Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บรรทัดเหล็ก

บรรทัดเหล็ก

Published by bosstongten_999, 2017-07-03 03:28:50

Description: บรรทัดเหล็ก

Keywords: บรรทัดเหล็ก

Search

Read the Text Version

1 เครอ่ื งมอื วัดพนื้ ฐาน เครือ่ งมอื วัดทนี่ ิยมใชก ันทว่ั ๆ ไปในงานชา งอตุ สาหกรรมไดแกบ รรทัด ตลับเมตร ฉาก เกจว ดัตาง ๆบรรทัดแบงคาวัดออกเปน 2 ระบบ คือ น้ิว กับเซนตเิ มตร คาความละเอยี ดของเซนติเมตร แบง ออกเปน 1/10 ซม. (1 มลิ ลเิ มตร) หนงึ่ เซนตเิ มตรแบงออกเปน 10 สวนเทา ๆ กันเเตละสว นเรยี กวา 1 มิลลเิ มตรปกติบรรทัดยาว 30 ซม. ซง่ึ แบง เปน เซนตเิ มตรและมลิ ลิเมตร บางชนดิ ไดเ เบง ขีดยอยของมลิ ลิเมตรออกเปน คร่งึ มลิ ลิเมตร (0.5 มม.)บรรทดั (STEEL RULE) มปี ระโยชนในการขดี เสน ตรง และวดั ความยาว มคี า วดั คอ นขางละเอียดปจจุบันบรรทดั ทํามาจาก STAINLESS STEELคาความละเอยี ดของนิ้ว แบง ออกเปน 1, 1/2,1/4, 1/8,1/16, 1/32 และ 1/64 น้วิ บรรทัดจะมีความยาว12 นว้ิ หรือ 30 เซนตเิ มตรทใ่ี ชในงานฝกฝม อืคา สเกลนิ้ว และ มลิ ลเิ มตร สามารถเทียบคากนั ได1 นว้ิ เทา กบั 25.4 มิลลิเมตร1. วิธีวดั ดว ยบรรทดั เหลก็ ใชป ลายบรรทัดยนั บางาน2. ใชฉ ากทาบบงั คับปลายบรรทดั ซึ่งทาํ ใหข ีดศูนยข องบรรทัดอยูตรงขอบของชน้ิ งานพอดี

23. ใชห ัวแมมือยนั กับขอบชนิ้ งาน4. การอานคาวสั ดุของบรรทดั จะตองมอง ใหสายตาตรงกับขีดทตี่ องการจริง ๆ จงึ จะไดคา วัสดทุ ี่เทย่ี งตรง5. ระวงั คาวสั ดทุ ่ีอานไดจ ะผดิ พลาดจากการมอง6. สารวัดใหข ดี สเกลข องบรรทดั วด ใหตรงกบั ขอบงานจรงิ ๆ และมองใหอยใู นระดับสายตา7. เม่อื มองลงมาจะตองมองใหส ายตาอยูในแนวตง้ั ฉากกบั คาสเกลจริง ๆ จึงจะอา นคา สเกลไดเ ทย่ี งตรง

38. การตรวจสอบความเรยี บของผิวงานดว ยบรรทดั ทม่ี ีขอบตรงควรยกช้นิ งานสองดูกบั แสงโดยใหขอบบรรทัดตามความยาวทาบทะแยงหลาย ๆ ตําแหนงดังในภาพ ในขณะเดียวกันดานแบนของบรรทัด ตองตัง้ ไดฉ ากกับผวิ งาน การมองเพอื่ ตรวจสอบ ความเรยี บของผวิ งาน ตอ งมองลอดใตข อบของบรรทดั วิธกี ารจับงาน และ การจับบรรทดั วัดงานซง่ึ บรรทัดจะตอ งต้ังฉากกับงาน ขอบของบรรทดั จะแตะกบั ผิวงานการท่ีวัดงานใหตรงกับขดี สเกลท่เี ลข 1 น้นั โดยเร่มิ อา นคา ท่ีเลข 1 เปน หลกั เพอ่ื ท่ีจะใหไดค าทแี่ นน อนเพราะปลายบรรทัดทีใ่ ชว ัดคา อาจสกึ หรอหรอื ชํารุดมากอน การมองอา นคา ของสเกล จะตอ งมองใหตรงกบั ขอบงานจรงิ ๆ โดยการใชสายตาเล็งใหด ี การใชบรรทัดท่ปี ลายซึ่งใชว ดั สึกหรือการอานคา สเกลเมอ่ื เร่มิ ตน ท่ีเลข 1 คาทอ่ี า นไดจ ากบรรทดัตอ งหกั ออกจากคา ท่เี รมิ่ ตน เชนเรมิ่ ตนการวดั ทีเ่ ลข 1 คอื 10 มม.เลขท่ีอา นไดด า นขวามอื สุดคอื 60 - 10 = 50 มม.

4 การวัดขนาดงานเพอื่ ขดี เสนเมือ่ วดั ขนาดงานโดยไชเ สนบรรทัดเทยี บขนาดขดี เสน ดวยเหลก็ ขดีเปน ระยะหา งกนั พอควรดวยเสนส้นั ๆ 2 เสน แลว กลับบรรทดั เอาดานขอบแบนตามความยาว ขดี แนวยาวตามตองการ แสดงใหเ หน็ ถงึ การสัมผสั ระหวางปลายเหล็กขดี กบั ขอบบรรทัดทจ่ี ะทาํ ใหก ารขีดเสน ไดข นาดตามตองการ การใชเหลก็ ขดี ขดี เสน กบั บรรทัด เหลก็ ขดี จะเอยี งทํามมุ กบั บรรทัดประมาณ 12 - 15 องศา และเอียงทาํ มมุ กับเสนทข่ี ดี บนชน้ิ งานประมาณพ 30 - 45 องศา

5 วิธกี ารเก็บบรรทดั หลงั จากเลกิ ใชง านสําหรบั บรรทัดท่ีมีรสู าํ หรบั แขวน ควรมีตะขอรอยแขวนไวไมเกบ็ รวมกับเครื่องมอื อ่ืน ๆ เพอ่ื ปอ งกนั การชํารดุ เสยี หายขอ ควรระวังในการใชบรรทดั - การวดั ขนาดช้ินงานแนวของบรรทดั และงานจะตอ งไดแ นวเดยี วกัน - การอา นสเกลในการวดั ช้ินงานดวยบรรทดั ตอ งมองขอบงานใหตรงขดี สเกล - การใชบ รรทดั ตรวจความเรยี บผิว ขอบบรรทัดท่ใี ชต รวจตอ งเรียบแนวตรง และตอ งตรวจผิวทแยงหลายๆตาํ แหนง - การขีดเสนตามขอบบรรทดั ตองเอยี งเหลก็ ขดี ทาํ มมุ กบั ขอบบรรทดั และความยาวของเสน ทข่ี ีด - อยา ใชบ รรทดั แทนเคร่ืองมอื อืน่ ๆ เชน คอ น ไขควง เหล็กขดี - ขณะใชงานควรระวังไมใหบ รรทดั กระทบกระแทกเครอ่ื งมืออน่ื หรือตกลงพน้ื - หลงั จากใชง านแลว ควรแขวนหรือแยกเกบ็ บรรทัดเหล็กไมควรเกบ็ รวมกบั เคร่ืองมอื อ่ืนๆ

6 ฉาก(SOLID SQUARE) เปนเครื่องมือสําหรับวัดมุมฉากหรือลากเสนฉากตาง ๆ หรือจะใชตรวจสอบความเรียบของผิวฉากเปนเครื่องมือวัดท่ีมีคุณภาพสูง มักทําจากเหล็กเครืองมือที่ผาน การชุบผิวแข็ง เจ็ยระไนผิวเรียบหรือขัดผิว ทาํ ใหผิวของฉากเรยี บ ใชว ัดงานไดอ ยา งมีประสทิ ลิภาพ มีความเทีย่ งตรงสงู ทนทานตอการสึกหรอ ฉากประกอบดวย 2 สว น คือ 1. ใบฉาก (BLADE) เปน สว นแบนมีลักษณะคลา ยบรรทดั ทําจากเหลก็ ชุบผิวแข็งผา นการเจียระไนผวิ เรียบหรอื ขัดผิวเรยี บ ขอบในเรยี บตรง และขนานกันตลอด 2. ฐานฉาก (STOCK) เปนสว นฐาน หรอื ดามของฉากมีความหนามากกวาใบฉาก ลักษณะเปนแทงขนานผวิ เรียบประกอบติดกับใบฉาก (BLADE) ทาํ มุม90 ดังภาพ ลักษณะของฉากมี 3 แบบใหญ ๆแบบแรก ใบฉากปรบั ไมได ยืดตดิ ตายตวั กบั ฐานฉากเเบบท่ีสอง ใบฉากมรี องเลอื่ นอยใู นรอยผาของฐานฉากและมสี กรยู ดึ ใบฉากใหแ นน ในตําแหนง ท่ีเลอื่ นไปมาอยูบ นรอ ง (ตามภาพลกู ศร)แบบทึส่ าม เปนฉากทใ่ี บฉากปรับไมได และเปนชิ้นเดยี วกนั กับฐานฉาก เรียกฉากชนดิ นวี้ า“ ฉากแบน”

7 วธิ ใี ชฉากวดั และตรวจสอบงาน ในลกั ษณะตา ง ๆ1. เปน ลกั ษณะการจับฉากตดิ ขอบงานแลว ขีดเสน2. เปน การตรวจสอบชิน้ งานไดฉาก หรอื ไมชอบทต่ี รวจจะตองเรียบ ยกสอ งดูกบั แสงกรณีทง่ี านขนาดเลก็3. งานขนาดใหญไ มสามารถยกใหว างฉากกับผวิ ทีต่ องการวัด ใบฉากตอ งไดม ุม 90 ดังภาพดว ย4. เปน วธิ ตี รวจสอบฉากวา ไดมาตรฐานหรอื ไม วธิ ตี รวจผิวเรียบของงาน พรอ ม ๆ กับงานไดฉ ากหรือไม โดยการสังเกตดแู สงท่ลี อดออกมาใตใบฉากเล็กนอย เมือ่ วางฉากบนผิวงานทีจ่ ะตรวจแลว ตอ งกดใบฉากใหแ นบสนทิ กบั ผวิ งาน เปนการตรวจสอบมุมฉากดานนอก

8 ลกั ษณะการจบั ฉากตรวจสอบมมุ ภายใน หรอื ใชต รวจสอบงานขนาดใหญไ มส ามารถยกงานข้ึนตรวจสอบดูได การตรวจสอบผิวของงานทรงกระบอกภายนอกวา ไดฉากกับหัวทา ยหรอื ไม สามารถตรวจสอบไดโดยวางฉากและทรงกระบอกบนแทน ระดับ( SURFACE PLATE) การใชฉ ากจับบนผิวงานแลวใชเหลก็ ขดี ขีดเสน ตามตองการ การใชงานของฉากแบน สามารถใชวดั ความเรียบของผิวงานเเละวดั ความฉากของชนิ้ งาน ตลอดแทง ของช้ินงาน การวดั ใหว ดั เปนจดุ ๆ หา มลากฉากบนผวิ ชิ้นงาน ใชวิธยี กเคล่ือนที่ วางลงบนผิวชิ้นงานเพ่ือวัดในจดุ ใหม

ฟส ิกส 1(ภาคกลศาสตร( หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส ฟส กิ ส 1 (ความรอ น)ฟสกิ ส 2 กลศาสตรเ วกเตอรโลหะวทิ ยาฟสิกส การทดลองเสมอื นฟสิกส 2 (บรรยาย( แบบฝกหัดกลาง เอกสารคําสอนฟส ิกส 1ฟสกิ สพศิ วง ความรูรอบตวั แกป ญ หาฟสิกสดวยภาษา cทดสอบออนไลน สอนฟส ิกสผานทางอินเตอรเน็ตหนา แรกในอดีตเอกสารการสอน PDF วีดโี อการเรยี นการสอนแบบฝก หดั ออนไลน แผนใสการเรยี นการสอน กจิ กรรมการทดลองทางวิทยาศาสตรบทความพิเศษพจนานุกรมฟสกิ ส สุดยอดสิง่ ประดษิ ฐธรรมชาตมิ หศั จรรย ตารางธาตุ)ไทย1) 2 (Eng)การทดลองมหัศจรรย ลับสมองกับปญ หาฟส ิกส สูตรพืน้ ฐานฟสิกสแบบฝกหัดโลหะวิทยา ดาราศาสตรร าชมงคลความรรู อบตัวท่ัวไป แบบทดสอบ อะไรเอย ?ทดสอบ)เกมเศรษฐี( คดปี รศิ นาขอสอบเอนทรานซ เฉลยกลศาสตรเวกเตอรคาํ ศัพทประจําสัปดาห ผไู ดร ับโนเบลสาขาฟส ิกสการประดิษฐแของโลก นักวทิ ยาศาสตรไทยนักวิทยาศาสตรเทศดาราศาสตรพ ิศวง การทาํ งานของอปุ กรณทางฟสกิ สการทาํ งานของอุปกรณตา งๆ

การเรยี นการสอนฟสกิ ส 1 ผา นทางอินเตอรเน็ต1. การวัด 2. เวกเตอร3. การเคลอ่ื นทแ่ี บบหนง่ึ มิติ 4. การเคล่ือนที่บนระนาบ5. กฎการเคลือ่ นทีข่ องนวิ ตัน 6. การประยกุ ตกฎการเคลือ่ นท่ีของนวิ ตนั7. งานและพลังงาน 8. การดลและโมเมนตมั9. การหมุน 10. สมดุลของวัตถุแข็งเกรง็11. การเคลื่อนที่แบบคาบ 12. ความยืดหยนุ13. กลศาสตรข องไหล 14. ปรมิ าณความรอ น และ กลไกการถา ยโอนความรอน15. กฎขอทหี่ นงึ่ และสองของเทอรโ มไดนามิก 16. คณุ สมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร17. คล่ืน 18.การส่นั และคล่ืนเสยี ง การเรยี นการสอนฟสกิ ส 2 ผา นทางอินเตอรเน็ต1. ไฟฟาสถติ 2. สนามไฟฟา3. ความกวา งของสายฟา 4. ตัวเกบ็ ประจแุ ละการตอ ตัวตานทาน5. ศกั ยไฟฟา 6. กระแสไฟฟา7. สนามแมเ หลก็ 8.การเหนี่ยวนาํ9. ไฟฟากระแสสลบั 10. ทรานซิสเตอร11. สนามแมเ หลก็ ไฟฟา และเสาอากาศ 12. แสงและการมองเหน็13. ทฤษฎสี มั พัทธภาพ 14. กลศาสตรค วอนตัม15. โครงสรา งของอะตอม 16. นิวเคลยี ร การเรยี นการสอนฟสกิ สท่วั ไป ผานทางอนิ เตอรเน็ต1. จลศาสตร )kinematic) 2. จลพลศาสตร (kinetics)3. งานและโมเมนตัม 4. ซิมเปลฮารโมนิก คลื่น และเสียง5. ของไหลกับความรอ น7. แมเ หล็กไฟฟา 6.ไฟฟาสถติ กับกระแสไฟฟา9. ทฤษฎสี มั พทั ธภาพ อะตอม และนวิ เคลยี ร 8. คลื่นแมเ หลก็ ไฟฟา กบั แสง ฟส กิ สร าชมงคล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook