือปรับเปล่ียน วิธีการสอน (Teaching Method) ปรับเปลี่ยนส่ือการสอน (Teaching Media) ใช้นวัตกรรมการ จัดการเรียนรู้ (Teaching Innovation) เพ่อื นาไปสกู่ ารพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ท่ีมปี ระสิทธิภาพ 1.4 เพ่ือการเปรียบเทียบ (Assessment) เป็นการใช้ผลการวัดและประเมินเปรียบเทียบว่า ผู้เรียนมพี ัฒนาการจากเดมิ เพียงใด และอยใู่ นระดบั ท่ีพึงพอใจหรือไม่ 1.5 เพื่อการตัดสิน การประเมินเพ่ือการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนเป็นการประเมินรวม (Summative Evaluation) คอื ใช้ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการวัดเทยี บกบั เกณฑ์เพ่ือตดั สินผลการเรียนวา่ ผา่ น- ไมผ่ ่าน หรอื ใหร้ ะดับคะแนน
7 2 ด้านการแนะแนว ผลจากการวัดและประเมินผู้เรียน ช่วยให้ทราบว่าผู้เรียนมีปัญหาและข้อบกพร่องในเร่ืองใด มากน้อยเพียงใด ซ่ึงสามารถแนะนาและช่วยเหลือผู้เรียนให้แก้ปัญหา มีการปรับตัวได้ถูกต้องตรง ประเด็น นอกจากน้ีผลการวัดและประเมินยังบ่งบอกความรู้ความสามารถ ความถนดั และความสนใจ ของผเู้ รียน ซงึ่ สามารถนาไปใชแ้ นะแนวการศึกษาต่อและแนะแนวการเลอื กอาชีพให้แกผ่ ้เู รยี นได้ 3. ด้านการบรหิ าร ข้อมูลจากการวัดและประเมินผู้เรียน ช่วยให้ผู้บริหารเห็นข้อบกพร่องต่างๆ ของการจัดการ เรียนรู้ เป็นการประเมินผลการปฏิบัติงานของครู และบ่งบอกถึงคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษามักใช้ข้อมูลได้จากการวัดและประเมินใช้ในการตัดสินใจหลายอย่าง เช่น การพัฒนาบุคลากร การจัดครูเข้าสอน การจัดโครงการ การเปล่ียนแปลงโปรแกรมการเรียน นอกจากน้กี ารวัดและประเมินผลยังให้ข้อมลู ท่ีสาคัญใน การจดั ทารายงานการประเมินตนเอง (SSR) เพ่ือรายงานผลการจัดการศกึ ษาสู่ผู้ปกครอง สาธารณชน หน่วยงานต้นสังกัด และนาไปสู่การรองรับการประเมินภายนอก จะเห็นว่าการวัดและประเมินผล การศกึ ษาเปน็ หัวใจสาคญั ของระบบการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา 4. ด้านการวจิ ยั การวัดและประเมินผลมปี ระโยชน์ตอ่ การวจิ ัยหลายประการดงั นี้ 4.1 ข้อมูลจาการวัดและประเมินผลนาไปสู่ปัญหาการวิจัย เช่น ผลจากการวัดและประเมิน พบว่าผู้เรียนมีจุดบกพร่องหรือมีจุดท่ีควรพัฒนาการแก้ไขจุดบกพร่องหรือการพัฒนาดังกล่าวโดยการ ปรับเปล่ียนเทคนิควิธีสอนหรือทดลองใช้นวัตกรรมโดยใช้กระบวนการวิจัย การวิจัยดังกล่าวเรียกว่า การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Research) นอกจากนี้ผลจากการวัดและประเมินยังนาไปสู่การ วิจัยในด้านอ่ืน ระดับอ่ืน เช่น การวิจัยของสถานศึกษาเก่ียวกับการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนา คณุ ลกั ษณะของผู้เรยี น เป็นต้น 4.2 การวัดและประเมินเป็นเคร่ืองมือของการวิจัย การวิจัยใช้การวัดในการรวบรวมข้อมูล เพ่อื ศึกษาผลการวิจัย ขนั้ ตอนน้ีเริ่มจากการหาหรือสร้างเคร่ืองมือวัด การทดลองใช้เครื่องมือ การหา คุณภาพเครื่องมือ จนถึงการใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพแล้วรวบรวมข้อมูลการวัดตัวแปรท่ีศึกษา หรือ อาจตอ้ งตีค่าข้อมลู จะเห็นวา่ การวัดและประเมินผลมีบทบาทสาคัญมากในการวิจยั เพราะการวดั ไม่ ดี ใชเ้ คร่ืองมอื ไม่มีคุณภาพ ผลของการวิจยั กข็ าดความนา่ เชือ่ ถือ
8 การวดั และประเมินกอ่ นเรียน ระหว่างเรยี น และหลังเรยี น ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน 3 คานี้มีความเกี่ยวเน่ืองกัน แต่ต่างกันที่ระยะเวลา และจดุ ประสงคข์ องการวดั และประเมิน 3 คานม้ี ีความหมายท้งั ในมิติท่กี ว้างและแคบ ดงั น้ี 1. กอ่ นเรียน การวัดและประเมินก่อนเรียนมีจุดประสงค์เพื่อมทราบสภาพของผู้เรียน ณ เวลาก่อนที่จะ เรยี น เชน่ ความรู้พ้ืนฐานในกลุ่มสาระการเรยี นร้ตู ่างๆ ก่อนเรยี นอาจจะหมายถงึ 1.1 ก่อนเข้าเรียน ซ่ึงอาจจะตั้งแต่ก่อนเรียนระดับปฐมวัย หรือก่อนจะเริ่มเรียนหลักสูตร สถานศึกษานั้น เช่น สถานศึกษาท่ีเปิดสอนในช่วงชั้นท่ี 1 และ 2 ก่อนเรียนในที่น้ีอาจจะหมายถึง กอ่ นเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 เปน็ ต้น 1.2 ก่อนเรียนช่วงช้ัน หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความสาคัญกับช่วงชั้น ให้มีการ ประเมินผลการเรียนรขู้ องผู้เรียนเม่ือจบแต่ละช่วงช้ัน กอ่ นเรียนในที่นจี้ ึงหมายถงึ กอ่ นจะเริ่มเรียนชว่ ง ช้นั ใดชว่ งชนั้ หน่ึง เชน่ กอ่ นเรยี นชว่ งชน้ั ที่ 2 คอื กอ่ นเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 เป็นต้น 1.3 ก่อนเรียนแตล่ ะช้ัน ถงึ แม้จะมกี ารกาหนดเป็นช่วงชั้น แต่ชัน้ เรียนหรือการเรียนแตล่ ะปี ก็ยังมีความสาคัญ โดยเฉพาะในระดับประถมศึกษา การเรียนแต่ละชั้น/ปี อาจจะหมายถึงการเรยี น กบั ครูคนใดคนหนึ่ง (กรณีท่ีครูคนเดียวสอนนักเรยี นท้ังช้ันทุกวิชาหรือเกือบทุกวิชา โดยท่ัวไปจะเป็น ครูประจาช้ัน) หรือเรียนครูกลุ่มหน่ึง (สอนแยกรายวิชา) การวัดและประเมินก่อนเรียนแต่ละชั้นจะ เปน็ ประโยชนต์ ่อครผู สู้ อนในการวางแผนการจัดการเรยี นรใู้ ห้เหมาะสมกับผเู้ รยี นตลอดทั้งปี 1.4 กอ่ นเรียนแตล่ ะรายวชิ า มลี ักษณะเช่นเดียวกับก่อนเรียนแต่ละช้ัน การวดั และประเมิน ก่อนเรียนแต่ละชั้นอาจจะวัดและประเมินในภาพรวมหลายๆ วิชา แต่การวัดและประเมินนี้ แยกวัด และประเมินแต่ละรายวิชา โดยทั่วไปจะสอนโดยครูแต่ละคน สาหรับระดับมัธยมศึกษา รายวิชา สว่ นใหญจ่ ดั การเรียนรเู้ ป็นรายภาคเรยี น 1.5 ก่อนเรียนแต่ละหน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้เป็นการจัดหมวดหมู่เน้ือหาในสาระ การเรียนรู้เดียวกัน โดยจัดเน้ือหาเร่ืองเดียวกันหรือสัมพันธ์กันไว้ในหน่วยเดียวกัน การวัดและ ประเมินก่อนเรียนแต่ละหน่วย เพื่อให้ไดข้ ้อมูลความรู้พนื้ ฐานของผู้เรียนในเร่ืองหรือหน่วยนั้น ซึ่งท้ัง ผู้เรียนและครูผู้สอนสามารถนาไปใช้ในการวางแผนการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในหน่วยนั้น ได้อยา่ งเหมาะสม 1.6 ก่อนเรยี นแต่ละแผนจัดการเรียนรู้ คือ การวัดและประเมินก่อนเรยี นแต่ละครง้ั ในหนึ่ง หน่วยการเรียนรู้มักจะมีสาระท่ีจะเรียนรู้แยกย่อยสาหรับการสอนมากกว่า 1 คร้ัง แต่ละคร้ังจะมี แผนการจัดการเรยี นรู้
9 2. ระหวา่ งเรยี น จุดประสงค์ของการวดั และประเมินระหว่างเรียน เพ่ือตรวจสอบความก้าวหนา้ หรือพฒั นาการ ของผู้เรียนด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ จากการเรียนรู้และการ ร่วมกิจกรรมของผู้เรียน โดยเทียบกับผลการวัดและประเมินก่อนเรียน การวัดและประเมินระหว่าง เรียนจะทาให้ได้ข้อมูลที่บ่งบอกถึงพัฒนาการการเรียนรู้ของผู้เรยี น ในขณะเดียวกันยังสะท้อนให้เห็น ถึงคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูด้วย ข้อมูลจากการวัดและประเมินระหว่างเรียนจะเป็น ประโยชน์แก่ทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง ทั้งผู้เรียน ครูผู้สอน สถานศึกษา และผู้ปกครอง สามารถนาข้อมูล ดังกล่าวไปพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังท่ีแตกย่อยมาจากมาตรฐานการเรียนรู้ และ เปน็ ขอ้ มลู ทีใ่ ช้ในการปรบั ปรุงกิจกรรมการเรียนการสอนใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รียน 3. หลังเรียน จุดประสงค์ของการวัดและประเมินหลังเรียน เพื่อตรวจสอบผลการเรียนของผู้เรียนด้าน ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ จากการเรียนรู้และการร่วมกิจกรรมของ ผูเ้ รียน โดยเทียบกบั ผลการวัดและประเมินก่อนเรียนและระหว่างเรียน การวดั และประเมินหลังเรียน จะทาให้ได้ข้อมูลที่บ่งบอกถึงพัฒนาการการเรียนรู้ของผู้เรียน ในขณะเดียวกันยังสะท้อนให้เห็นถึง คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูด้วย ข้อมูลจากการวัดและประเมินหลังเรียนมีจุดประสงค์ หลักคือใช้ในการตัดสินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน นอกจากนี้ การวัดและประเมินผลหลัง เรียนอาจจะเป็นข้อมูลก่อนการเรียนในระดับต่อไป จึงเป็นประโยชน์ทั้งผู้เรียน และครูผู้สอน สามารถนาข้อมูลดังกล่าวไปพัฒนาและปรับปรุงการเรียนรู้และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือ กจิ กรรมการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รยี นและสถานการณ์ ประเภทของการประเมินทางการศกึ ษา การประเมินแบ่งไดห้ ลายประเภท ข้ึนอยูก่ บั เกณฑ์ท่ีใช้ในการแบง่ ดงั น้ี 1. แบ่งตามจดุ ประสงคข์ องการประเมิน การแบ่งตามจดุ ประสงค์ของการประเมิน แบ่งได้ดงั นี้ 1.1 การประเมินก่อนเรียน หรือก่อนการจัดการเรียนรู้ หรือการประเมินพื้นฐาน (Basic Evaluation) เป็นการประเมินก่อนเริ่มต้นการเรียนการสอนของแต่ละบทเรียนหรือแต่ละหน่วย แบ่ง ได้ 2 ประเภท คือ 1.1.1 การประเมินเพื่อจัดตาแหน่ง (Placement Evaluation) เป็นการประเมินเพ่ือ พิจารณาดูว่าผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในสาระที่จะเรียนอยู้ในระดับใดของกลุ่ม ประโยชน์ของ การประเมินประเภทน้ี คือ ครใู ช้ผลการประเมินเพ่ือกาหนดรูปแบบการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ กลุ่มผู้เรียน ผู้เรียนที่มีความรู้ความสามารถในสาระท่ีจะเรียนน้อยคืออยู่ในตาแหน่งท้ายๆ ควรได้รับ
10 การเพ่ิมพูนเนอื้ หาสาระน้ันมากกว่ากลมุ่ ทอ่ี ยใู่ นลาดบั ต้นๆ คอื กลุ่มที่มีความรู้ความสามารถในสาระที่ จะเรียนมากกว่า หรือกลุ่มที่มีความรู้พื้นฐานในสาระท่ีจะเรียนดีกว่า และแต่ละกลุ่มควรใช้รูปแบบ การเรยี นรทู้ ่ีแตกต่างกัน 1.1.2 การประเมินเพื่อวินิจฉัย (Diagnostic Evaluation) เป็นการประเมินก่อนการ เรยี นการสอนอีกเช่นกนั แต่เปน็ การประเมนิ เพ่ือพิจารณาแยกแยะว่าผู้เรยี นมคี วามรคู้ วามสามารถใน สาระท่ีจะเรียนร้มู ากน้อยเพียงใด มีพ้ืนฐานเพียงพอที่จะเรียนในเรื่องท่ีจะสอนหรือไม่ จุดใดสมบูรณ์ แล้ว จุดใดยังบกพรอ่ งอยู่ จาเป็นต้องได้รับการสอนเสริมให้มีพื้นฐานที่เพียงพอเสียกอ่ นจึงจะเร่ิมต้น สอนเน้ือหาในหน่วยการเรียนต่อไป และจากพื้นฐานที่ผู้เรียนมีอยู่ควรใช้รูปแบบการเรียนการสอน อย่างไร ทั้งการประเมินเพ่ือจัดตาแหน่งและการประเมินเพื่อวินิจฉัยมีจุดประสงค์เหมือนกัน คือเพ่ือทราบพื้นฐานความรู้ความสามารถของผู้เรียนก่อนที่จะจัดการเรียนรู้หรือการเรียนการสอนใน สาระการเรยี นรู้น้ันๆ แต่การประเมิน 2 ประเภทดังกล่าวมีความแตกต่างกัน คือ การประเมินเพื่อจัด ตาแหน่ง เป็นการประเมินเพ่ือพิจารณาในภาพรวม ใช้เครื่องมือไม่ละเอียดหรือจานวนข้อคาถามไม่ มาก แต่การประเมนิ เพ่ือวินิจฉัยเป็นการประเมินเพอ่ื พัฒนาอย่างละเอียด แยกแยะเน้อื หาเปน็ ตอนๆ เพ่ือพิจารณาว่าผู้เรียนมีความรู้พ้ืนฐานของเน้ือหาแต่ละตอนมากน้อยเพียงใด จุดใดบกพร่องบ้าง ดงั น้นั จานวนข้อคาถามมีมากกว่า 1.2 การประเมินเพื่อพัฒนา หรือการประเมินย่อย (Formative Evaluation) เป็นการ ประเมินเพื่อใช้ผลการประเมินเพ่ือปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนรู้ การประเมินประเภทนี้ใช้ ระหว่างการจัดการเรียนการสอน เพ่ือตรวจสอบว่าผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามจุดประสงค์ท่ี กาหนดไว้ในระหว่างการจดั การเรยี นการสอนหรือไม่ หากผู้เรียนไมผ่ ่านจุดประสงค์ที่ต้ังไว้ ผู้สอนกจ็ ะ หาวิธีการที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามเกณฑ์ท่ีตั้งไว้ ผลการประเมินยังเป็นการตรวจสอบ ครูผู้สอนเองว่าเป็นอย่างไร แผนการเรียนรู้รายคร้ังที่เตรียมมาดีหรือไม่ ควรปรับปรุงอย่างไร กระบวนการจดั การเรียนรเู้ ปน็ อย่างไร มีจุดใดบกพรอ่ งทีต่ ้องปรบั ปรงุ แก้ไขต่อไป การประเมินประเภทน้ี นอกจากจะใช้ผลการประเมินเพ่ือปรับปรุงการเรียนการ สอนแล้ว ผลการประเมินยังใช้ในการปรับปรุงหลักสูตรของสถานศึกษาด้วย กล่าวคือ หากพบว่า เนื้อหาสาระใดท่ีผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิไม่เป็นไปตามผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง โดยที่ผู้สอนได้พยายาม ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนอย่างเต็มที่กับผู้เรียนหลายกลุ่มแล้วยังได้ผลเป็นอย่างเดิม แสดงว่า ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวังนัน้ สงู เกินไปหรือไม่เหมาะกบั ผเู้ รียนในชั้นเรียนระดับนี้ หรือเน้ือหาอาจจะยาก หรือซับซ้อนเกินไปที่จะบรรจุในหลักสูตรระดับนี้ ควรบรรจุในชั้นเรียนท่ีสูงขึ้น จะเห็นว่าผลจากการ ประเมินจะเป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาด้วย 1.3 การประเมินเพื่อตัดสินหรือการประเมินผลรวม (Summative Evaluation) เป็นการ ประเมินเพ่ือตัดสินผลการจัดการเรียนรู้ เป็นการประเมินหลังจากผู้เรียนได้เรียนไปแล้ว อาจเป็นการ
11 ประเมินหลังจบหน่วยการเรียนรู้หน่วยใดหน่วยหนึ่ง หรือหลายหน่วย รวมท้ังการประเมินปลายภาค เรียนหรือปลายปี ผลจากการประเมินประเภทน้ีใช้ในการตัดสินผลการจัดการเรียนการสอน หรือ ตดั สินใจวา่ ผเู้ รียนคนใดควรจะได้รับระดบั คะแนนใด 2. แบง่ ตามการอา้ งอิง การแบ่งประเภทของการประเมินตามการอ้างอิงหรอื ตามระบบของการวดั แบ่งออกเปน็ 2.1 การประเมินแบบอิงตน (Self-referenced Evaluation) เป็นการประเมินเพ่ือนาผล จากการเรียนรู้มาเปรียบเทียบกับความสามารถของตนเอง เป็นการประเมนิ เพอ่ื ปรับปรุงตนเอง (Self Assessment) เช่น ประเมินโดยการเปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนเรียนกับทดสอบหลังเรียนของ ตนเอง การประเมินแบบน้ี ควรจะใช้แบบทดสอบคู่ขนานหรือแบบทดสอบเทียบเคียง (Equivalence Test) เพอ่ื เปรยี บเทยี บกันได้ 2.2 การประเมินแบบอิงกลุ่ม (Norm-referenced Evaluation) เป็นการประเมินเพื่อ พิจารณาว่าผู้ได้รับการประเมินแต่ละคนมีความสามารถมากน้อยเพียงใด เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มท่ี ถูกวัดด้วยแบบทดสอบฉบับเดียวกัน การประเมินประเภทนี้ข้ึนอยู่กับความรู้ ความสามารถของกลุ่ม เปน็ สาคญั นยิ มใชใ้ นการจดั ตาแหนง่ ผถู้ ูกประเมิน หรือใช้เพอ่ื คดั เลอื กผู้เขา้ ศกึ ษาต่อ 2.3 การประเมินแบบอิงเกณฑ์ (Criterion-referenced Evaluation) เป็นการนาผลการ สอบที่ได้ไปเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ความสาคัญอยู่ที่เกณฑ์ โดยไม่จาเป็นต้องคานึงถึง ความสามารถของกลุ่ม ซ่ึงเกณฑ์ท่ีใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ได้แก่ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและ มาตรฐานการเรยี นรู้ 3. แบ่งตามผู้ประเมนิ การแบ่งประเภทของการประเมินตามกลมุ่ ผู้ประเมนิ (Evaluator) แบง่ ออกเปน็ 3.1 การประเมินตนเอง (Self Assessment) หรือการประเมินภายใน (Internal Evaluation) เป็นการประเมินลักษณะเดียวกับการประเมินแบบอิงตน คือ เพ่ือนาผลการประเมินมา พัฒนาหรอื ปรบั ปรุงตนเอง การประเมินประเภทนีส้ ามารถประเมนิ ได้ทกุ กลุ่ม ผเู้ รียนประเมินตนเอง เพือ่ ปรับปรุงการเรียนรู้ของตนเอง ครูประเมินเพอ่ื ปรับปรงุ การสอนของตนเอง นอกจากประเมนิ เพ่ือ พัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอนแล้ว สามารถประเมินเพ่ือพัฒนาปรับปรุงได้ทุกเรื่อง ผู้บริหาร สถานศึกษาประเมินเพื่อปรับปรุงการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาโดยอาจจะประเมินด้วย ตนเอง หรือมีคณะประเมินของสถานศึกษา เรยี กว่า การประเมินภายใน (Internal Evaluation) หรือ การศึกษาตนเอง (Self Study) โดยอาจจะประเมินโดยรวม หรือแบ่งประเมินเป็นส่วนๆ เป็นด้านๆ ลักษณะการประเมินอาจจะมีคณะเดียวประเมินทุกส่วน หรือจะให้แต่ละส่วนประเมินตนเองหรือ ภายในส่วนของตนเอง เช่น แต่ละระดับช้ันเรียน แต่ละหมวดวิชาหรือกลุ่มสาระการเรียนรู้ แต่ละ ฝ่าย อาทิ ฝ่ายปกครอง ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายอาคารสถานท่ี เป็นต้น เพื่อให้แต่ละส่วนมีการพัฒ นา
12 ปรับปรุงการดาเนินงานของตนเอง และอาจจะรวบรวมผลการประเมินแต่ละส่วนเพื่อจัดทาเป็น รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Study Report : SSR หรือ Self Assessment Report : SAR) 3.2 การประเมินโดยผู้อน่ื หรอื การประเมินภายนอก (External Evaluation) สืบเนอื่ งจาก การประเมินตนเองหรือการประเมินภายในซ่ึงมีความสาคัญมากในการพัฒนาปรับปรุง แต่การ ประเมินภายในมีจุดอ่อนคือความน่าเชื่อถือ โดยบุคคลภายนอกมักคิดว่าการประเมินภายในนั้น มี ความลาเอียง ผปู้ ระเมินตนเองมักจะเข้าข้างตนเอง ดังนั้นจึงมีการประเมินโดยผู้อื่นหรือประเมินโดย ผู้ประเมินภายนอก เพื่อยืนยันการประเมินภายใน และอาจจะมีจุดอ่อนหรือจุดท่ีควรได้รับการ พัฒนายิ่งขึ้นในทรรศนะของผู้ประเมินในฐานะที่มีประสบการณ์ที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ดี การ ประเมินภายนอกก็มีจุดบกพร่องในเรื่องการรู้รายละเอียดและถูกต้องของสิงที่จะประเมิน และ จุดบกพร่องอีกประการหนึ่งคือเจตคติของผู้ถูกประเมิน ถ้ารู้สึกว่าถูกจับผิดก็จะต่อต้าน ไม่ให้ความ ร่วมมือ ไม่ยอมรับผลการประเมิน ทาให้การประเมินดาเนินไปด้วยความยากลาบาก ดังนั้นการ ประเมินภายนอกควรมาจากความต้องการของผถู้ ูกประเมิน เช่น ครผู ้สู อนให้ผู้เรยี น ผ้ปู กครอง หรือ เพอื่ นครูประเมินการสอนของตนเอง สถานศึกษาใหผ้ ปู้ กครองหรอื นักประเมนิ มืออาชพี (ภายนอก) ประเมนิ คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา วิธกี ารวัดผลการเรยี น การประเมินผลที่ดีควรมีขอบเขตกว้างขวางและใช้วิธีการหลาย ๆ แบบ ท้ังนี้เพื่อให้ครูได้ วดั ผลอย่างถูกตอ้ ง วิธกี ารวัดผลการเรียนมีหลายอย่างเริม่ ต้ังแต่การสังเกตไปจนถึงการทดสอบ ซ่ึง พอจะจาแนกไดเ้ ป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ดงั นี้ 1. การวัดโดยใชก้ ารทดสอบ (Testing Technique) 2. การวัดโดยไมใ่ ชก้ ารทดสอบ (Non-testing Technique) 1. การวดั โดยใช้การทดสอบ เป็นการวัดโดยมีแบบทดสอบ (Test) เป็นเครอื่ งมือใน การวดั แบ่งออกเปน็ 3 ชนิดคอื 1.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ (Achievement Test) เป็นข้อสอบท่ีมุ่งวัด คุณลักษณะทางด้านความรู้ความคิดและความสามารถ หรือพุทธิพิสัย แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ (1) แบบทดสอบที่ครูสร้างเอง (Teacher-made Test) ซึ่งเป็นแบบทดสอบท่ีครูสร้างขึ้นเพื่อ ทดสอบความรู้ ความสามารถ และทักษะของนักเรียนในชั้นเรียน สอบเสร็จแล้วก็อาจท้ิงไปแล้ว สร้างใหม่ในการสอบคราวหน้า หรือปรับปรุงดังแปลงข้อสอบเก่ามาใช้ใหม่ (2) แบบทดสอบ มาตรฐาน (Standardized Test) ซ่ึงเป็นแบบทดสอบท่ีสร้างและผ่านกระบวนการพัฒนาจนมี คณุ ภาพได้ มาตรฐาน สว่ นใหญจ่ ะใช้ในการวัดผลสัมฤทธแิ์ บบรวบยอด
13 1.2 แบบทดสอบวัดความถนัดและเชาว์ปัญญา (Aptitude and Intelligence Test) เป็นข้อสอบที่มุ่งวัดคุณลักษณะทางด้านพุทธิพิสัยและทักษะพิสัย เป็นข้ อสอบที่วัด ความสามารถของนักเรียนวา่ จะเรยี นไดม้ ากนอ้ ยแค่ไหน หรอื มีความถนัดในทางใด 1.3 แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพ (Personality Test) หรือวัดการปรับตัว (Adjustment Test) บางตาราก็เรียกว่า แบบทดสอบบุคลิกภาพและสถานภาพทางสังคม (Personal-social Test) แบบทดสอบชนิดนี้ใช้เป็นเคร่ืองมือในการวัดคุณลักษณะด้านความรู้สึกหรือ จิตพิสัย เช่น เจตคติ ค่านิยม ความเชื่อ ฯลฯ และวัดบุคลิกภาพของบุคคล เช่น การปรับตัวในสังคม ฯลฯ ส่วนรูปแบบ (format) ของข้อสอบมี 3 รูปแบบเช่นกันคือ (1) ข้อสอบแบบปากเปล่า (Oral Test) ซง่ึ เป็นการสอบแบบใช้วาจาหรือคาพูดระหวา่ งผูส้ อบและผู้ถูกสอบโดยตรง มกั ต้องสอบ เป็นรายบุคคล (2) ข้อสอบแบบข้อเขียน (Written Test) ซ่ึงแบ่งเป็นแบบความเรียงหรือ ที่ เรียกว่าอัตนัยและปรนัย ซ่ึงผู้สอบต้องเขียนหรือทาเคร่ืองหมายในแบบทดสอบ (3) ข้อสอบ แบบ ภาคปฏิบัติ (Performance Test) ซึ่งเป็นการสอบโดยให้ผู้สอบแสดงพฤติกรรมด้วยการปฏิบัติจริง มกั เน้นในวชิ าที่มีภาคปฏิบัติเป็นหลัก เชน่ ศลิ ปะ ดนตรี พละ เป็นต้น ข้อสอบแบบน้ีเหมาะใช้วัด ด้านทักษะพิสัย แต่ผู้สอนต้องไม่คานึงแต่ด้านผลปฏิบัติ (product) เท่านั้น ควรเน้นด้านวิธีการ ปฏบิ ัติ (procedure) ด้วย 2. การวดั ไม่ใชก้ ารทดสอบ เปน็ การวัดโดยวธิ ีเหลา่ นค้ี ือ 2.1 การสอบถาม (Questioning) เป็นการใช้รายการคาถามที่เตรียมไว้เป็นชุดเพ่ือ ถามในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง แล้วส่งไปให้ผู้ตอบหรือนักเรียนอ่านและเขียนตอบส่งกลับมา มักใช้ถาม ข้อเท็จจริง (facts) และความคิดเห็นต่าง ๆ (พุทธิพิสัยและจิตพิสัย) ครูอาจใช้เคร่ืองมือซึ่งได้แก่ แบบสอบถามแบบปิด (Closed form) คือเป็นแบบสอบถามทคี่ าถามแตละข้อมีตวั เลือกหรอื คาตอบ ให้นักเรียนเลือกตอบ หรือใช้แบบสอบถามเปิด (Open-ended form) คือเป็นแบบสอบถามที่ คาถามแต่ละขอ้ เว้นที่ใหผ้ ตู้ อบเขยี นคาตอบลงไปเอง มักใช้กับการเรียนการสอนในระดับสูง 2.2 การสัมภาษณ์ (Interview) เป็นการพูดคุย สนทนา หรือซักถามกันระหว่างครู กับนักเรียนหน่ึงคนหรือมากกว่าหนึ่งคนข้ึนไปอาจเป็นการสัมภาษณ์แบบเป็นทางการหรือไม่เป็น ทางการก็ได้ และอาจมีการกาหนดคาถามต่าง ๆ ไว้ล่วงหน้า หรือไม่มีการกาหนดคาถามที่แน่นอน แต่มีเพียงประเด็นคาถามต่าง ๆ ไว้ล่วงหน้า หรือไม่มีการกาหนดคาถามที่แน่นอนแต่มีเพียงประเด็น คาถามกว้าง ๆ เพ่ือใช้เป็นแนวทางการสัมภาษณ์เท่าน้ันก็ได้ ในการสัมภาษณ์นั้น หากใช้วั ด คณุ ลักษณะทางด้านจิตพิสัย เช่น ความคิดเห็นหรือความรู้สึกนึกคิดในเร่ืองใดเรื่องหน่ึง จะเรยี กว่า “การสัมภาษณ์” แต่หากคาถามท่ีใช้ถามเป็นการวัดคุณลักษณะทางด้านความรู้ความคิด(พุทธิพิสัย) หรอื ต้องการทราบระดบั การเรยี นรู้ของนกั เรียน จะเรียกว่า “การสอบปากเปล่า” (Oral Testing)
14 2.3 การสังเกต (Observation) เป็นการใช้ประสาทสัมผัสท้ังห้าศึกษาพฤติกรรมต่าง ๆ ของนักเรียนท้ังในและนอกห้องเรียน โดยทคี่ รอู าจมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมของนกั เรียน หรอื ไม่ไดเ้ ข้า ไปมีส่วนร่วมอย่างเช่นการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะที่กาลังเล่นเกมส์ต่าง ๆ ก็ได้ และการ สังเกตพฤติกรรมนักเรียนของครูน้ันอาจจะเฝ้าดูพฤติกรรมต่าง ๆ โดยท่ีไม่ได้กาหนด จุดประสงค์ของการสังเกตไว้ล่วงหน้า ไม่ได้วางแผนว่าจะสังเกตอะไร แต่จะจดบันทึกพฤติกรรม ที่ สังเกตได้ท้ังหมด หรือครูอาจจะเฝ้าดูอย่างมีการเตรียมการในส่ิงท่ีต้องการสังเกตุหรือจะเฝ้าดูไว้ ล่วงหน้า แล้วจดบันทึกเฉพาะข้อมูลที่ต้องการศึกษาเท่าน้ัน มักใช้วัดคุณลักษณะทางด้านจิตพิสัย และทักษะพสิ ยั 2.4 การวัดผลงาน (Product Evaluation) บางทีเรียกว่า “การตรวจผลงาน” เป็น การวัดพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนในด้านรูปธรรมมากกว่านามธรรม นักเรียนต้องมีผลงาน ท่ีใช้วัด ส่วนผู้ประเมินหรือผู้ตรวจผลงานต้องต้ังเกณฑ์ในการวัดไว้ล่วงหน้า ซึ่งในแต่ละเกณฑ์อาจมี น้าหนักเท่ากันหรือไม่เท่ากันก็ได้ เช่น ถ้าผลงานนั้น ๆ มุ่งที่ความประณีตสวยงาม เกณฑ์ในข้อน้ีจะมี ค่านา้ หนักสงู กว่าเกณฑอ์ ่นื ๆ เปน็ ต้น ลักษณะทดี่ ขี องการวัดและประเมนิ ผลการเรยี น ในการวัดและประเมินผลการเรียนของนักเรียน ครูผู้สอนต้องดาเนินให้ถูกต้องตาม หลักการ การวดั และประเมินผลการเรยี นท่ดี ีนนั้ มีลกั ษณะดังน้ี 1) การวัดและประเมนิ ผลต้องยดึ จุดประสงค์เป็นหลัก 2) การวัดผลการเรียนของนักเรียนบางด้าน เช่น ด้านจิตพิสัย ด้านทักษะพิสัย ไม่ควรใช้ เครื่องมือเพียงอย่างเดียว เช่น ข้อทดสอบ ควรใช้วิธีการวัดผลวิธีอื่น ๆ ประกอบด้วย เพ่ือให้ได้ ข้อมูลเพยี งพอสาหรับการประเมนิ ผลการเรยี น 3) การวัดและประเมินผลการเรียนของนักเรียนควรดาเนินการบ่อยครั้ง อาจดาเนินการท้ัง กอ่ นเรยี น ระหว่างเรียน และภายหลังการเรยี น 4) เครอ่ื งมอื ท่ีใชว้ ดั ผลการเรียนของนกั เรียนควรมกี ารปรบั ปรงุ แก้ใขเพือ่ ให้เหมาะสมย่งิ ขึ้น 5) นักเรียนคนใดมีข้อบกพร้องหรือจุดอ่อน ซ่ึงทาให้ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ครูควรหา วิธีการแกไ้ ขข้อบกพรอ้ งเหล่านนั้ เชน่ การสอนซ่อมเสรมิ เปน็ ตน้ 6) ครูต้องนาผลท่ีได้จากการวัดและประเมินผลการเรียนมาเป็นข้อมูลในการปรับปรุง การ สอนของครใู ห้ดีข้นึ 7) ครูควรเตรียมหรือสร้างเครื่องมือวัดผลแล้วตั้งเกณฑ์ไว้ล่วงหน้า และใช้เครื่องมือ วัดผลอย่างมีประสทิ ธภิ าพ และสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์
15 8) การวัดและประเมินผลการเรียนของนักเรียนบางวิธีควรใชภ้ าษาหรือถ้อยคา และเวลา ให้ เหมาะสมกับวุฒิภาวะและระดับช้ันของนักเรียน เช่น การสัมภาษณ์หรือการสอบปากเปล่า การใช้ข้อ ทดสอบ เป็นตน้ ประโยชนข์ องการวัดและประเมินผลการเรียน การวัดและประเมินผลการเรียนของผู้เรียนมีประโยชน์อย่างมากท้ังแก่ผู้เรียน ครูผู้สอน ผบู้ รหิ ารและบุคคลทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการศึกษาซ่ึงสรุปไดด้ ังน้ี 1. ประโยชน์ต่อผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนรู้ระดับความสามรถในแต่ละด้านและภาพรวม ของตน รู้สิ่งที่บกพร่องที่ควรแก้ไขหรือซ่อมเสริม เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจใน การเลือกวิชาเอก โปรแกรม หรือวิชาต่าง ๆ ต่อไป รวมทั้งกระตุ้นให้ต่ืนตัวใน การ เรียนยิง่ ขึ้น 2. ประโยชน์ต่อครูผู้สอน ทาให้รู้พื้นฐานความรู้ความสามรถของผู้เรียน เป็นข้อมูล ในการพิจารณาสอนซ่อมเสริมแก้ผู้เรียน ช่วยให้สามารถแก้ไขข้อบกพร่องของผู้เรียนได้ ตรงจุด ช่วยในการจัดกลุ่มผู้เรียนเพ่ือทากิจกรรมการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูผู้สอนทราบคุณภาพการสอนของตนและสามารถปรับปรุง แกไ้ ขวธิ กี ารจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนให้มปี ระสิทธภิ าพยิ่งข้นึ 3. ประโยชน์ต่อครูแนะแนว ช่วยให้รู้จุดเด่น ข้อบกพร่องหรือปัญหา และรายละเอียด ต่าง ๆ ของผู้เรียนอันเป็นประโยชน์ต่อการให้คาแนะนาปรึกษาช่วยเหลือ ช่วยใน การ สารวจความถนัดและความสนใจของผู้เรียนช่วยในการแนะแนวท้ังด้านการเรียนและ อาชพี 4. ประโยชนต์ ่อผู้บริหาร ช่วยให้รู้สถานภาพทางการศกึ ษาที่แท้จรงิ ของสถานศึกษา ช่วย ทาใหเ้ ห็นข้อบกพร่องต่างๆ ในด้านการเรยี นการสอนท่ีควรปรับปรุง ใช้เป็นข้อมลู ในการ วางแผนการปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ ของสถานศึกษา ใช้เป็นข้อมูลในการรายงานผล การเรียนแก่ผู้ปกครองและผู้บริหารในระดับต่าง ๆ รวมท้ังยังเป็นข้อมูลช่วยในการ ประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของบุคคลท้ังหลายในสถานศกึ ษา
16 แนวคดิ การประเมินการเรียนรู้ (Learning Assessment) การจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนท้ังในมิติของพุทธิพิสัย หรือทักษะการคิด (cognitive domain)จิตพิสัย หรือด้านอารมณ์ (affective domain) และทักษะพิสัย หรือด้านทักษะทางกาย (psychomotor domain) แต่การท่ีจะทราบได้ว่าผู้เรียนมีพัฒนาการหรือผลการเรียนรู้เป็นไปตาม เป้าหมายท่ีกาหนดไว้หรือไม่ กระบวนการประเมินจึงมีบทบาทสาคัญในการให้สารสนเทศดังกล่าว ด้วยเหตุนี้ การประเมินนั้นมีบทบาทสาคัญท้ังก่อน ระหว่างและหลังการจัดการเรียนรู้ แนวคิดการ ประเมินทไ่ี ดร้ บั การกล่าวถึงในปัจจุบนั สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 แนวคดิ คือ การประเมินผลการเรยี นรู้ (Assessment of Learning) การประเมินเพื่อการเรยี นรู้ (Assessment for Learning) และ การประเมินขณะเรยี นรู้ (Assessment as Learning) แต่ละแนวคดิ มีหลักการและจุดมุ่งหมายของการประเมินท่ีแตกตา่ งกัน ลกั ษณะของการประเมนิ วตั ถุประสงค์ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ครผู ูส้ อนใช้ในการตัดสนิ ระดบั ความสาเร็จของผู้เรยี น (level of (Asessment of Learning-AOL) achievment) ตามเกณฑ์มาตรฐานทีก่ าหนดไว้ เช่น การตัดเกรด การตัดสินผา่ น-ไมผ่ า่ น เปน็ ต้น จากรอ่ งรอยหลักฐานการเรียนร้ขู อง ผเู้ รียน (evidence of learning) ตัวอยา่ งเคร่ืองมือ เช่น แบบทดสอบ วดั ผลสมั ฤทธ์ิ แบบประเมินทักษะ แบบประเมินผลงาน เป็นตน้ การประเมินขณะการเรียนรู้ ครูผูส้ อนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้เครอื่ งมอื ในการกากับติดตามการ (Assessment As Learning-AAL) เรยี นรู้ (monitor) ของตัวผเู้ รียนเอง และตรวจสอบตนเองว่าอย่ใู น ระดบั ใดของความสาเร็จ (milestone) เพอ่ื ไปให้ถึงจดุ มุ่งหมายที่ กาหนดไว้ ตลอดจนการปรบั ปรุงใหช้ ้ันเรยี นมปี ระสทิ ธิภาพมาก ข้ึน ตวั อย่างเชน่ แบบรายงานตนเอง แบบตรวจสอบรายงาน แบบสะท้อน ผลการเรยี นรู้ แบบประเมนิ ตนเอง เปน็ ต้น การประเมินเพ่ือการเรยี นรู้ ครูผู้สอนใช้กระบวนการประเมินในการให้ขอ้ มูลย้อนกลบั (Assessment for Learning- (Feedback) เพ่ือปรบั ปรงุ และ พฒั นาการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นใหไ้ ปถงึ AFL) จุดมงุ่ หมายของการเรยี นรตู้ ามศักยภาพของแตล่ ะบุคคล ผา่ นกิจกรรม ต่าง ๆ ทใี่ หน้ กั เรียนมโี อกาสไดแ้ สดงพฤตกิ รรมการเรียนรู้ ทกั ษะการ ปฏิบัตติ ่าง ๆ เชน่ การใชค้ าถาม การสงั เกต การสัมภาษณ์ เปน็ ต้น ตาราง แสดงลกั ษณะของการประเมินจาแนกตามวัตถปุ ระสงค์
17 การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ (Assessment of Learning: AoL) นักเรียน ครผู สู้ อน บริบทชนั้ เรยี น การประเมินเพอื่ การเรียนรู้ การประเมินขณะการเรียนรู้ (Assessment for Learning-AfL) (Assessment As Learning-AaL) ภาพ แสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการประเมนิ การเรียนรูแ้ ต่ละแบบ แนวคิด หลกั การ และจดุ มงุ่ หมายของการประเมิน การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (Assessment of Learning: AoL) การประเมินผลการเรียนรู้ (AoL) เป็นท่ีรู้จักกันในนามของ การประเมินสรุปรวม (summativeassessment) ที่ให้ความสาคัญต่อการรวบรวมข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์ต่าง ๆ เมื่อ ส้ินสุดกระบวนการเรยี นรู้เพ่ือตัดสินคุณค่าในการบรรลุวัตถุประสงค์หรอื ผลลัพธ์การเรียนรู้ การวัดผล การเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้ การประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเม่ือจบโปรแกรม จบปีการศึกษา เป็นการรับรองคุณภาพหรือประสบการณ์ทางการศึกษา เช่น การสอบเพ่ือสาเร็จ การศึกษาและรับใบประกาศนยี บตั ร จึงมงุ่ เนน้ การกาหนดระดับคะแนนหรือเกรดให้แก่ผู้เรียน รวมทั้ง ใช้สารสนเทศที่ได้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงหลักสูตรและการเรยี นการสอน การประเมินมักมีลักษณะ เป็นทางการและดาเนินการตัดสินโดยผู้สอน จะเห็นได้ว่าการประเมินผลการเรียนรู้เป็นสิ่งที่ผู้สอนมี หน้าท่ีหลกั ในการตัดสินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เพือ่ เปน็ การตดั สนิ ความสามารถหลังจากท่ีส้นิ สุดการ เรยี นการสอนแล้ว (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2555; Issacs, Zara, & Herbert, 2013)
18 วตั ถปุ ระสงค์ ครูผู้สอนใช้ตัดสินระดับความสาเร็จของผู้เรียนตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนดไว้เช่น การตัด เกรดการตัดสินผ่าน-ไมผ่ ่านเปน็ ต้นจากรอ่ งรอยหลกั ฐานการเรยี นรูข้ องผู้เรยี น คณะกรรมการจัดทาพจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ร่วมสมัย สานักงานราชบัณฑิตยสภา อธิบายว่า การประเมินผลการเรียนรู้ (assessment of learning) หรือเอโอแอล (AoL) หมายถึง กระบวนการรวบรวมหลักฐานข้อมูลเชิงประจักษ์ต่าง ๆ เม่ือส้ินสุดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือตัดสิน คุณค่าในการบรรลุวัตถุประสงค์หรือผลลัพธ์การเรียนรู้ เป็นการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ซึ่ง แสดงถึงมาตรฐานทางวิชาการในเชิงสมรรถนะและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ สารสนเทศดังกล่าว นาไปใช้ในการกาหนดระดับคะแนนให้ผู้เรียน รวมท้ังใช้ในการปรับปรุงหลักสูตรและการเรียนการ สอน การประเมินการเรียนรู้หรือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ตามองค์ ๔ ทางการศึกษา คือ พุทธิศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา และพลศึกษา การประเมินผลการเรียนรู้ดังกล่าวได้รับอิทธิพลจากทฤษฎี พฤตกิ รรมนิยม การประเมินผลการเรียนรู้มีวตั ถุประสงคส์ าคัญเพ่ือตัดสินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยผู้สอน เป็นผู้ที่มีบทบาทหลักในการประเมิน การประเมินมีลักษณะเป็นการประเมินรวบยอด (summative assessment) ท่ีใช้วัตถุประสงค์หรือผลลัพธ์การเรียนรู้เป็นมาตรฐานการประเมิน ตลอดจนใช้วิธีการ และเคร่ืองมือประเมินท่ีมีคุณภาพเชื่อถือได้ มีความเป็นทางการมากกว่า เอเอฟแอล (AfL) หรือการ ประเมินเพื่อการเรียนรู้ (assessment for learning) และเอเอแอล (AaL) หรือการประเมินขณะ เรียนรู้ (assessment as learning) ข้อดีของการประเมินผลการเรยี นรู้ -มคี วามนา่ เชอ่ื ถอื ในการวัดและประเมนิ ผล -สามารถนามาใช้ตัดสินผลการเรยี นของนกั เรยี นได้ ขอ้ เสียของการประเมนิ ผลการเรียนรู้ -เน่ืองจากเป็นกระบวนการตอ่ เนือ่ งจากการวัดผลการเรยี นรจู้ งึ ใชเ้ วลานาน ตัวอย่างของการประเมนิ ผลการเรียนรู้ -การประเมินผลการเรยี นรู้ก่อนเรยี น หลงั เรียน -แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ -แบบประเมินทกั ษะ -แบบประเมินผลงาน
19 ตวั อยา่ ง แบบประเมนิ ผลงาน วิชา...............................................หน่วยที่................เรือ่ ง.............................................................. ช่ือสมาชิกกลุ่ม...................................................................................ช้นั ..........เลขท่.ี .................... รายการประเมิน ดี(3) พอใช้(2) ควรปรับปรงุ (1) 1. การคดิ วิเคราะห์ 2. การเขียนส่อื ความ 3. มีความคิดสร้างสรรค์ 4. ประโยชนต์ ่อการนาข้อมูลไปใช้ คะแนนเตม็ 12 คะแนน ได้ ............... คะแนน เกณฑ์การใหค้ ะแนน 1. การคิดวิเคราะห์ 3 คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญ ขยายความ ยกตัวอยา่ ง เปรียบเทียบและสรุปความคิด รวบยอดไดด้ ี 2 คะแนน = มกี ารจบั ประเด็นสาคญั ได้ แต่ขยายความหรอื ยกตัวอย่างไม่ได้ 1 คะแนน = มกี ารจับประเดน็ สาคัญได้น้อย 2. การเขยี นส่อื ความ 3 คะแนน = เขยี นสอ่ื ความไดถ้ ูกตอ้ งตามอกั ขรวิธี ตรงประเดน็ และ เขา้ ใจงา่ ย 2 คะแนน = เขยี นสอ่ื ความไม่ถูกตอ้ งตามอกั ขรวธิ ี 2-3 แหง่ ตรงประเดน็ 1 คะแนน = เขยี นสื่อความไดน้ ้อย ไม่ตรงประเด็น 3. มคี วามคดิ สร้างสรรค์ 3 คะแนน = ผลงานมีรปู แบบนา่ สนใจ มคี วามสัมพันธก์ ับหัวขอ้ ทกี่ าหนด ระบายสีไดส้ วยงาม 2 คะแนน = ผลงานมีความสมั พันธก์ ับหวั ข้อท่ีกาหนด แต่ไม่ดงึ ดดู ความสนใจ 1 คะแนน = ผลงานมีความสมั พนั ธ์กับหัวขอ้ ทก่ี าหนดน้อยมาก 4. ประโยชนข์ องการนาขอ้ มลู ไปใช้ 3 คะแนน = สามารถนาไปประยุกตก์ บั สถานการณ์ในชีวติ ประจาวันได้อย่างเหมาะสม 2 คะแนน = สามารถนาไปประยุกตก์ ับสถานการณ์ในชวี ิตประจาวันไดบ้ ้าง 1 คะแนน = สามารถนาไปใช้ประโยชน์ไดน้ อ้ ยมาก เกณฑ์การประเมินผล คะแนน 12-9 = ดี (3) คะแนน 8-5 = พอใช้ (2) คะแนน 4-0 = ควรปรบั ปรุง ลงช่ือผ้ปู ระเมิน............................................... ตนเอง เพอ่ื น ครู ผู้ปกครอง
20 แบบประเมนิ การปฏบิ ัติตนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รายวิชา................................................................................ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี...................................... รายการประเมนิ พฤตกิ รรม แบบทดสอบ ความพอ ความ รวมจานวน ท่ี ช่ือ - สกุล ประมาณ มี มภี ูมคิ ุ้มกนั ความ มี รายการท่ี ผา่ น ไม่ ตน เหตุผล ในตวั ทด่ี ี รู้ คณุ ธรรม ผา่ นเกณฑ์ ผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชอ่ื …………………………………….……….ผู้ประเมิน วันท.่ี .........เดอื น..........................พ.ศ. ................ เกณฑ์การประเมิน ดี ปานกลาง ต้องปรบั ปรุง ระดบั คุณภาพ 3 2 1 คะแนน สรปุ ผลการประเมนิ ผลการประเมินได้ 3 คะแนน แสดงวา่ ผา่ น ผลการประเมนิ ได้ 2 คะแนน แสดงว่า ผา่ น ผลการประเมนิ ได้ 1 คะแนน แสดงวา่ ไมผ่ ่าน
21 การประเมนิ เพ่อื การเรียนรู้ (Assessment for Learning: AfL) การประเมินเพื่อการเรียนรู้ (AfL) แนวคิดการประเมินเพ่ือการเรียนรู้ได้รับอิทธิพลมาจาก ทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้ (constructivism) ซึ่งเป็นการประเมินกระบวนการและการเรียนรู้ของ ผ้เู รียน โดยการรวบรวมหลกั ฐานข้อมูลเชิงประจกั ษ์ตามสภาพจริงของกระบวนการเรียนรู้ทเี่ กิดข้ึนกับ ผู้เรียนในด้านการเรียนเพื่อรู้ (learning to know) การเรียนรู้เพ่ือปฏิบัติได้จริง (learning to do) การเรียนรู้เพ่ือการอยู่ร่วมกัน(learning to live) และการเรียนรู้เพื่อชีวิต (learning to be) รวมถึง เพื่อระบุและวินิจฉัยปัญหาการเรียนรู้และให้ข้อติชมที่มีคุณภาพแกผ่ ู้เรียนเพื่อปรับปรุงการเรียนรู้ให้ดี ข้ึน ด้วยวิธีการประเมินที่หลากหลายเพื่อให้เข้าใจการเรียนรู้ของผู้เรียนในแง่มุมต่าง ๆ อย่างรอบด้าน อันจะนาไปสู่การปรับการเรียนและเปลี่ยนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน กล่าวอีกนัยหน่ึงคือ เป็น การประเมินความก้าวหน้า (formative assessment)ที่มุ่งเน้นการให้ข้อมูลสารสนเทศที่มีคุณค่า 3 ลักษณะคือ การให้ข้อมูลกระตุ้นการเรียนรู้ (feed-up) การให้ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) และการ ให้ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ต่อยอด (feed-forward) ด้วยเหตุน้ี การประเมินเพื่อการเรียนรู้นอกจากเป็น การประเมินเพ่ือนาไปสกู่ ารปรับการเรียนของผู้เรียนแล้ว ยังเป็นการประเมินท่ีทาให้ได้สารสนเทศอัน เป็นประโยชน์ต่อการเปล่ียนการสอนของครูให้มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น การประเมินเพ่ือการเรียนรู้นับได้ ว่าผู้สอนยังเป็นผู้ท่ีมบี ทบาทสาคัญในการทาหน้าท่ีเป็นผู้ประเมินและใช้การสื่อสารเชิงบวกเพื่อแจง้ ให้ ผู้เรียนทราบถึงจุดแข็ง จุดอ่อนเพ่ือใช้ในการปรับปรุงและแก้ไขตนเอง (ราชบัณฑิตยสถาน, 2555; ราชบณั ฑิตยสถาน, 2558; Assessment Reform Group, 2001 cited in Issacs et al., 2013) ตัวอย่างของการประเมินเพ่อื การเรยี นรูโ้ ดยการสังเกต การสงั เกต เป็นเครื่องมือวัดผลชนิดหน่งึ ทผ่ี ้ทู าหน้าทีใ่ นการวัดใช้ประสาทสมั ผสั เปน็ เครอื่ งมือในการเรียนการสอนส่งิ ท่คี รจู ะสังเกตผเู้ รยี นคือ ผลงาน และพฤติกรรมของผู้เรยี น เชน่ สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในขณะทเ่ี รยี นวา่ มีความสนใจในบทเรยี นเพียงไร มคี วามขยันหมั่นเพยี ร หรอื ไม่ ให้ความร่วมมือในการทางานกลุม่ มากน้อยแค่ไหน เป็นตน้ ประเภทของการสงั เกต การสังเกต มีการแบ่งประเภทออกเป็นหลายอยา่ ง โดยยดึ เกณฑห์ รือลกั ษณะท่ใี ช้แบ่งดังน้ี 1. แบง่ ตามการเข้ารว่ มในการสังเกต สามารถ แบ่งการสงั เกตออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1.1 การสงั เกตแบบมีสว่ นร่วม หมายถึง การสังเกตที่ผสู้ ังเกตเข้าไปอยู่รว่ มใน กจิ กรรม ต่าง ๆ ซง่ึ จะทาใหไ้ ด้รายละเอียดหรอื ข้อมลู ทีแ่ นน่ อน ถูกตอ้ งชดั เจน
22 1.2 การสังเกตแบบไม่มสี ว่ นรว่ ม หมายถึง การสังเกตทผ่ี ู้สงั เกตไม่ไดเ้ ข้าไปร่วมใน กจิ กรรมต่าง ๆ แตค่ อยเฝ้าดูอยหู่ า่ ง ๆ สามารถที่จะจดบนั ทึกรายละเอียดของสิ่งทต่ี ้องการสงั เกตได้ 2. แบง่ ตามการวางโครงสร้างการสงั เกต แบง่ ได้ 2 ประเภท คอื 2.1 การสังเกตแบบไม่มโี ครงสร้างลว่ งหนา้ (Unstructured Observation) เป็นการ สังเกตที่ไม่มีการกาหนดเร่ืองราว หรือพฤติกรรมใดไว้ลว่ งหน้า เปน็ การสงั เกตอสิ ระไม่มีการควบคุม เครื่องมอื เครือ่ งใช้ 2.2 การสังเกตแบบมโี ครงสร้างล่วงหน้า (Structured Observation) เป็นการกาหนด เร่อื งราว หรือขอบเขตของพฤติกรรมใดไว้ลว่ งหน้า ผสู้ งั เกตจะกาหนดสถานการณใ์ นการสงั เกตใหเ้ ป็น มาตรฐานเดียวกนั ทกุ คนท่ีถูกสงั เกตจะถูกจัดให้อยู่ในสถานการณ์แบบเดียวกนั องคป์ ระกอบของการสงั เกต การสงั เกตจะได้ผลดีหรอื ไม่ ขน้ึ อยู่กับองคป์ ระกอบเหลา่ นค้ี ือ 2.1 ความตง้ั ใจ (Attention) การสงั เกตจะได้ผลดีถา้ ผ้สู ังเกตมีความต้ังใจจริงและสนใจ เฉพาะเรือ่ งท่กี าลังสงั เกต รวมทั้งพยายามตัดอคตหิ รือความลาเอียงต่าง ๆ ออกไป 2.2 ประสาทสัมผัส (Sensation) ไดแ้ ก่ประสิทธิภาพและความเฉียบคมของประสาท สัมผัส การสงั เกตควรสังเกตในขณะที่สภาพประสาทสัมผัสของผสู้ งั เกตดพี อ 2.3 การรบั รู้ (Perception) การรบั รูข้ องผู้สังเกตขึ้นอยู่กับประสบการณ์และ ความสามารถของผสู้ งั เกต ผู้ที่มีประสบการณแ์ ละมีความรู้เกย่ี วกบั เรื่องทสี่ งั เกตย่อมจะรับรแู้ ละ สามารถทาความเขา้ ใจกบั เรื่องทสี่ ังเกตไดด้ ี หลกั การสังเกต การสังเกตเป็นวธิ ีการทจี่ ะช่วยใหไ้ ด้ข้อมลู เก่ียวกับตวั บคุ คลทเี่ ชือ่ ถือได้น้ัน ต้องมี กระบวนการในการดาเนินการ โดยยึดหลักดังน้ี 1. มจี ดุ ม่งุ หมาย ผูส้ งั เกตตอ้ งทราบว่าจะสงั เกตพฤติกรรมในเร่ืองใด พร้อมทง้ั ต้องแจกแจง การแสดงออกของพฤตกิ รรมนน้ั ให้ละเอียดครอบคลุมทุกแงม่ ุม 2. การรบั รู้รวดเร็ว ผูส้ ังเกตสามารถมองเห็นพฤติกรรม หรอื อาการทเี่ ด็กแสดงออกมาได้ อย่างรวดเร็ว 3. สังเกตหลายคนหรือหลายคร้ัง จะทาใหผ้ ลการสงั เกตทไี่ ด้เช่ือถือไดส้ งู 4. สงั เกตให้ตรงความจริง คือพยายามสงั เกตให้ไดพ้ ฤติกรรมการแสดงออกที่เปน็ ธรรมชาตแิ ท้จริงให้มากทส่ี ดุ
23 5. มีการบนั ทกึ ผล เพอื่ จะทาให้ข้อมูลไมผ่ ดิ พลาดคลาดเคล่ือน วธิ ีบันทึกผลการสังเกตอาจมี สญั ลักษณแ์ ทนข้อความยาว ๆ ตวั อย่างของการประเมินเพ่อื การเรียนรู้โดยการสังเกตผลงานรายกลุม่ แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม ประกอบแผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 4 รายการตรวจและให้คะแนน 1. การอ่านประโยค 2. การแสดงทา่ ทาง 3. การทา Group Worksheet 4. กระบวนการทางานกลุ่ม 5. การแสดงบทบาทของสมาชิกในกลมุ่ รายการตรวจให้คะแนน (1) (2) (3) (4) (5) ผลการ ชอื่ กลุ่ม 5 5 10 5 5 รวม ประเมนิ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน 30 คะแนน ความหมายระดบั คุณภาพ 2 หมายถึง ดี เกณฑ์ระดบั คะแนน 26 – 30 = 2 1 หมายถงึ พอใช้ เกณฑ์ระดบั คะแนน 18 – 25 = 1 0 หมายถงึ ปรบั ปรุง เกณฑร์ ะดับคะแนน 0 - 17 = 0 เกณฑ์การผา่ น ได้คะแนน 1 ขึ้นไป
24 ลงชือ่ .................................................ผปู้ ระเมนิ (..........................................................) การประเมนิ ขณะเรยี นรู้ (Assessment as Learning: AaL) การประเมินขณะเรียนรู้ (AaL) เป็นสับเซตของการประเมินเพื่อการเรียนรู้ (AfL) ซึ่งเป็นการ ขยายบทบาทของการประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้ (formative assessment) ด้วย กระบวนการรวบรวมหลกั ฐานข้อมูลเชิงประจกั ษ์เกย่ี วกบั การเรียนรู้ของผู้เรียนขณะเรียนรู้ เพื่อช่วยให้ ผู้เรียนตระหนักในการเรียนรู้ของตน สามารถวางแผนการเรียนรู้ กากับการเรียนรู้ วินิจฉัย ประเมิน และปรับปรุงการเรียนรู้ของตน โดยให้ผู้เรียนออกแบบแผนการเรียนรู้ ฝึกให้ผู้เรียนคิดทบทวน เก่ียวกับการเรียนรู้และกลยุทธ์ในการเรียนรู้จะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองตลอดเวลา ดงั น้ัน การประเมนิ ตามแนวคิดนีจ้ ะต้องอาศัยอภิปญั ญาของเรียน (metacognition) กล่าวคือ ผู้เรียน จะต้องใช้วิจารณญาณในการประเมินการเรียนรู้ของตน โดยทาหน้าท่ีเป็นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณ (critical thinker) ที่สามารถสะท้อนและใช้วิจารณญาณในการวิเคราะห์การเรียนรู้ของตนเองได้ จะ เห็นได้ว่าผู้ที่มีบทบาทสาคัญในการประเมินตามแนวคิดนี้ คือ ตัวผู้เรียนเอง (ราชบัณฑิตยสถาน ; 2555; Earl; 2013) การประเมินลักษณะนี้ มีจุดเน้นคือการให้ผู้เรียนได้ใช้การประเมินตนเองและการประเมิน เพ่ือน เป็นกระบวนการเรียนรู้ชนิดหน่ึง การประเมินท่ีเกิดขึ้นเป็นระยะ ๆ ในระหว่างการทา กิจกรรมการเรียนรู้ ผู้เรียนจะได้ประเมินตนเองและแสวงหาแนวทางพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง อีก ท้ังยังมีโอกาสการประเมินเพ่ือนร่วมชั้นเรียนและให้ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ที่มีประโยชน์ ต่อผูเ้ รยี นหลายประการ ไดแ้ ก่ 1. กระตุ้นคุณลักษณะความรับชอบในการเรยี นร้ขู องตนเอง 2. ได้เรียนรู้วิธีการประเมินตนเอง การประเมินเพ่ือน การรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน และ การใหข้ ้อเสนอแนะเกย่ี วกับการเรียนรู้ 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนตั้งคาถามเก่ียวกับการเรียนรู้ของตนเองและพยายามตอบคาถามนั้น ด้วยตนเอง 4. ผู้เรียนได้ใช้ผลการประเมินตนเองทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการในการกาหนด เปา้ หมายการเรียนรสู้ าหรบั ตนเอง 5. กระตนุ้ ผู้เรียนใหส้ ะทอ้ นผลการเรียนรู้ให้กบั ตนเอง (Self – reflection) สาหรับการประเมินตนเองโดยผู้เรียนน้ัน ผู้เรียนควรตั้งคาถามตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง ดงั ต่อไปนี้ 1. จดุ มงุ่ หมายของการเรยี นรขู้ องเราคอื อะไร 2. เราได้ความรอู้ ะไรบ้างจากการเรยี นรใู้ นครง้ั นี้ 3. มวี ธิ กี ารเรยี นรู้ในเรือ่ งนอ้ี ยา่ งไร
25 4. มคี วามเข้าใจสาระสาคัญท่ีเรียนนี้วา่ อย่างไร 5. มีเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ของเราอย่างไร และประสบความสาเร็จตามเกณฑ์น้ัน หรือไม่ 6. จะมีวธิ กี ารยกระดับผลการเรียนรขู้ องเราในการเรยี นคร้ังต่อไปอย่างไร ซง่ึ คาถามท้ัง 6 ประการนส้ี ามารถปรับใชก้ บั การประเมินโดยเพือ่ นไดด้ ว้ ย การพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการประเมินตนเองและการประเมินเพ่ือนขณะเรียนรู้ ผู้สอนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนร่วมอภิปรายแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับผลการเรียนรู้ (learning outcomes) ท่ผี ู้สอนกาหนดไว้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ การ ให้ข้อมูลย้อนกลับ ต่อผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนการต้ังคาถามชี้แนะทางปัญญา (cognitive guided questions) เพื่อให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดต่าง ๆ ในการประเมินตนเองและแสวงหาแนว ทางการพัฒนาตนเอง ซ่ึงเป็นการส่งเสริมคุณลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิตของผู้เรียนอีก ด้วย วตั ถุประสงค์ การประเมินการเรยี นรู้ (Assessment As Learning –AAL) เพอื่ ให้ผู้เรียนไดต้ รวจสอบตนเองว่าอย่ใู นระดบั ใด เพอ่ื ไปใหถ้ งึ จดุ มุง่ หมายที่กาหนดไว้ กระบวนการ การประเมินการเรียนรู้(Assessment As Learning –AAL) ครูผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้เคร่ืองมือในการกากับติดตามการเรยี นรู้(monitor) ของตัว ผเู้ รียนเองวา่ อยใู่ นขั้นใดแล้วของความสาเร็จ(milestone) เครอ่ื งมือ การประเมินการเรียนรู้ (Assessment As Learning –AAL) ตัวอย่างเช่น แบบรายงานตนเอง แบบตรวจสอบรายงานแบบสะท้อนผลการเรียนรู้ แบบ ประเมินตนเอง เป็นตน้ การรายงานตนเอง (Self Report) การรายงานตนเองเป็นการให้ผู้เรียนเขียนบรรยายหรือตอบคาถามสั้นๆ หรือตอบ แบบทดสอบถามที่ผู้สอนสร้างขึ้น เพื่อสะท้อนถึงการเรียนรู้ของผู้เรียนท้ังความรู้ ความเข้าใจ วิธีคิด วธิ ีทางาน ความพอใจในผลงานความต้องการพัฒนาตนเองให้ดีขน้ึ
26 ตวั อย่างแบบเขียนรายงานตนเอง แบบเขยี นรายงานตนเอง คาชีแ้ จง ให้ผเู้ รียนเลือกงานเขียนชิ้นทีผ่ เู้ รยี นต้องการให้ผสู้ อนประเมนิ แลว้ ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. ทาไมผูเ้ รยี นจงึ เลือกงานชนิ้ นี้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….... 2. จุดเดน่ ของงานช้ินน้ีคืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จากงานชนิ้ นผ้ี เู้ รยี นไดเ้ รียนร้อู ะไรบ้างเกย่ี วกบั เรือ่ งที่เรียน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ถา้ ไดท้ างานชิน้ นตี้ ่อ ผเู้ รยี นจะทาให้ดขี ึน้ ได้อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ผเู้ รียนจะใหร้ ะดับคะแนนผลงานนีเ้ ท่าไร พร้อมบอกเหตผุ ล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. การเขยี นสะท้อนการเรียนร(ู้ Journals) การเขียนสะทอ้ นการเรียนรูเ้ ป็นรูปแบบการบนั ทึกการเขยี นอีกรูปแบบหน่ึงท่ใี ห้ผู้เรยี นเขียน ตอบกระทู้ หรอื คาถามของครผู ู้สอน ซึ่งจะตอ้ งสอดคล้องกับความรู้ทักษะที่กาหนดกในตวั ชว้ี ัดการ เขียนสะท้อนการเรยี นรู้น้ีนอกจากทาใหผ้ สู้ อนทราบความก้าวหนา้ นาผลการเรยี นรแู้ ล้วยังใช้เปน็ เคร่ืองมือประเมินพฒั นาดา้ นทักษะการเขยี นไดอ้ ีกด้วย ตัวอย่างแบบเขยี นสะท้อนการเรยี นรู้ แบบเขียนสะท้อนการเรียนรู้ คาชแี้ จง จากการเรียนบทน้ี ให้นกั เรยี นเขียนสะท้อนผลการเรียนรดู้ งั ต่อไปน้ี 1. นกั เรยี นไดร้ ับความรูแ้ ละทักษะอะไรบา้ ง และจะนาไปใชป้ ระโยชน์อยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ส่งิ ทนี่ กั เรียนชอบมากท่สี ุดจากการเรยี นวชิ าน้ี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. นักเรยี นคดิ ว่ามอี ะไรบ้างท่ตี ้องปรบั ปรุงการเรียนในครั้งน้ี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
27 องค์ประกอบสาคญั ในการจัดการเรียนรู้ จดุ มงุ่ หมาย คือจดุ ท่ีตอ้ งพยายามไปให้ถึงเป็นสงิ่ ท่ีหวังไวใ้ นอนาคต เป็นเครือ่ งบอกทิศทางใหผ้ ูท้ างานอยา่ ง หนึ่งพยายามไปให้ถึงจุดนนั้ เปรยี บเสมือนผูก้ าหนดทศิ ทาง ดงั นนั้ จดุ มุ่งหมาย ทางการศกึ ษาจึงเป็นการกาหนด ทศิ ทางของกิจกรรมทางการศึกษาให้ได้ดังที่พงึ ประสงค์ไว้ การกาหนดจุดมงุ่ หมายเป็นงานท่ีมีความสาคญั เพราะจุดมุง่ หมายทีก่ าหนดขนึ้ จะเห็นแนวทางในการกาหนด เนื้อหา การเลอื กวิธีสอน กจิ กรรมการเรยี นการสอน ตลอดจนการวัดผล จงึ ควร มีลักษณะท่ชี ัดเจนและ เปน็ ไปได้ในเชิงปฏบิ ัติ สงิ่ ท่ีสาคญั อย่ตู รงทีว่ า่ ต้องรใู้ ห้แนช่ ัดเสียต้ังแตต่ ้นว่า วิชานี้ บทน้ี จะต้องวัดอะไรบ้าง จะต้อง วดั มากนอ้ ยอย่างละเท่าไร และจะต้องวดั ดว้ ยวธิ ีใด ซ่งึ จัดว่าเป็นสิง่ แรกที่สาคัญทส่ี ุดของกระบวนการวัดผล ดงั น้ัน การท่จี ะตอบคาถามดังกลา่ วนน้ั ได้ จงึ จาเปน็ ท่จี ะต้องรู้ถงึ จดุ มุ่งหมายของวิชา หรอื บทเรยี นนั้นเสียก่อนวา่ ต้องการ ให้เกดิ สง่ิ ใดกบั ผู้เรยี นบา้ ง จึงจะสามารถทาการวดั ได้อย่างถูกต้อง หากพจิ ารณาจากกระบวนการสอนท่ีเรียกว่า OLE จะประกอบดว้ ย 1) O = Objective = จดุ มุง่ หมาย 2) L = Learning Experience = การจดั ประสบการณก์ ารเรียนการสอน 3) E = Evaluation = การประเมนิ ผล ซึง่ ทั้ง 3 ส่วนจะต่อเน่อื งเป็นวงจรการเรียนการสอน แสดงเปน็ วงจรไวด้ งั ภาพ O จุดมุ่งหมาย L E การเรยี นการสอน การประเมินผล แผนภาพ วงจรการเรยี นการสอน ที่มา : ไพฑูรย์ ลินลารัตน์ 2526 : 106 จากวงจรการเรียนการสอน จะเหน็ ไดว้ ่าองค์ประกอบท้ัง 3 ส่วน มีความเกี่ยวข้องตอ่ เน่ืองกันคือ 1. จดุ มงุ่ หมาย (Objective) การเรยี นการสอนเพ่อื ใหผ้ เู้ รียนเกิดความเปลี่ยนแปลง
28 พฤติกรรมตามจดุ ประสงคท์ ี่กาหนดไว้ โดยเนน้ ที่เป้าหมายของการสอน ซึง่ การเปล่ยี นแปลง พฤติกรรมน้ีเป็นพฤติกรรมท้ัง 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นความรู้ความคดิ (ดา้ นพทุ ธิพสิ ยั ) ด้านเจตคติ (ดา้ น จติ พสิ ยั ) คือการได้เหน็ คุณค่า เหน็ ความสาคญั และดา้ นทักษะ (ดา้ นทักษะพิสัย) คอื การปฏบิ ัตไิ ด้ ถกู ต้องตามวัย ดงั นน้ั ในการสอนจึงตอ้ งต้งั จดุ มุ่งหมายให้ผเู้ รยี นเกิดการพฒั นาทัง้ 3 ด้าน มิใชเ่ พยี ง ดา้ นใดด้านหนึง่ เพียงด้านเดียว จึงจะถอื วา่ เป็นการสอนทสี่ มบรู ณ์ ตลอดจนมุ่งให้ผู้เรียนสามารถนา ประสบการณ์ใหม่ไปใชไ้ ด้ 2. การเรียนการสอน (Learning Experience) เปน็ กจิ กรรมทีส่ าคญั ในกระบวนการทาง การศึกษา เพราะเป็นการนาหลักสตู รไปใชป้ ฏบิ ตั ใิ ห้บรรลุจุดมุ่งหมายที่ได้กาหนดไว้ คุณภาพของ การศกึ ษาจะดีหรือไม่นนั้ การสอนเปน็ สาคัญซ่ึงจะทาหน้าทีพ่ ฒั นาและเสรมิ สรา้ งผู้เรยี นให้เกิด การ เปลยี่ นแปลงพฤติกรรม และมปี ระสบการณก์ ารเรียนรเู้ พ่มิ ขน้ึ 3. การประเมนิ ผล (Evaluation) เปน็ การติดตามผลการจดั การเรยี นการสอนวา่ ผเู้ รยี น บรรลุผลมากนอ้ ยเพียงใด ตามธรรมชาตขิ องผู้เรียนแต่ละคนขึ้นอยกู่ ับการพัฒนาทางสติปญั ญาและ ทางร่างกาย ซ่ึงมคี วามแตกต่างกัน การประเมนิ ผลการเรียนจะเช่ือมโยงกับจุดมุ่งหมายทางการ ศึกษาและวิธกี ารเรียน การสอน กล่าวคอื ผสู้ อนมักจะต้ังความหวังก่อนสอนว่าตอ้ งการจะให้ผู้ เรยี นรอู้ ะไร เกิดพฤติกรรมอะไร หรือทาอะไรได้บา้ ง ซงึ่ ความหวังนเี้ รยี กวา่ จดุ มุ่งหมายทางการ ศกึ ษา ซึ่งมี 3 ดา้ น คือ พุทธิพสิ ยั จิตพสิ ยั และทักษะพิสัย วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลจงึ ต้อง เกี่ยวพันกบั จุดมงุ่ หมายการศึกษา ดงั นัน้ ครูหรอื ผู้ประเมนิ ต้องสามารถตคี วามหมายของจุดมุง่ หมายรายวชิ าน้ัน ๆ ให้ ถกู ต้อง ครอบคลมุ และชดั เจน จงึ จะสามารถวดั และประเมินไดต้ รงกบั สงิ่ ท่ีต้องการ แต่ปญั หาทีม่ ัก พบในทางปฏบิ ตั ิ คอื จากจดุ มุง่ หมายของรายวิชาเดยี วกัน ครูผูส้ อนแตล่ ะคนมักจะตคี วามต่างกัน ไป โดยเฉพาะในแง่ของขอบข่าย อันสง่ ผลให้การดาเนินการสอนและการสอบวัดในประเดน็ ท่ี แตกต่างกนั ไป เกณฑ์การประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นแบบ KPA KPA ย่อมาจาก Knowledge Practice Attitude KPA หมายถึง เกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ประกอบด้วยการประเมนิ ดา้ น ความรู้ (Knowledge) ดา้ นทักษะและการปฏบิ ัติ (Practice) และดา้ นเจตคตหิ รือคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (Attitude) การประเมนิ จะแบ่งตามลักษณะของรายวิชาดว้ ยเครอ่ื งมือท่ีแตกต่างกนั ไปเชน่ การประเมินดา้ นความรู้ (K) จะนยิ มใช้แบบทดสอบในการประเมนิ ในขณะท่กี ารประเมนิ ดา้ นทักษะ (P) จะใช้ภาระงานหรือชิ้นงานมาประกอบกับเกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics) มาประเมิน สว่ นด้าน เจตคติ (A) จะใช้การประเมินตามสภาพจรงิ ซึง่ มคี วามซับซ้อนกว่า 2 อยา่ งแรก
29 สรุปการวดั และการประเมินผล (ศตวรรษท่ี 21 การจัดการเรียนรทู้ ่เี น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั (ตอ้ งสอดคล้องกับการวัดและการประเมนิ )) แนวทาง มี 3 ประการ 1. Assessment for Learning: AfL 2. Assessment as Learning: AaL 3. Assessment of Learning: AoL 1. AfL เพอ่ื สนบั สนุนและปรับปรงุ ผู้เรียนรายบคุ คล (ประเมินเพ่ือเรยี นรู้) 1) Feed-up การใหข้ ้อมลู การเรียนรแู้ กน่ ักเรยี น 2) Feedback ครใู ห้ขอ้ มูลการเรยี นร้ขู องผเู้ รียนหลังทากิจกรรม 3) Feed-forward การให้ข้อมูลภายหลังการจดั การเรียนรู้ เพ่อื ให้ผู้เรียนได้เรยี นเพมิ่ เตมิ ดว้ ย ตนเอง 2. AaL เป็นการประเมินความก้าวหน้าด้วยตนเอง เน้นผู้เรียนประเมินตนเองและเพื่อน เป็นระยะๆ ในระหว่างทากจิ กรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ ผลการเรียนร)ู้ มีประโยชนต์ อ่ ผ้เู รียน 5 ประการ 1.กระตนุ้ ลกั ษณะความรบั ผดิ ชอบในการเรียนรขู้ องตนเอง 2.เพอื่ ให้ผู้เรียน เรยี นรูใ้ นการประเมนิ ตนเองและเพอื่ นๆ 3.ผเู้ รยี นมโี อกาสตง้ั คาถามและตอบคาถามนัน้ ๆ 4.ผู้เรยี นได้ใช้ผลประเมินของตนเอง ในการกาหนดเป้าหมายของตนเอง 5.กระตุน้ ให้ผูเ้ รยี นสะท้อนผลลพั ธ์ใหแ้ กต่ นเอง 3. AoL เป็นการประเมินที่ใช้ตัดสินการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้สอนมีบทบาทหลักในประเมิน มีลักษณะ แบบรวบยอด ท่ีใช้วัตถุประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้ มีคุณภาพเช่ือถือได้ และมีความเป็นทางการ (ประเมินขณะเรียนร้)ู - การประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการต่อเน่ืองจากการวัดผลการเรียนรู้ โดยเป็นการ นาผลการวัดมาตดั สิน โดยกบั เกณฑ์ทกี่ าหนดไว้ ดงั แผนภาพ
30 ผลการเรียนรู้ เกณฑก์ ารประเมนิ (ขอ้ มูล/คะแนน) เปรียบเทียบ ตดั สิน ผลการประเมิน/การตดั สิน ผลการเรียนรู้/การใหร้ ะดบั การเรียนรู้ แผนภาพ แสดงกระบวนการต่อเนื่องจากการวดั ผลการเรยี นรู้ ตัวอยา่ ง 1. AfL ครมู อบหมายงานใหน้ ักเรียน แลว้ จึงสะทอ้ นผลให้นกั เรยี น กลุ่มและรายบคุ คล 2. AaL ประเมนิ ตนเองและเพ่ือนในชนั้ เรยี น 3. AoL การประเมนิ ผลการเรียนรกู้ ่อนเรยี น หลังเรยี น หรือการสอบ จากแนวคดิ หลกั การ และจุดมงุ่ หมายของการประเมนิ ผลในข้างต้นสามารถสรุปหลกั การ และคุณลักษณะของการประเมนิ ตามแนวคดิ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การประเมนิ เพื่อการเรียนรู้ และการประเมินขณะเรียนรู้ได้ตารางท่ี 1
31 ตาราง 1 สรปุ หลกั การและคุณลกั ษณะของการประเมนิ ตามแนวคดิ การประเมนิ ผลการ เรยี นรู้ การประเมนิ เพ่ือการเรียนรู้ และการประเมนิ ขณะเรียนรู้ (Earl, 2013; McMillan, 2014) หลักการ/คุณลักษณะ การประเมนิ ผลการ การประเมนิ เพื่อการ การประเมินขณะเรยี นรู้ เรยี นรู้ เรยี นรู้ วัตถุประสงค์ การตัดสนิ เกย่ี วกับการจัด ขอ้ มูลสารสนเทศสาหรับ การติดตามตนเอง (self - วางตาแหน่ง การเล่ือน การตัดสนิ ใจเก่ยี วกบั การ monitoring), ชน้ั เรยี นการออกหนงั สือ จัดการเรยี นการสอนของ การแก้ไขตนเอง รับรองหรือใบประกาศ ผู้สอน (self-correction) หรอื การ ฯลฯ ปรับตวั (adjustment) เกณฑเ์ ทยี บเคียง ผู้เรยี นคนอนื่ , มาตรฐาน มาตรฐานหรอื ผลการ เป้าหมายของบุคคล และ หรอื ผลการเรยี นรู้ เรยี นรภู้ ายนอก มาตรฐานภายนอก ผปู้ ระเมินหลัก ผสู้ อน ผู้เรยี น คุณลักษณะการประเมิน การประเมนิ สรปุ รวม การประเมินความกา้ วหน้าในการเรยี นรู้ รบั รองการเรียนรู้ ระบคุ วามต้องการในการ มุง่ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นติดตามการ เรียนรู้ตามลาดบั เรยี นรู้ของตนเอง ประเมินเม่ือจบหน่วยการ ประเมินระหว่างการสอน ประเมินระหวา่ งการสอนและ เรียนรู้ อย่างต่อเนือ่ ง หน่วยการเรยี นรู้ มักใชเ้ กณฑ์การประเมนิ / ใช้ช้นิ งาน/ภาระงานที่ สง่ เสริมให้ผูเ้ รียนมคี วามรู้ จดั ลาดบั ผู้เรียน ผสู้ อนสามารถปรับได้ เกีย่ วกับเกณฑ์เพื่อใช้สาหรบั ระหวา่ งการสอน การประเมินการเรียนรู้ คาถามท่ีใช้มาจากสอื่ ทาง ได้ข้อเสนอแนะเพ่อื ปรบั ผู้เรยี นเปน็ ผู้เลอื กวธิ กี าร การศึกษา การเรยี นเปล่ยี นการสอน เรียนรทู้ ่เี หมาะสมกบั ตนเอง มงุ่ ประเมนิ ทั่วไป มุ่งประเมนิ อยา่ งเฉพาะเจาะจง เพือ่ รายงานต่อผู้ปกครอง เพ่ือใหข้ อ้ มลู ย้อนกลับแก่ มงุ่ เน้นให้ผู้เรียนติดตามการ ในรูปแบบของเกรด ผูเ้ รยี น เรียนรู้ของตนเอง อาจลดแรงจงู ใจของ ส่งเสรมิ แรงจงู ใจของผเู้ รยี น ผเู้ รยี น ใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั ล่าชา้ ให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั ทันที การตดั สินในภาพรวม ประเมนิ เพ่ือวินิจฉยั
32 กลา่ วโดยสรปุ การประเมนิ ท้ัง 3 แนวคิดต่างมีหลักการ จุดมุ่งหมายในการประเมิน ลักษณะ สารสนเทศและการใชป้ ระโยชนจ์ ากสารสนเทศท่ีได้รบั แตกตา่ งกนั ออกไป โดยการประเมนิ ผลการ เรยี นรูเ้ ปน็ การประเมนิ ท่ีมุ่งตัดสินผลหรือตดั สินความสาเรจ็ หรือที่รูจ้ กั กนั ในนามการประเมนิ สรุปรวม โดยมีผ้สู อนทาหน้าทีเ่ ป็นผ้ปู ระเมิน ในขณะท่กี ารประเมนิ เพ่ือการเรียนรู้ เป็นการประเมินทมี่ ี จุดมุง่ หมายในการประเมินกระบวนการและการเรยี นรู้ของผ้เู รียนด้วยวิธกี ารท่หี ลากหลาย เพอื่ ให้ได้ สารสนเทศทีจ่ ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ท้งั ผู้สอนและผู้เรยี น นับได้วา่ เปน็ การประเมินความกา้ วหนา้ แต่ บทบาทของการประเมินยังคงเปน็ ผสู้ อนเปน็ หลักในขณะทีก่ ารประเมินขณะเรยี นรู้ เปน็ การประเมนิ ที่ ชว่ ยให้ผ้เู รยี นสามารถพัฒนาการเรียนรขู้ องตนเองไดอ้ ยา่ งต่อเน่อื งด้วยการประเมนิ ความก้าวหนา้ ใน การเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง ดังนน้ั ผูเ้ รยี นจงึ บทบาทสาคัญกาาหนดเป้าหมาย กากับการเรียนรู้ วินิจฉยั ประเมิน และปรับปรุงการเรียนรขู้ องตน (สรัญญา จันทรช์ ูสกุล, 2560) ด้วยเหตุนที้ ิศทางการของการประเมินจงึ ไดเ้ ปลี่ยนบทบาทจากการประเมินในอดตี ท่ีเน้นการตัดสินผล การเรียนรู้มาสู่การประเมินเพ่ือการเรียนรู้ และการประเมินขณะเรียนรู้ ซึ่งให้น้าหนักความสาคัญกับ การประเมินขณะเรียนรู้มากที่สุด รองลงมาคือ การประเมินเพ่ือการเรียนรู้ และการประเมินผลการ เรียนรู้ ตามลาดับ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เรียนมากที่สุด (Earl, 2013) นอกจากน้ี McMillan (2014) ยังได้กล่าวถึงแนวโน้มการประเมินผลในชั้นเรียนตามแนวคิดใหม่ไว้อย่างน่าสนใจ ถึงการเปลี่ยนผ่านจากแนวคิดเดิมท่ีมุ่งประเมินตามแนวคิดการประเมินผลการเรียนรู้ (AoL) มาสู่การ ใชแ้ นวคิดของการประเมินเพื่อการเรยี นรู้ (AfL) และการประเมินขณะเรยี นรู้ (AaL) มากย่ิงข้ึน สรปุ ได้ ดังตารางที่ 1
33 ขอ้ ดแี ละข้อเสยี ของการประเมินตามแนวคดิ การประเมินผลการเรยี นรู้ การประเมินเพ่ือการเรยี นรู้ และการประเมนิ ขณะเรียนรู้ 1.การประเมนิ เพ่ือการเรยี นรู้ (Assessment for Learning: AfL) ข้อดี ขอ้ เสยี -มีการใชเ้ ทคนิคท่หี ลากหลาย -ใชเ้ วลาเรยี น -เลือกเทคนิคที่เหมาะสมเพ่ือปรับปรุงวิธีการ เรยี นรู้เป็นรายบุคคล 2.การประเมินขณะเรียนรู้ (Assessment as Learning: AaL) ขอ้ ดี ข้อเสยี -สร้างความรับผิดชอบทางการเรียนรู้ให้แก่ -ผลการประเมินอาจไม่มีความน่าเช่ือถือเพราะ นักเรียน ขนึ้ อยู่กบั ตวั ผ้ปู ระเมนิ -ได้ฝึกประเมินตนเองและเพ่ือน รับฟังความ คิดเหน็ ของผู้อ่ืน 3.การประเมินผลการเรียนรู้ (Assessment of Learning: AoL) ขอ้ ดี ข้อเสยี -มคี วามน่าเชื่อถือในการวัดและประเมนิ ผล -เน่ืองจากเป็นกระบวนการต่อเนือ่ งจากการวัดผล -สามารถนามาใช้ตดั สนิ ผลการเรียนรขู้ องนกั เรยี น การเรียนรู้ จึงใช้เวลานาน ได้ ความเหมือนและความแตกตา่ งจดุ ประสงค์ของการประเมนิ การประเมินขณะการเรียนรู้ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ การประเมนิ เพ่ือการเรยี นรู้ AaL AoL AfL • พฒั นา self-assessment • ตัดสนิ ผลการเรียนร้ขู อง • ได้ขอ้ มูลในการปรับการเรียน ผู้เรยี น การสอน • self-reflection ของผ้เู รยี น • ตัดสินใจเกย่ี วกบั การเลื่อนช้ัน • ให้ขอ้ มูลป้อนกลับแกผ่ เู้ รียน ของผเู้ รียน • รายงานผลการเรียนของ • ดาเนนิ การตอ่ เนื่อง ผ้เู รียนใหพ้ ่อแม่ผ้ปู กครองรับรู้
34 ความเหมือนและแตกตา่ งวิธีการประเมนิ การประเมินผลการเรยี นรู้ AoL การประเมินเพอ่ื การเรยี นรู้ การประเมนิ ขณะการเรยี นรู้ AaL AfL • ส่งเสริมให้ผเู้ รยี นรู้จักประเมิน การเรยี นรู้ของตนเอง และ • ใชข้ ้อมูลเชิงประจักษ์เก่ยี วกับ • ใชข้ ้อมลู เกี่ยวกับความร้คู วาม มองเหน็ แนวทางการปรบั ปรุง พัฒนาการเรียนรู้ ของตนเอง การเรยี นรู้ของผูเ้ รยี น ในการ เขา้ ใจ ทักษะของ นกั เรียนเพ่ือ ประเมินตัดสินผลการเรยี นตาม สะท้อนการสอนของตนเอง เปา้ หมายและ มาตรฐาน • ครใู ห้ขอ้ มูลผเู้ รยี นและชีแ้ นว ทางการปรบั ปรุงพฒั นา ความเหมือนและความแตกตา่ งผปู้ ระเมินที่สาคัญ การประเมนิ ขณะการเรยี นรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ AoL การประเมินเพ่อื การเรยี นรู้ AaL AfL นกั เรียน ครู ครู
35 การใหร้ ะดับผลการเรยี น การตดั สนิ เพ่ือให้ระดบั ผลการเรยี นรายวชิ าของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ให้ใช้ตวั เลขแสดงระดับ ผลการเรียนเปน็ 8 ระดับ การตดั สินผลการเรียนในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใชร้ ะบบผ่านและไมผ่ ่านโดยกาหนดเกณฑ์การ ตัดสนิ ผา่ นแต่ละรายวชิ าทีร่ ้อยละ 50 จากน้ันจงึ ใหร้ ะดับผลการเรยี นท่ผี ่านสาหรับระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นและตอนปลายใชต้ ัวเลขแสดงระดบั ผลการเรียนเป็น 8 ระดบั แนวการให้ระดบั ผลการเรยี น 8 ระดับและความหมายของแต่ละระดับดังแสดงในตารางดังน้ี 4 ดีเยี่ยม 80-100 3.5 ดีมาก 75-79 3 ดี 70-74 2.5 คอ่ นข้างดี 65-69 2 ปานกลาง 60-64 1.5 พอใช้ 55-59 1 ผ่านเกณฑ์ขั้นตา่ 50-54 0 ตา่ กว่าเกณฑ์ 0-49 ในกรณที ี่ไม่สามารถให้ระดับผลการเรยี นเปน็ 8 ระดบั ได้ให้ใช้ตัวอกั ษรระบุเง่อื นไขของผลการเรียน ดังนี้ “มส” หมายถงึ ผ้เู รียนไมม่ ีสิทธเิ ข้ารับการวดั ผลปลายภาคเรียนเนอื่ งจากผเู้ รียนมีเวลาเรยี นไม่ ถึงรอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี นในแต่ละรายวิชาและไมไ่ ด้รับการผ่อนผนั ให้เขา้ รับการวัดผลปลายภาค เรยี น “ร” หมายถึงรอการตัดสนิ และยงั ตดั สนิ ผลการเรยี นไม่ไดเ้ น่ืองจากผู้เรียนไม่มีข้อมูลผลการ เรียนรายวชิ านน้ั ครบถ้วนไดแ้ กไ่ ม่ได้วัดผลระหว่างภาคเรยี น/ปลายภาคเรยี นไมไ่ ดส้ ่งงานท่ีมอบหมาย ใหท้ าซ่งึ งานนน้ั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการตัดสินผลการเรียนหรือมีเหตสุ ดุ วสิ ยั ท่ที าให้ประเมินผลการเรยี น ไมไ่ ด้ การประเมินการอ่านคดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี นและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์นัน้ ใหผ้ ลการ ประเมินเปน็ ผ่านและไม่ผ่านกรณีท่ีผา่ นให้ระดับผลการประเมนิ เปน็ ดีเย่ยี มดแี ละผา่ น 1) ในการสรุปผลการประเมนิ การอ่านคดิ วิเคราะห์และเขียนเพอ่ื การเลอ่ื นชัน้ และจบ การศึกษากาหนดเกณฑ์การตัดสนิ เปน็ 4 ระดบั และความหมายของแต่ละระดบั ดังน้ี ดีเย่ยี ม หมายถงึ มีผลงานท่แี สดงถงึ ความสามารถในการอ่านคดิ วเิ คราะห์และเขียน ท่ีมีคณุ ภาพดีเลิศอยเู่ สมอ
36 ดี หมายถึง มผี ลงานท่แี สดงถงึ ความสามารถในการอา่ นคิดวเิ คราะห์และเขียนท่ีมี คุณภาพเปน็ ท่ียอมรบั ผา่ น หมายถงึ มผี ลงานที่แสดงถงึ ความสามารถในการอ่านคดิ วิเคราะหแ์ ละเขียนท่ี มคี ณุ ภาพเปน็ ที่ยอมรับแต่ยังมขี อ้ บกพร่องบางประการ ไมผ่ า่ น หมายถึง ไม่มผี ลงานทีแ่ สดงถึงความสามารถในการอ่านคิดวเิ คราะห์และ เขียนหรอื ถ้ามีผลงานผลงานนั้นยงั มขี ้อบกพรอ่ งทต่ี ้องได้รบั การปรบั ปรุงแกไ้ ขหลายประการ 2) ในการสรปุ ผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์รวมทุกคุณลกั ษณะเพื่อการเลอื่ นช้นั และจบการศึกษากาหนดเกณฑ์การตัดสนิ เปน็ 4 ระดบั และความหมายของแตล่ ะระดับดังนี้ ดเี ยย่ี ม หมายถงึ ผเู้ รยี นปฏิบัตติ นตามคุณลกั ษณะจนเป็นนสิ ยั และนาไปใชใ้ น ชวี ิตประจาวันเพือ่ ประโยชนส์ ุขของตนเองและสงั คมโดยพจิ ารณาจากผลการประเมนิ ระดับดเี ย่ียม จานวน 5-8 คณุ ลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใดไดผ้ ลการประเมินตา่ กว่าระดบั ดี ดี หมายถงึ ผเู้ รยี นมคี ณุ ลักษณะในการปฏิบัตติ ามกฎเกณฑเ์ พื่อให้เปน็ การยอมรบั ของสงั คมโดยพิจารณาจากได้ผลการประเมนิ ระดับดีเยยี่ มจานวน 1-4 คณุ ลักษณะและไม่มี คุณลกั ษณะใดได้ผลการประเมินตา่ กว่าระดับดหี รอื ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดที ง้ั 8 คุณลักษณะหรือ ไดผ้ ลการประเมนิ ตั้งแตร่ ะดบั ดขี ึ้นไปจานวน 5-7 คณุ ลักษณะและมีบางคุณลกั ษณะไดผ้ ลการประเมนิ ระดับผ่าน ผา่ น หมายถึง ผเู้ รียนรับรู้และปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑแ์ ละเงื่อนไขทส่ี ถานศกึ ษากาหนดโดย พิจารณา ไดผ้ ลการประเมินระดับผา่ นทง้ั 8 คณุ ลักษณะหรือ ได้ผลการประเมนิ ต้ังแต่ระดับดีขึน้ ไปจานวน 1-4 คุณลกั ษณะและคุณลกั ษณะที่เหลอื ได้ผลการประเมินระดับผา่ น ไม่ผา่ น หมายถงึ ผ้เู รียนรบั รู้และปฏบิ ตั ไิ ด้ไมค่ รบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขท่ีสถานศกึ ษา กาหนดโดยพจิ ารณาจากผลการประเมนิ ระดบั ไมผ่ ่านต้งั แต่ 1 คณุ ลกั ษณะ การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี นจะต้องพจิ ารณาทัง้ เวลาการเขา้ รว่ มกิจกรรมการปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมและผลงานของผู้เรยี นตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากาหนดและใหผ้ ลการประเมนิ เป็นผ่านและไม่ ผ่าน กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นมี 3 ลักษณะคือ 1) กิจกรรมแนะแนว 2) กจิ กรรมนกั เรยี นซึ่งประกอบด้วย
37 (1) กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์และนักศึกษาวิชาทหาร โดยผู้เรยี นเลือกอย่างใดอย่างหนึง่ (2) กจิ กรรมชุมนมุ หรอื ชมรม ท้ังน้ีผเู้ รยี นระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ จะต้องเข้าร่วม กิจกรรมทั้งข้อ (1) และ (2) สาหรับผูเ้ รียนระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายสามารถเลอื กเขา้ ร่วมกจิ กรรม ใดกิจกรรมหน่ึงในข้อ (1) หรือ (2) 3) กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ใหใ้ ช้ ตัวอักษรแสดงผลการประเมนิ ดังนี้ “ผ” หมายถึง ผู้เรียนมเี วลาเขา้ ร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นปฏบิ ัติกจิ กรรมและมีผลงานตาม เกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด “มผ” หมายถึง ผูเ้ รียนมเี วลาเข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนปฏบิ ตั ิกจิ กรรมและมีผลงานไม่ เป็นไปตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษากาหนด การเปลีย่ นผลการเรยี น การเปล่ยี นผลการเรียน “0” สถานศึกษาจดั ใหม้ ีการสอนซอ่ มเสรมิ ในมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วดั ท่ผี ้เู รียนสอบไมผ่ ่านก่อน แลว้ จึงสอบแก้ตัวได้ไม่เกิน 2 ครั้งถา้ ผู้เรยี นไม่ดาเนินการสอบแกต้ ัวตามระยะเวลาที่สถานศกึ ษา กาหนดให้อยู่ในดุลยพนิ ิจของสถานศกึ ษาทจี่ ะพจิ ารณาขยายเวลาออกไปอีก 1 ภาคเรียนสาหรบั ภาค เรยี นที่ 2 ตอ้ งดาเนนิ การใหเ้ สรจ็ ส้นิ ภายในปีการศกึ ษาน้ัน ถ้าสอบแกต้ ัว 2 คร้ังแล้วยงั ได้ระดบั ผลการเรยี น “0” อกี ให้สถานศึกษาแตง่ ตั้งคณะกรรมการ ดาเนินการเกีย่ วกบั การเปล่ยี นผลการเรียนของผเู้ รียนโดยปฏบิ ตั ิดังน้ี 1) ถา้ เปน็ รายวชิ าพนื้ ฐานให้เรยี นซา้ รายวชิ าน้นั 2) ถา้ เป็นรายวิชาเพ่ิมเตมิ ใหเ้ รียนซ้าหรือเปล่ยี นรายวชิ าเรยี นใหมท่ ้ังนีใ้ ห้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของ สถานศึกษา ในกรณีทเี่ ปลี่ยนรายวิชาเรียนใหมใ่ หห้ มายเหตใุ นระเบยี นแสดงผลการเรียนวา่ เรียนแทน รายวิชาใด การเปลีย่ นผลการเรยี น “ร” การเปล่ียนผลการเรียน “ร” ใหด้ าเนินการดังนี้ ให้ผเู้ รยี นดาเนนิ การแก้ไข “ร” ตามสาเหตุเมอื่ ผู้เรียนแกไ้ ขปัญหาเสรจ็ แลว้ ให้ได้ระดับผลการ เรียนตามปกติ(ตั้งแต่ 0-4)ถา้ ผู้เรยี นไม่ดาเนินการแก้ไข “ร” กรณีที่สง่ งานไม่ครบแต่มผี ลการประเมิน ระหว่างภาคเรยี นและปลายภาคใหผ้ สู้ อนนาข้อมลู ทมี่ ีอย่ตู ัดสนิ ผลการเรียนยกเวน้ มีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ ในดุลยพนิ จิ ของสถานศกึ ษาที่จะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอกี ไม่เกิน 1 ภาคเรียนสาหรับภาค เรยี นท่ี 2 ต้องดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปกี ารศึกษานั้นเมื่อพ้นกาหนดนี้แล้วให้เรยี นซ้าหากผลการ เรียนเปน็ “0” ใหด้ าเนินการแก้ไขตามหลักเกณฑ์ การเปลย่ี นผลการเรยี น “มส”
38 การเปล่ยี นผลการเรยี น “มส” มี 2 กรณีดงั น้ี 1) กรณผี ู้เรยี นได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไมถ่ งึ ร้อยละ 80 แต่มเี วลาเรียนไม่ น้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ของเวลาเรียนในรายวชิ านนั้ ให้สถานศึกษาจดั ให้เรยี นเพ่มิ เติมโดยใช้ชว่ั โมงสอน ซอ่ มเสรมิ หรือใชเ้ วลาว่างหรือใช้วันหยุดหรือมอบหมายงานให้ทาจนมเี วลาเรยี นครบตามท่ีกาหนดไว้ สาหรับรายวชิ าน้นั แล้วจึงให้วดั ผลปลายภาคเปน็ กรณีพิเศษผลการแก้ “มส” ให้ไดร้ ะดับผลการเรียน ไมเ่ กนิ “1”การแก้ “มส” กรณีน้ีให้กระทาให้เสร็จส้นิ ภายในปกี ารศกึ ษานั้นถ้าผู้เรยี นไม่มาดาเนินการ แก้ “มส” ตามระยะเวลาทก่ี าหนดไวน้ ใ้ี ห้เรยี นซา้ ยกเวน้ มเี หตสุ ุดวิสัยให้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของ สถานศกึ ษาที่จะขยายเวลาการแก้ “มส”ออกไปอีกไมเ่ กนิ 1 ภาคเรียนแตเ่ มอื่ พ้นกาหนดน้ีแล้วให้ ปฏิบตั ดิ ังนี้ (1) ถ้าเปน็ รายวชิ าพืน้ ฐานใหเ้ รยี นซ้ารายวชิ านน้ั (2) ถา้ เปน็ รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ให้อย่ใู นดุลยพินิจของสถานศกึ ษาใหเ้ รียนซา้ หรือเปลย่ี น รายวชิ าเรยี นใหม่ 2) กรณีผเู้ รยี นไดผ้ ลการเรยี น “มส” เพราะมีเวลาเรยี นนอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 ของเวลาเรยี น ทง้ั หมดให้สถานศกึ ษาดาเนินการดงั นี้ (1) ถา้ เปน็ รายวิชาพน้ื ฐานใหเ้ รียนซา้ รายวชิ านัน้ (2) ถา้ เปน็ รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ให้อยู่ในดุลยพินิจของ สถานศกึ ษาให้เรียนซ้าหรือเปล่ียนรายวิชาเรียนใหม่ในกรณที เ่ี ปล่ียนรายวิชาเรียนใหม่ให้ หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรยี นวา่ เรียนแทนรายวิชาใด การเรียนซา้ รายวิชา ผเู้ รยี นทีไ่ ดร้ บั การสอนซ่อมเสริมและสอบแกต้ ัว 2 ครั้งแล้วไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ใหเ้ รียน ซ้ารายวชิ าน้ันทงั้ นี้ให้อยู่ในดลุ ยพินจิ ของสถานศึกษาในการจัดให้เรยี นซา้ ในชว่ งใดชว่ งหนง่ึ ที่ สถานศกึ ษาเห็นวา่ เหมาะสม เชน่ พักกลางวนั วันหยุด ชัว่ โมงวา่ ง หลังเลิกเรียนภาคฤดูร้อนเปน็ ตน้ ในกรณภี าคเรยี นท่ี 2 หากผู้เรยี นยังมีผลการเรยี น “0” “ร” “มส” ใหด้ าเนินการให้เสรจ็ สิ้น ก่อนเปดิ เรยี นปีการศึกษาถัดไปสถานศกึ ษาอาจเปดิ การเรียนการสอนในภาคฤดรู ้อนเพื่อแกไ้ ขผลการ เรยี นของผู้เรียนไดท้ ้ังนหี้ ากสถานศกึ ษาใดไมส่ ามารถดาเนินการเปิดสอนภาคฤดรู ้อนไดใ้ ห้สานกั งาน เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา/ต้นสังกดั เปน็ ผพู้ ิจารณาประสานงานให้มีการดาเนินการเรยี นการสอนในภาคฤดู รอ้ นเพื่อแกไ้ ขผลการเรียนของผเู้ รยี น การเปล่ียนผล “มผ” กรณที ผ่ี ้เู รยี นได้ผล “มผ” สถานศึกษาต้องจดั ซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทากิจกรรมในส่วนทผ่ี เู้ รียน ไมไ่ ด้เข้ารว่ มหรือไม่ไดท้ าจนครบถว้ นแลว้ จงึ เปลย่ี นผลจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ท้งั น้ดี าเนินการใหเ้ สรจ็ สน้ิ ภายในภาคเรียนน้นั ๆยกเว้นมเี หตสุ ุดวิสยั ให้อย่ใู นดลุ ยพินจิ ของสถานศกึ ษาทจี่ ะพจิ ารณาขยาย
39 เวลาออกไปอกี ไม่เกนิ 1 ภาคเรียนสาหรบั ภาคเรยี นที่ 2 ต้องดาเนินการให้เสร็จสน้ิ ภายในปีการศึกษา นนั้ การเลื่อนชัน้ เมือ่ ส้ินปกี ารศกึ ษาผู้เรยี นจะได้รบั การเลอื่ นช้นั เมื่อมคี ุณสมบตั ิตามเกณฑ์ดังต่อไปน้ี 1) รายวชิ าพ้นื ฐานและรายวิชาเพ่ิมเติมได้รบั การตัดสินผลการเรียนผา่ นตามเกณฑท์ ่ี สถานศึกษากาหนด 2) ผเู้ รียนตอ้ งได้รบั การประเมนิ และมีผลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากาหนดใน การอา่ นคดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียนคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 3) ระดบั ผลการเรยี นเฉล่ียในปีการศึกษานน้ั ควรได้ไมต่ ่ากวา่ 1.00 ทัง้ นรี้ ายวชิ าใดที่ไม่ผ่าน เกณฑ์การประเมนิ สถานศึกษาสามารถซ่อมเสริมผเู้ รยี นใหไ้ ดร้ บั การแก้ไขในภาคเรยี นถัดไปทัง้ นี้ สาหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องดาเนินการใหเ้ สรจ็ ส้นิ ภายในปกี ารศึกษานนั้ การสอนซ่อมเสริม หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานพทุ ธศักราช 2551กาหนดใหส้ ถานศึกษาจัดสอนซอ่ ม เสรมิ เพอื่ พัฒนาการเรยี นรูข้ องผเู้ รยี นเตม็ ตามศักยภาพ การสอนซอ่ มเสรมิ เปน็ การสอนเพื่อแก้ไข ข้อบกพร่องกรณีทผี่ ้เู รยี นมคี วามรูท้ กั ษะ กระบวนการหรือเจตคติ/คณุ ลักษณะไม่เป็นไปตามเกณฑท์ ี่ สถานศึกษากาหนดสถานศึกษาต้องจัดสอนซ่อมเสริมเป็นกรณพี เิ ศษนอกเหนือไปจากการสอน ตามปกติเพื่อพฒั นาใหผ้ เู้ รยี นสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ช้วี ดั ท่กี าหนดไวเ้ ปน็ การให้ โอกาสแก่ผูเ้ รยี นได้เรยี นรู้และพัฒนาโดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายและตอบสนองความ แตกตา่ งระหวา่ งบุคคลการสอนซอ่ มเสริมสามารถดาเนินการได้ในกรณดี งั ต่อไปน้ี 1) ผูเ้ รียนมีความร/ู้ ทกั ษะพ้ืนฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ละรายวิชาน้ันควร จดั การสอนซ่อมเสริมปรับความร้/ู ทกั ษะพน้ื ฐาน 2) ผ้เู รียนไม่สามารถแสดงความรูท้ กั ษะกระบวนการหรือเจตคติ/คณุ ลกั ษณะที่ กาหนดไวต้ ามมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชวี้ ัดในการประเมินผลระหว่างเรียน 3) ผเู้ รียนท่ไี ด้ระดับผลการเรียน “0” ให้จัดการสอนซ่อมเสรมิ ก่อนสอบแกต้ ัว 4) กรณีผู้เรยี นมีผลการเรยี นไม่ผา่ นสามารถจัดสอนซ่อมเสรมิ ในภาคฤดูรอ้ นเพื่อ แก้ไขผลการเรยี นทง้ั นีใ้ ห้อยใู่ นดลุ ยพินิจของสถานศึกษาจากรายละเอยี ดต่างๆข้างตน้ สรปุ เปน็ แผนภาพที่ 2.6 แสดงกระบวนการตัดสินและแก้ไขผลการเรยี นระดบั มธั ยมศึกษา การเรียนซา้ ชนั้ ผู้เรยี นทีไ่ มผ่ า่ นรายวชิ าจานวนมากและมีแนวโนม้ ว่าจะเปน็ ปัญหาต่อการเรยี นในระดับชน้ั ที่ สงู ข้ึนสถานศึกษาอาจตัง้ คณะกรรมการพิจารณาให้เรยี นซา้ ชน้ั ไดท้ ้ังนี้ใหค้ านงึ ถึงวุฒิภาวะและความรู้ ความสามารถของผูเ้ รียนเปน็ สาคัญการเรยี นซ้าชน้ั มี 2 ลกั ษณะคือ
40 1) ผเู้ รียนมรี ะดับผลการเรียนเฉลีย่ ในปกี ารศึกษาน้ันตา่ กว่า 1.00และมแี นวโนม้ ว่าจะเป็น ปัญหาต่อการเรยี นในระดบั ชั้นที่สงู ขึ้น 2) ผเู้ รยี นมผี ลการเรยี น 0, ร, มส เกินครงึ่ หน่งึ ของรายวชิ าที่ลงทะเบยี นเรยี นในปีการศกึ ษา นั้น ทงั้ นีห้ ากเกิดลักษณะใดลกั ษณะหนงึ่ หรือทั้ง 2 ลกั ษณะให้สถานศึกษาแต่งตง้ั คณะกรรมการ พิจารณาหากเห็นว่าไม่มเี หตุผลอนั สมควรก็ให้ซ้าช้นั โดยยกเลกิ ผลการเรยี นเดิมและใหใ้ ชผ้ ลการเรียน ใหมแ่ ทนหากพจิ ารณาแล้วไม่ตอ้ งเรียนซา้ ชน้ั ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินิจของสถานศกึ ษาในการแก้ไขผลการ เรยี น
41 เอกสารรอ้างอิง กมลวรรณ ตงัธนกานนท์. (2559). การวดั และประเมนิ ทักษะการปฏิบัติ. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. จตภุ มู ิ เขตจัตุรสั . (2560). 8 วิธีการและเครื่องมือประเมนิ การเรยี นรู้ของผู้เรยี น: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. ชัยรัตน์ สทุ ธิรัตน์. (2559). 80 นวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ. พิมพ์คร้ังที่ 7. กรงุ เทพฯ: แดเนก็ ซ์ อนิ เตอรค์ อรป์ อเรช่นั . บุญเชิด ภญิ โญอนันตพงษ์. (2554). การประเมนิ ผลการเรียนร้ทู ี่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั : แนวคดิ และ วิธกี าร. กรงุ เทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลชิ ชิง่ . วิจารณ์ พานชิ . (2558). ประเมินเพ่ือมอบอานาจการเรียนรู้ (Embedded formative assessment). กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท สานอักษร จากดั . ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2555). พจนานกุ รมศพั ท์ศึกษาศาสตร์. กรงุ เทพฯ: อรณุ การพมิ พ์. ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2558). พจนานุกรมศพั ทศ์ ึกษาศาสตรร์ ่วมสมยั . กรุงเทพฯ: อรุณการพมิ พ.์ สรัญญา จันทร์ชสู กลุ . (2560). เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า 473 512 การวัดและประเมินผล ทางการ ศกึ ษาสาหรบั ครู. นครปฐม: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. (อดั สาเนา)
Search
Read the Text Version
- 1 - 41
Pages: