Electronic Book เคร่ืองมือการบริหารจดั การสถานศึกษาสมยั ใหม่ รายวิชา หลกั การและทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา จดั ทาโดย นายกรภทั ร์ พสุนธราธรรม รหสั 6419050048 หอ้ ง 2
คานา Electronic Book เลม่ น้ีเป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ า 905-502-2 หลกั การและทฤษฎีทางการบริหาร โดยมี จุดประสงค์ เพ่อื ศึกษาความรู้ เร่ือง เครื่องมือการบริหารจดั การสถานศึกษาสมยั ใหม่ ซ่ึงรายงานฉบบั น้ีมีเน้ือหา เก่ียวกบั ความหมาย ความสาคญั ประเภท พฒั นการและประโยชน์ ของทฤษฎีในการบริหารการศึกษา รวมถงึ ทฤษฎีการบริหารสมยั ใหม่ คณะผจู้ ดั ทาขอขอบพระคุณ อาจารย์ ดร.เชาวนี แกว้ มโน อาจารยป์ ระจาวิชา เป็นอยา่ งสูงทใี่ หค้ วามรู้ คาแนะนา และแนวทางในการศึกษา ตลอดจนการทางาน ผจู้ ดั ทาหวงั วา่ Electronic Book เล่มน้ีจะใหค้ วามรู้ และเป็นประโยชน์ต่อผทู้ ่นี าไปใชใ้ หเ้ กิดผลตามความคาดหวงั กรภทั ร์ พสุนธราธรรม รหสั 6419050048 หอ้ ง 2 2
สารบญั หน้า เร่ือง 5 6 ทฤษฎี : การบริหารการศึกษา 7 พฒั นการของทฤษฎีในการบริหารการศึกษา 8 อิทธิพลลาดบั ที่สามท่ีมีตอ่ การบริหารการศึกษาของสหรัฐอเมริกา 9 ลกั ษณะสาคญั ของทฤษฎีการบริหารการศึกษา 10 ความสาคญั ของทฤษฎี 11 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งทฤษฎีกบั แนวปฏิบตั ิทางการบริหารการศึกษา 12 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งทฤษฎีกบั การปฏิบตั ิ ทฤษฎีหนา้ ต่างดวงใจ (Johari Window) 3
สารบญั หน้า เร่ือง 15 16 การบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค์ 17 แนวคิดเกี่ยวกบั การบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค์ 18 ความหมายของการบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค์ 19 กระบวนการบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค์ 20 องคป์ ระกอบที่สาคญั บางประการของการบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค์ 21 ประโยชน์ของการบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค์ อา้ งอิง 4
ทฤษฎี : การบริหารการศึกษา มีผใู้ หค้ านิยามไวว้ า่ ทฤษฎี หมายถึง ชุดของแนวคิด (Concepts) คติฐานหรือขอ้ สนั นิษฐาน 5 (Assumption) และขอ้ ยตุ ิโดยทว่ั ไป (Generalization) ที่อธิบายพฤติกรรมขององคก์ าร อยา่ งเป็นระบบ และมีความสมั พนั ธ์ตอ่ กนั แตส่ าหรับขอ้ สมมติฐาน (Hypothesis) หมายถึง การต้งั ขอ้ กาหนด หรือขอ้ สมมติท่ีคิดหรือคาดวา่ น่าจะเป็นข้ึนมา แลว้ พยายามศึกษา คน้ ควา้ ทดลอง เพ่ือหาขอ้ สรุปมาพิสูจนใ์ ห้ จงไดว้ า่ ขอ้ สมมติฐานที่ต้งั ไวน้ ้นั จริงหรือไมจ่ ริง
พฒั นการของทฤษฎีในการบริหารการศึกษา ในปี 1947 มีการประชุมแห่งชาติของศาสตราจารยแ์ ห่งการบริหารการศึกษา (National Conference of Professors of Educational Administration NCPEA) ซ่ึงการประชุมในคร้ังน้นั ท่ีประชุมไดต้ ระหนึกถึง การพฒั นาทางดา้ นสงั คมศาสตร์ และในปี 1950 มีโครงการร่วมมือระหวา่ งกนั ในการบริหารการศึกษา (Cooperative Program in Eductational Administration CPEA) เพื่อแสวงหาแนวทางใหม่ ๆ ในการบริหาร การศึกษา แตก่ ารปฏิบตั ิงานในคร้ังกระน้นั ก็มิไดค้ น้ พบอะไรที่เกี่ยวกบั ทฤษฏีการบริหารมากนกั ต่อมา บรรดาสมาชิก NCPEA เสนอแนะใหท้ ี่ประชุมสนสั นุนการเขียนหนงั สือท่ีรายงานผลการวจิ ยั สิ่งท่ี คน้ พบเกี่ยวกบั การบริหารการศึกษา และในปี 1954 โรอลั ด์ แคมป์ เบล และเกร๊ก รัสเซลไดร้ ่วมกนั เป็น บรรณาธิการหนงั สือชื่อ Administrative Behavior in Education แต่ปรากฎวา่ ในบรรดาผเู้ ขียนจานวน 14 คน ที่เขียนเรื่องลงหนงั สือเลม่ น้ี ไดพ้ บวา่ หนงั สือเล่มน้ียงั ขาดทฤษฎีการบริหาร ทาใหเ้ กิดช่องวา่ งใหญ่โตใน ระหวา่ งความรู้เก่ียวกบั การวจิ ยั ดา้ นพฤติกรรมการบริหาร (ฮลั ปิ น,1968 : xii) 6
อิทธิพลลาดบั ที่สามที่มีต่อการบริหารการศึกษาของสหรัฐอเมริกา มีการก่อต้งั คณะกรรมการมหาวทิ ยาลยั ที่ดูลแลดา้ นการบริหารการศึกษา (The University Council for Educational Administration UCEA) ข้ึนในปี 1956 คณะกรรมการชุดน้ีไดร้ ่วมมือกบั Educational Testing Service and Teachers College ร่วมกนั สนบั สนุนส่งเสริมการวจิ ยั ในโครงการขนาดใหญ่ ท่ีมงุ่ ออกแบบเพอ่ื พฒั นามาตรการสาหรับการ ปฏิบตั ิงานของผบู้ ริหารโรงเรียน ในช่วงน้ีเอง ที่มีการเขียนหนงั สือดงั ๆ ออกมาหลายเล่ม ไดแ้ ก่ 1. The Use of Theory in Educational Administration แตง่ โดยโคลาดาร์ซี และ เกตเซล ในปี 1955 เนน้ บรู ณาการของ ทฤษฎีและการปฏิบตั ิ 2. Uneasy Profession แต่งโดยกรอส กล่าวถึงอาชีพนกั บริหารการศึกษาวา่ เป็ นอาชีพท่ีมิใช่ของง่าย ๆ เขาไดช้ ้ีใหเ้ ห็นวา่ จะตอ้ งมีทฤษฎีเขา้ มาเกี่ยวขอ้ งวา่ ผนู้ ิเทศการศึกษาจะตอ้ งปฏิบตั ิอยา่ งไร มิใช่วา่ “ควรจะปฏิบตั ิอยา่ งไร” 3. Studies in School Administration แตง่ โดยมวั ร์ ไดร้ ับการสนบั สนุนจากสมาคมผบู้ ริหารโรงเรียนอเมริกนั (American Association of School Administrators) มวั ร์ไดท้ บทวนเรื่องราวที่มีผเู้ ขียนบทความใหแ้ ก่ศูนย์ CPEA 9 ศนู ย์ แลว้ พบวา่ บทความเหล่าน้ีมีนอ้ นมากท่ีกล่าวถึงทฤษฎีการบริหารการศึกษา 4. Administration Behavior in Education แตง่ โดยแคมป์ เบลและเกร็ก ไดร้ ับเงินทนุ สนบั สนุนจาก NCPEA และก็ เช่นเดียวกนั กพ็ บวา่ งานเขียนส่วนใหญข่ าดการวิจยั ท่ีมงุ่ คน้ ควา้ ดา้ นทฤษฎี (ฮลั ปิ น, 1968 :3) 7
ลกั ษณะสาคญั ของทฤษฎีการบริหารการศึกษา 1. ทฤษฎีประกอบดว้ ยแนวคิด คติฐาน และขอ้ ยตุ ิทวั่ ไปอยา่ งมีเหตุผล 8 2. ทฤษฎีมุ่งอธิบายและคาดการณ์กฎต่าง ๆ ของพฤติกรรม อยา่ งมีระบบ 3. เป็นความเกี่ยวขอ้ งสมั พนั ธ์กนั ของวธิ ีการทดลองท่ีกระตนุ้ และน้ีนาใหม้ ีการพฒั นาหาความรู้ เพ่ิมเติมในเร่ือง น้นั ๆ ใหล้ ้าลึกยง่ิ ข้ึนในโอกาสต่อไป
ความสาคญั ของทฤษฎี 1. ทาหนา้ ที่ให้ขอ้ ยตุ ิทว่ั ไป (Generalization) 2. ก่อใหเ้ กิดการวจิ ยั ทางดา้ นบริหารการศึกษา มีการทดสอบความเป็ นไปไดข้ องทฤษฏี และเมื่อต้งั เป็ นทฤษฎีข้ึนมาได้ แลว้ กเ็ ป็นเครื่องช่วยช้ีนาในการปฏิบตั ิงาน หรือก่อให้เกิดการพฒั นางานใหม่ ๆ ข้ึนมา 3. การมีทฤษฎีบริหารการศึกษาข้ึนมาใช้ ช่วยอานวยความสะดวกใหแ้ ก่ผศู้ ึกษา ทาให้ไมจ่ าเป็ นจะตอ้ งไปจดจาขอ้ มลู หรือขอ้ ความต่าง ๆ มากมาย เพียงแตจ่ าหลกั การหรือทฤษฎีต่าง ๆ เหล่าน้นั ได้ ก็นบั วา่ เป็นการเพียงพอแลว้ **ดงั น้นั ผบู้ ริหารการศึกษาท้งั หลาย จะตอ้ งเป็นนกั ปฏิบตั ิที่สนใจปัญหาและเหตกุ ารณ์อยา่ งเฉพาเจาะจงท่ีเกิดข้ึนในองคก์ าร ตอ้ งตีความ วเิ คราะห์ ประยกุ ตเ์ อาหลกั การและทฤษฏีตา่ ง ๆ ทางการบริหารการศึกษา มาใชใ้ นการปฏิบตั ิ มงุ่ แกป้ ัญหาท่ีเกิดข้ึน โดยอาศยั หลกั การ และทฤษฎีบริหารการศึกษาท่ีไดม้ ีผศู้ ึกษาคน้ ควา้ เอาไวอ้ ยา่ งละเอียดรอบคอบแลว้ น้นั เป็นแนวทางในการ ดาเนินการ เพอ่ื ความถูกตอ้ ง และเหมาะสม 9
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งทฤษฎีกบั แนวปฏิบตั ิทางการบริหารการศึกษา การบริหารงานใด ๆ กต็ าม จาเป็นจะตอ้ งมีทฤษฎีเป็นพ้ืนฐาน การบริหารการศึกษากเ็ ช่นเดียวกนั หากนกั บริหารการศึกษาบริหารงานไป โดยมิไดใ้ ชท้ ฤษฎีเขา้ มาช่วยในการคิดและตดั สินใจ กห็ มายความวา่ เขา ดาเนินการไปโดยอาศยั ประสบการณ์ด้งั เดิม อาศยั สามญั สานึก ที่เรียกวา่ Common sense หรือท่ีเรียกวา่ ใชก้ ฎ แห่งนิ้วหวั แม่มือ (Rule of Thumb) ลองเดา ๆ ดู วา่ หากทาอยา่ งน้ีแลว้ ผลจะออกมาเป็นอยา่ งไร หากถกู ตอ้ งก็ ดีไป หากผิด ก็ถือวา่ ผดิ เป็นครู แลว้ ลองทาใหม่ โดยไม่ยอมทาผดิ ซ้าในลกั ษณะเดิมอีก เป็นตน้ น่ีเป็นการลอง ผดิ ลองถกู (Trial and Error) นน่ั เอง การคิดและแกไ้ ขปัญหาดว้ ยสามญั สานึกเช่นน้ี เป็นการกระทาอยา่ งไม่มี หลกั การ เป็นการมองในแง่มมุ แคบ ๆ หรือผกู ติดอยกู่ บั แนวทางใดแนวทางหน่ึงแต่เพียงอยา่ งเดียว อาจจะทา ใหต้ ดั สินใจผิดพลาดไดโ้ ดยง่าย ในทางตรงกนั ขา้ ม หากผบู้ ริหารการศึกษาบริหารงานโดยอาศยั หลกั การและทฤษฎีการบริหาร (การบริหาร การศึกษา) เป็นหลกั หรือเป็นพ้ืนฐานในการคิด พิจารณาและตดั สินใจแลว้ กจ็ ะทาใหส้ ามารถบริหารงานได้ อยา่ งมีทิศทางท่ีตรงแน่วไปในทางใดทางหน่ึงท่ีพึงประสงค์ ไมส่ ะเปะสะปะ เมื่อจะตดั สินใจ ก็มีหลกั การ และทฤษฎีเขา้ มาสนบั สนุน วา่ สิ่งท่ีจะตดั สินใจกระทาลงไปน้นั ไดเ้ คยมีผปู้ ฏิบตั ิและกระทาซ้า ๆ ในลกั ษณะ เดียวกนั น้นั มาแลว้ มากมาย และเขากท็ าไดถ้ ูกตอ้ งและเป็นผลดีดว้ ยกนั ท้งั สิ้น ดงั น้นั เมื่อเราปฏิบตั ิ หรือ ตดั สินใจในลกั ษณะอยา่ งเดียวกนั น้นั บา้ ง กน็ ่าจะไดร้ ับผลดีหรือทาไดถ้ ูกตอ้ งเช่นเดียวกนั 10
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งทฤษฎีกบั การปฏิบตั ิ การบริหารงานน้นั เป็ นท้งั ศาสตร์และศิลป์ ดงั ไดเ้ คยกล่าวไวแ้ ลว้ ดงั น้นั นกั บริหารการศึกษาจะตอ้ งบริหารงานในภารกิจ หนา้ ที่ท่ีตนกระทาอยู่ อยา่ งชาญฉลาด มีความแนบเนียนในการปฏิบตั ิ ใหง้ านน้นั ดาเนินไปไดโ้ ดยราบร่ืน สามารถขจดั ปัด เป่ าอปุ สรรคท้งั หลายที่เกิดข้ึนได้ เม่ือมีปัญหา กส็ ามารถแกไ้ ขให้ลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดีเสมอ ทฤษฎกี บั การปฏบิ ตั นิ ้นั มคี วามเกย่ี วข้องสัมพนั ธ์กนั ใน 3 ลกั ษณะ ดงั ต่อไปนี้ 1. ทฤษฎวี างกรอบความคดิ แก่ผ้ปู ฏิบตั ิ ทฤษฎีช่วยให้ผปู้ ฏิบตั ิมีเครื่องมือใชใ้ นการวเิ คราะห์ปัญหาท่ีประสบ นกั บริหารการศึกษาที่มีความสามารถน้นั จะตอ้ งมี ความสามารถสูงในการใชค้ วามคิด (Conceptual Skill) โดยรู้จกั ตีความ และนาเอาทฤษฎีการบริหารการศึกษามาประยกุ ตใ์ ช้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ ภายใตส้ ถานการณ์และสิ่งแวดลอ้ มที่มีขีดจากดั และมีทรัพยากรต่าง ๆ ไมว่ า่ จะเป็นดา้ นเวลา กาลงั คน หรือทรัพยส์ ิน เงินทอง อยา่ งจากดั ดว้ ยเช่นกนั 2. การนาเอาทฤษฏีมาใช้ ช่วยให้แนวทางวเิ คราะห์ผลที่เกดิ ขนึ้ จากการปฏิบตั ิ การท่ีผบู้ ริหารนาทางเลือกตา่ ง ๆ มาพิจารณา และตดั สินใจดาเนินการลงไป โดยอาศยั ทฤษฎีการบริหารมาประยกุ ตใ์ ช้ เพือ่ ประกอบเป็นเหตุผลในการตดั สินใจวินิจฉยั สง่ั การ อนั เนื่องมาจากความมีประสบการณ์สูงของนกั บริหารการศึกษาเทา่ น้นั 3. ทฤษฏีช่วยในการตดั สินใจ ทฤษฎีช่วยให้ขอ้ มลู พ้ืนฐานแก่การตดั สินใจ การตดั สินใจที่ดีน้นั จะตอ้ งประกอบไปดว้ ยกรอบความคิดที่แน่นอนชดั เจน หาก ปราศจากกรอบความคิดเสียแลว้ การตดั สินใจกอ็ าจจะไมถ่ ูกตอ้ ง ไม่บงั เกิดผลดี ขอ้ มูลต่าง ๆ ท่ีไดร้ ับมาขอ้ มูลน้นั บางคร้ังอาจไม่ ชดั เจน ตอ้ งมีการตีความเสียก่อน การมีพ้นื ฐานของทฤษฏีท่ีดีจะช่วยให้นกั บริหารการศึกษาสามารถตดั สินใจไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว1ม1ีควา มน่ั ใจในการตดั สินใจน้นั และผลลพั ธท์ ี่ไดร้ ับน้นั มกั จะถูกตอ้ ง และบงั เกิดผลดีตอ่ องคก์ ารเสมอ
ทฤษฎีหนา้ ต่างดวงใจ (Johari Window) โจเซฟ ลฟุ ท์ (Joseph Luft) และ แฮร่ี อิงแฮม(Harry Ingham) ท้งั สองคนเป็นนกั จิตวทิ ยาชาวอเมริกนั 12 เป็นผคู้ ิดทฤษฎีหนา้ ต่างโจฮารี (The Johari Window Theory) ข้ึนในปี พ.ศ.2498 เป็นทฤษฎีท่ีมงุ่ อธิบายถึงสมั พนั ธภาพระหวา่ งบุคคล ดว้ ยการเขา้ ถึงพฤติกรรมและอารมณ์ของตนเองและผอู้ ื่น ที่ใชช้ ื่อวา่ Johari Window เพราะตวั แบบท่ีใชม้ ีลกั ษณ์คลา้ ยกบั บานหนา้ ตา่ ง ซ่ึงตรงกบั ภาษาองั กฤษ วา่ window ส่วน Johari มาจากคาวา่ Joseph และ Harry ซ่ึงเป็นช่ือตน้ ของเจา้ ของทฤษฎี ซ่ึงฟังแลว้ สอดคลอ้ งกวา่ การใช้ Joe-Harry
ทฤษฎีหนา้ ต่างดวงใจโจฮารี แบ่งหนา้ ต่างออกเป็น 4 ส่วน คือ 1. ตนท่ีเปิ ดเผย (The Open Self) เป็นตนที่ตวั เองรู้และคนอื่นรู้ เป็ นขอ้ มูลขา่ วสารท่ีตนเปิ ดเผย ซ่ึงแต่ละบุคคลจะเปิ ดเผย ตนโดยผนั แปรไปตามเวลาและบุคคลท่ีเกี่ยวขอ้ ง บางเวลาอาจจะเปิ ดเผยตนมากกวา่ อีกเวลาหน่ึง แตถ่ า้ เปิ ดเผยตนแลว้ ไดร้ ับความเจบ็ ปวด บคุ คลจะปิ ดมากกวา่ ปกติ ในทานองเดียวกนั ถา้ ตนมีความรู้สึกสบายและไดร้ ับการยอมรับ จะมีการ เปิ ดเผยตนมากข้ึน ขนาดของตนที่เปิ ดเผยจะมีความสมั พนั ธ์กบั ความใกลช้ ิดของบุคคล และความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล อยา่ งไรกด็ ี คนส่วนมากจะเปิ ดเผยตนกบั บางคน ในบางเร่ือง และ บางโอกาสเท่าน้นั 2. ตนทบ่ี อด(The Blind Self) เป็นตนที่ตวั เองไมร่ ู้แตค่ นอ่ืนรู้ คนบางคนมีตนท่ีบอดน้ีใหญจ่ นไม่เห็นความผิดพลาดของ ตวั เอง และบางคร้ังคิดวา่ เป็นความดีดว้ ยซา้้ไป วธิ ีเดียวท่ีจะลดขนาดของตนที่บอดกด็ ว้ ยการแสวงหาขอ้ มูลในส่วนที่คน อ่ืนมี แต่เราไม่มี แมว้ า่ ขนาดของส่วนที่บอดจะลดลง ก็ไมไ่ ดห้ มายความวา่ ตนจะเห็นในส่วนน้ี เท่าๆกบั คนอื่น การบงั คบั ให้ตนและบุคคลอ่ืนรู้เท่าๆกนั จะทาใหเ้ กิดความเจบ็ ปวด เพราะเกิดการลงโทษตวั เอง เกิดความอิจฉาริษยา และต้งั ขอ้ รังเกียจ หากไมม่ ีความพร้อมทางจิตใจ 3. ตนท่ีซ่อนเร้น (The Hidden Self) เป็นตนท่ีตวั เองรู้แตค่ นอ่ืนไม่รู้ เป็นส่วนท่ีตนเก็บไวเ้ ป็นความลบั สุดโด่งของตนที่ ซ่อนเร้น คือปิ ดมากเกินไป จะไม่บอกอะไรเลย คือ มีความรู้เกี่ยวกบั ตนมาก แต่ปฏิเสธท่ีจะพดู ออกมาให้คนอื่นรู้ 4.ตนทไี่ ม่รู้(The unknown Self) เป็นส่วนที่ตนเองและคนอื่นไมร่ ู้ คือไมร่ ู้วา่ มีลกั ษณะน้นั ๆอยใู่ นตน เป็นลกั ษณะท่ี ปรากฎอยภู่ ายใน ซ่ึงอาจจะเป็ นความคิด ความเชื่อฯลฯ แตส่ ามารถรู้ไดจ้ ากการใชย้ า การสะกดจิต การทด และการฝัน 13
สรุป **ทฤษฎีหนา้ ต่างดวงใจ (Johari Window) อยา่ งไรกต็ าม ส่วนของตนท้งั 4 ส่วน ของแตล่ ะคน อาจจะไม่เท่ากนั ก็ได้ บางคนอาจมีส่วนท่ีไม่รู้กวา้ ง แตบ่ างคนอาจจะมี ส่วนท่ีซ่อนเร้นกวา้ ง ฯลฯ ซ่ึงมีผลทาให้เกิดความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล วา่ บุคคลน้นั มีพฤติกรรมอยา่ งไร เขา้ กบั คนอื่นได้ ดีเพยี งไร เช่น ถา้ เป็นบคุ คลท่ีมีส่วนท่ีตนไมร่ ู้กวา้ ง แสดงวา่ ถึงการเป็นคนที่ไม่เขา้ ใจตนเอง และคนอ่ืนกไ็ ม่สามารถให้ ขอ้ มลู ป้อนกลบั ได้ หรือถา้ มีส่วนท่ีเปิ ดเผยตนกวา้ ง แสดงวา่ เป็นคนที่รู้จกั ตนเองและเป็นที่รู้จกั ของคนอื่น ทาใหส้ ร้าง ความสมั พนั ธก์ บั คนอื่นไดด้ ี ในเร่ืองท่ีเก่ียวกบั ความสมั พนั ธก์ บั ผอู้ ื่นหรือการสื่อสาร การจะมีประสิทธิภาพหรือมีความสมั พนั ธ์ที่ดีเพียงใด ข้ึนอยกู่ บั สดั ส่วนของการเปิ ดเผยตน ถา้ เราไมอ่ นุญาตใหผ้ อู้ ่ืนรู้จกั เรา การส่ือสารจะเป็นไปดว้ ยความยากที่สุด ในทางตรงกนั ขา้ ม การสื่อสารจะเตม็ ไปดว้ ยความหมาย ถา้ บุคคลท้งั สองรู้จกั การเปิ ดเผยตนซ่ึงกนั และกนั ดงั น้นั เพ่ือเป็ นการปรับปรุงการสื่อสาร หรือการสร้างความสมั พนั ธใ์ หด้ ีข้ึน บุคคลจะตอ้ งเริ่มดว้ ยการเปิ ดเผยตนของตน การเปิ ดเผยตน หมายถึง การเปิ ดเผยขอ้ มลู ในส่วนท่ีซ่อนเร้นไปยงั ส่วนท่ีเปิ ดเผย เป็ นการส่งขา่ วสารขอ้ มลู เก่ียวกบั ตนเอง ไปยงั ผอู้ ื่น เป็นการเปิ ดเผยขอ้ มูลท่ีมีความหมายบางอยา่ งที่ผรู้ ับไมร่ ับรู้มาก่อน เป็นความรู้ใหม่ ทาใหผ้ รู้ ับเกิดความเขา้ ใจ การเปิ ดเผยตนกบั คนอ่ืน ทาใหเ้ ราไดภ้ าพใหมเ่ ก่ียวกบั ตวั เรา และมีความเขา้ ใจพฤติกรรมของตนไดล้ ึกซ้ึงกวา่ เดิม มี ประโยชนใ์ นการปรับปรุงการสื่อสารใหม้ ีประสิทธิภาพมากข้ึน และเป็นเง่ือนไขที่จาเป็นตอ่ การรู้จกั ผอู้ ื่น นนั่ คือ ถา้ ปราศจากการเปิ ดเผยตน ความสมั พนั ธ์ท่ีมีความหมายจะเกิดข้ึนไมไ่ ด้ 14
การบริหารโดยยดึ วตั ถปุ ระสงค์ (Management by Objective : MBO) การบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค์ (MBO) น้นั เทคนิคการบริหารงานแบบหน่ึงท่ีไดร้ ับความนิยมแพร่หลายมาก ถูกสร้างข้ึนมา โดยชอบนกั วชิ าการคนหน่ึงช่ือ Peter F. Drucker ซ่ึงไดน้ าเสนอแนวคิดเร่ืองน้ีเป็นคนแรก ที่สหรัฐอเมริกาเม่ือ ค.ศ. 1974 ในหนงั สือของเขาช่ือ The Practice of Management Drucker ซ่ึงช้ีให้เห็นวา่ ทุกองคก์ ารตอ้ งมีเป้าหมาย เพ่ือนาทางบุคคลที่ บริหารงานองคก์ าร ประสานเป้าหมายของพวกเขาเขา้ กบั เป้าหมายขององคก์ ารและส่งเสริมการทางานเป็นทีมช้ีให้เห็นความ จาเป็นของการกาหนดเป้าหมายท่ีชดั เจน เพ่ือนาองคก์ ารไปสู่ความสาเร็จที่แทจ้ ริงการบริหารแบบน้ีมีเรียกกนั หลายช่ือ เช่น Management by Results (MOR) ในส่วนภาษาไทยท่ีเรียกชื่อการบริหารในลกั ษณะน้ีที่คลา้ ย ๆ กนั เช่น การบริหารงานโดยมี วตั ถุประสงคก์ ารบริหารงานโดยกาหนดวตั ถุประสงคห์ รือการบริหารงานตามวตั ถุประสงค์ 15
แนวคิดเกี่ยวกบั การบริหารโดยยดึ วตั ถปุ ระสงค(์ MBO) แนวความคิดของการบริหารโดยยึดวตั ถุประสงค์ (MBO) มีคุณลกั ษณะพเิ ศษหลายอยา่ ง เช่น เนน้ สิ่งที่ตอ้ งกระทาแทนท่ีจะเป็น กระทาอยา่ งไร บคุ คลมีความสาคญั กวา่ วธิ ีการ และการมอบหมาย อานาจหนา้ ท่ีดีกวา่ การควบคุม บุคคลถูกคาดหวงั ใหค้ วบคุมตนเอง พวกเขาถูกสนบั สนุนใหม้ ีส่วนร่วม อยา่ งจริงจงั ในทิศทางขององคก์ าร ตามทศั นะของเสนาะ ติเยาว์ (2542 : 36) การบริหารโดยยึด วตั ถุประสงคห์ รือเรียกยอ่ ๆ วา่ MBO เป็นกระบวนการร่วมกนั กาหนดวตั ถุประสงคแ์ ละการควบคุมระหวา่ งผบู้ งั คบั บญั ชากบั ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาซ่ึงเป็นการเชื่อมหนา้ ที่ทางการบริหารระหวา่ งการวางแผนและการควบคมุ เขา้ ดว้ ยกนั ซ่ึงมีแนวคิดสาคญั 4 อยา่ ง คือ 1. ผบู้ งั คบั บญั ชากบั ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาตกลงร่วมกนั กาหนดวตั ถปุ ระสงคห์ รือเป้าหมาย ในการทางานของผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาแตล่ ะคนวา่ จะทางานใหไ้ ดผ้ ลตามเป้าหมายเท่าไรภายในระยะเวลาท่ี กาหนด 2. ผบู้ งั คบั บญั ชากบั ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาตกลงร่วมกนั วางแผนงานโดยผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาจะทางานใหส้ าเร็จไดโ้ ดยวธิ ีการของแต่ละคน 3. ผบู้ งั คบั บญั ชากบั ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาตกลงร่วมกนั ในการกาหนดมาตรฐานท่ีใชว้ ดั ผล การปฏิบตั ิงานของผูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชา 4. ผบู้ งั คบั บญั ชากบั ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาตกลงร่วมกนั ในการวดั ผลงานท่ีเกิดข้ึนจริง ทบทวนแกไ้ ขผลการปฏิบตั ิงานและกระบวนการการ บริหารโดยยึดวตั ถุประสงค์ (MBO) ใหม่ จากท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ จะเห็นวา่ กระบวนการบริหารโดยยึดวตั ถุประสงค์ (MBO) ผบู้ งั คบั บญั ชา ร่วมกบั ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาทาหนา้ ที่ วางแผนและการควบคุม ส่วนในการดาเนินงานผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชามีอิสระ ที่จะเลือกวิธีทางานของตวั เอง ผบู้ งั คบั บญั ชามีหนา้ ท่ีสนบั สนุน และช่วยแกป้ ัญหาการทางานท่ีอาจ เกิดข้ึน 16
ความหมายของการบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค์ (MBO) การบริหารตามวตั ถุประสงค์ จะตอ้ งมีการก าหนดเป้าหมายของ งานไวล้ ่วงหนา้ โดยความร่วมมือของผบู้ ริหารทุกระดบั ในองคก์ าร มีการมอบหมายงานใหบ้ ุคลากรปฏิบตั ิ ม่งุ เนน้ ท่ีวตั ถุประสงคแ์ ละผลงานที่จะทาใหส้ าเร็จซ่ึงมีกลไกควบคุม การตรวจสอบ การปฏิบตั ิงานให้ เป็นไปตามเป้าหมาย ดงั น้นั การบริหารแบบน้ีจึงจาเป็นตอ้ งให้ความสาคญั แก่ ผปู้ ฏิบตั ิงานทุกระดบั ใหท้ กุ คนร่วมมือกนั ทางานดว้ ยความเตม็ ใจท้งั จะไดผ้ ลผลิตออกมาอยา่ งมีประสิทธิภาพ ซ่ึงเห็น สอดคลอ้ ง กบั Peter F. Drucker กล่าววา่ การบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค(์ MBO) คือ หลกั ของการบริหารที่จะจดั ให้แต่ละ บุคคลไดท้ างานและมีความรับผดิ ชอบอยา่ งเตม็ ท่ี มีทิศทางในการทางานร่วมกนั ที่ชดั เจนและ แน่นอน นน่ั กห็ มายความวา่ ทุกคนมีหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบตามสายงานของตนเองและตอ้ งประสานการทางาน ร่วมกนั ในลกั ษณะการทางานเป็นทีม เพอ่ื ให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลตอ่ ไป 17
กระบวนการบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค(์ MBO) การบริหารตามวตั ถุประสงคท์ ี่จะนาไปใชใ้ นองคก์ ารน้นั อาจทาได้ 2 ลกั ษณะ คือ ทาเป็น โครงการก่ึงเตม็ รูป โดยนาการ บริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค์ (MBO) มาใชเ้ ฉพาะการบริหารส่วนใดส่วนหน่ึง ขององคก์ ารก่อน และโครงการเตม็ รูป เป็น การนาการบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค์ (MBO) มาใชป้ รับปรุง การในช่วงระยะเวลาหน่ึง ซ่ึงอาจจะเป็นระยะเวลา 3-5 ปี จึงจะสมบูรณ์แบบ กระบวนการหรือข้นั ตอนในการบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค์ (MBO) งานมี 4 ข้นั ตอนท่ี สาคญั ดงั น้ี (ยาเบน็ เรืองจรูญศรี, 2552 : 114) 1. การให้ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาเสนอวตั ถุประสงคท์ ี่ต้งั เป้าหมายของผลงานข้ึนมา 2. การพจิ ารณากาหนดวตั ถุประสงคร์ ่วมกนั ระหวา่ งผบู้ งั คบั บญั ชาและผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา 3. การติดตามและทบทวนเป้าหมายเป็ นคร้ังคราว 4. การประเมินผลเม่ือสิ้นสุดระยะเวลา 18
องคป์ ระกอบที่สาคญั บางประการของการบริหารโดยยดึ วตั ถปุ ระสงค(์ MBO) การนาแนวคิดเกี่ยวกบั การบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค์ (MBO) ไปใชใ้ นการบริหารงานใหม้ ี ประสิทธิภาพน้นั ข้ึนอยกู่ บั องคป์ ระกอบและ เง่ือนไขท่ีสาคญั บางประการ (โชติ บดีรัฐ, 2558 : 225) ดงั น้ี 1. การกาหนดวตั ถุประสงคก์ บั การวางแผน เพือ่ ใหไ้ ดม้ าซ่ึงวตั ถุประสงคน์ ้นั จะตอ้ งดาเนินการควบคูก่ นั ไป นอกจากน้นั วตั ถุประสงคข์ อง แต่ละฝ่ายในองคก์ ารจะตอ้ งสอดคลอ้ งกนั ดว้ ย 2.ความรู้ความสามารถของผบู้ ริหาร ผบู้ ริหารระดบั ต่าง ๆ ควรมีทศั นคติและความรู้ ความสามารถดา้ นการบริหารอยา่ งกวา้ งขวางเพื่อ นาไปใชว้ เิ คราะห์ วางแผน และกาหนดเป้าหมายในการทางานอนั จะเป็นเครื่องมือสาคญั ท่ีทาใหก้ ารนาการบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค์ (MBO) ไปใชใ้ นองคก์ ารบรรลุผล 3. การจดั ใหส้ มาชิกของกลุ่มปฏิบตั ิงานในองคก์ ารไดเ้ ขา้ มามีส่วนร่วมในการบริหารงาน โดยเนน้ การทางานเป็นทีม การให้สมาชิกทกุ คน มีส่วนร่วมในการทางานหรือการบริหารงานมีความสาคญั ดงั น้ี 3.1 กลุ่มทางานที่ตนเขา้ ไปมีส่วนร่วมในการบริหารดว้ ยจะทางานมีประสิทธิภาพสูง กวา่ กลุ่มท่ีทางานตามคาสง่ั 3.2 การมีส่วนร่วมในการตดั สินใจหรือการใหบ้ ริการ จะมีส่วนสมั พนั ธ์กบั ผลผลิตท่ี ไดร้ ับ 3.3 การมีส่วนร่วมท าใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิงานยอมรับการวนิ ิจฉยั สงั่ การบา้ นจะมีผลตอ่ การทางานร่วมกนั 3.4 การที่ผปู้ ฏิบตั ิงานมีความพอใจในการทางาน จะผลกั ดนั ให้เกิดความตอ้ งการที่จะเขา้ ไปในส่วนร่วมในการทางานมากข้ึน 4. การจดั ให้มีระบบขอ้ มลู ยอ้ นกลบั เก่ียวกบั การปฏิบตั ิงาน หรือเปิ ดโอกาสให้รู้ถึงผลงานท่ีกระทาไปแลว้ เป็นองคป์ ระกอบสาคญั ประการ หน่ึงในการบริหารงานตามวตั ถุประสงคท์ ้งั น้ีดว้ ยเหตุผล 2 ประการ คือ 4.1 เป็นเครื่องมือสาหรับผบู้ ริหารที่จะตรวจสอบวา่ ผลงานน้นั เป็นไปตามวตั ถุประสงค์ ท่ีกาหนดไวห้ รือไม่ 19 4.2 เป็นเคร่ืองมือสาหรับผบู้ ริหารที่จะแกไ้ ขอปุ สรรคหรือปัญหาที่เกิดข้ึนไดท้ นั ท่วงที
ประโยชน์ของการบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค์ (MBO) จากการสารวจเก่ียวกบั ประสบการณ์ของผบู้ ริหารในเร่ืองการบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค์ พบวา่ มีจุดเด่นหรือประโยชน์ที่ สาคญั ดงั น้ี 1. ช่วยใหม้ ีการกาหนดวธิ ีการวดั ที่แน่นอนวา่ บคุ ลากรในองคก์ ารไดส้ ร้างสรรคป์ ระโยชน์ ให้กบั องคก์ ารและมากนอ้ ย เพยี งใด 2. ก่อให้เกิดการประสานงานในกลุ่มผปู้ ฏิบตั ิงาน เน่ืองจากมีการกาาหนดเป้าหมายและ มาตรฐานในการวดั ผลงาน ร่วมกนั 3. เป็ นเครื่องมือช่วยแกไ้ ขปัญหาสาคญั ในหน่วยงานเก่ียวกบั การกาหนดขอบเขตความ รับผิดชอบของสมาชิกแตล่ ะคนใน 20 กลุ่มขององคก์ าร
อา้ งอิง ความหมายของทฤษฎีการบริหาร https://www.gotoknow.org/posts/521119 ทฤษฎีการบริหารสมยั ใหม่ https://th.hrnote.asia/orgdevelopment/190419-management-concept ทฤษฎีหนา้ ต่างหวั ใจ http://paisarnkr.blogspot.com/2018/08/blog-post_13.html ทฤษฎีการบริหารโดยยดึ วตั ถปุ ระสงค์ (Management by Objective : MBO) https://dspace.bru.ac.th/xmlui/bitstream/handle 21
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: