43 4. สาระสำคัญ ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ทีเ่ ปน็ ศูนย์กล่งของระบบสรุ ิยะ เกิดจากมวลส่วนขนาดใหญ่ของเนบวิ ลา ทยี่ บุ ตวั ลงด้วยโรงโน้มถ่วงจนมีขนาดเล็กลง และแกน่ กลางมีอุณหภูมสูงมากข้นึ พอที่จะเกิดปฏิกิริยาเทอร์ มอนิวเคลียร์หลอมไฮโดรเจนเป็นฮีเลียมเพื่อผลิตพลังงาน ส่วนเนบิวลาที่อยู่รอบนอกจับกลุ่มรวมกันเป็น ดาวเคราะห์และมีบริวารอ่นื ๆ ของดวงอาทติ ย์ มคี วามเป็นไปได้ทจ่ี ะมีสิง่ มชี ีวิตอ่นื บนดวงดาวดวงอ่ืนหาก ดวงดาวนั้นมีสภาวะที่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตเช่นเดียวกับโลก ซึ่งพลังงานจากดวงอาทิตย์เป็นปัจจัย สำคัญตอ่ การดำรงชีวิตของสงิ่ มีชีวิต 5. สาระการเรยี นรู้ ระบบสุรยิ ะเกดิ จากการรวมตวั กันของกลุม่ ฝุ่น และแก๊สทเ่ี รียกว่า เนบิวลาสรุ ิยะ โดยฝุ่นและแก๊ส ประมาณร้อยละ 99.8 ของมวล ไดร้ วมตัวเป็นดวงอาทติ ย์ซึ่งเปน็ ก้อนแก๊สร้อน หรือ พลาสมา สสารส่วนท่ี เหลือรวมตัวเป็นดาวเคราะห์และ บริวารอื่น ๆ ของดวงอาทิตย์ดังนั้นจึงแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์ ตามลกั ษณะการเกิดและองคป์ ระกอบ ได้แก่ ดาวเคราะหช์ ้นั ใน ดาวเคราะหน์ ้อย ดาวเคราะหช์ ้นั นอกและ ดาวหาง โลกเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะที่มีสิ่งมีชีวิต เพราะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในระยะทางท่ี เหมาะสม อยู่ในเขตที่เอื้อต่อการมีสิ่งมีชีวิต มีอุณหภูมิที่เหมาะสมและสามารถเกิดน้ำที่ยังคงสถานะเป็น ของเหลวได้ปจั จุบนั มกี ารคน้ พบดาวเคราะห์ที่อยู่นอกระบบสรุ ิยะจำนวนมากและมีดาวเคราะห์ บางดวงท่ี อยูใ่ นเขตทเี่ ออื้ ต่อการมสี ิง่ มชี วี ิตคล้ายโลก ดวงอาทิตย์มีโครงสร้างภายในแบ่งเป็นแก่นเขตการแผ่รังสีและเขตการพาความร้อน และมีช้ัน บรรยากาศอยู่เหนือเขตพาความร้อน ซึ่งแบ่ง เป็น 3 ช้ัน คือ ชั้นโฟโตสเฟียร์ ชั้นโครโมสเฟียร์ และคอโร นา ในชั้นบรรยากาศของดวงอาทติ ย์ มีปรากฏการณส์ ำคัญ เช่น จุดมืดดวงอาทติ ย์ การลุกจ้า ที่ทำให้เกิด ลมสุริยะ และพายสุ ุรยิ ะ ซึง่ ส่งผลตอ่ โลก ลมสุริยะ เกิดจากการแพร่กระจายของอนุภาคจากช้นั คอโรนาออกสู่อวกาศตลอดเวลา อนุภาคท่ี หลุดออกสู่อวกาศเป็นอนุภาคที่มีประจุ ลมสุริยะส่งผลทำให้เกิดหางของดาวหางที่เรืองแสง และชี้ไปทาง ทิศตรงกนั ขา้ มกบั ดวงอาทติ ย์ และเกิดปรากฏการณแ์ สงเหนือ-แสงใต้ พายุสุริยะ เกิดจากการปลดปล่อยอนุภาคมีประจุพลังงานสูงจำนวนมหาศาล มักเกิดบ่อยคร้ัง ในช่วงที่มีการลุกจ้า และในช่วงที่มีจุดมืด ดวงอาทิตย์จำนวนมาก และในบางครั้งมีการพ่นก้อนมวลคอโร นา พายุสุริยะอาจส่งผลต่อสนามแม่เหล็กโลก จึงอาจรบกวนระบบการส่งกระแสไฟฟ้าและการสื่อสาร
44 รวมทั้งอาจส่งผลต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์ของดาวเทียม นอกจากนั้น มักทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือ แสงใต้ ทส่ี ังเกตไดช้ ัดเจน 6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น ( เฉพาะท่เี กิดในหนว่ ยการเรียนรนู้ ้)ี ความสามารถในการสือ่ สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกป้ ัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทักษะของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 (3R 8C + 2L) (จุดเนน้ ส่กู ารพัฒนาคุณภาพผู้เรียน) ทักษะการอา่ น (Reading) ทักษะการ เขียน (Writing) ทักษะการ คดิ คำนวณ (Arithmetic) ทักษะด้านการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแกป้ ัญหา (Critical thinking and problem solving) ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and innovation) ทักษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผนู้ ำ (Collaboration , teamwork and leadership) ทกั ษะดา้ นความเขา้ ใจตา่ งวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural understanding) ทกั ษะด้าน การสื่อสาร สารสนเทศ และรูเ้ ท่าทนั สอ่ื (Communication information and media literacy) ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร (Computing) ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and learning self-reliance, change) ทกั ษะการเปล่ยี นแปลง (Change) ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ภาวะผูน้ ำ (Leadership) 7. ชิ้นงานหรือภาระงาน ( หลักฐาน / รอ่ งรอยแสดงความรู้ ) - แบบฝึกหดั ท้ายบทท่ี 3 เรื่อง ระบบสุรยิ ะ
45 - เกมกจิ กรรมตอบคำถามเกี่ยวกับระบบสรุ ิยะ (กอ่ นและหลังเรียน) - กจิ กรรมที่ 3.1 เร่ือง การเกิดระบบสุริยะ 8. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ หนว่ ยยอ่ ยที่ 3 เร่ือง ระบบสรุ ยิ ะ ชว่ั โมงที่ 5 : ใช้รูปแบบการเรียนร้แู บบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ขั้นที่ 1 : ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement) 1.1 ครูถามคำถามแกน่ ักเรยี น เรื่อง ระบบสุริยะ ว่า “เม่อื พูดถงึ ระบบสุริยะ นกั เรยี นคิดถึง อะไรบา้ ง” เพอ่ื เป็นการกระตุ้นความสนใจในการเรยี นรู้ ขั้นที่ 2 : ขนั้ สำรวจและค้นหา (Exploration) 2.1 นักเรียนศึกษา เรือ่ ง ระบบสรุ ิยะ จากหนังสือเรียนรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 2.2 นกั เรยี นศึกษา เรือ่ ง ระบบสุริยะ จากส่ือการสอน Power point ท่คี รูเตรยี มไว้ ขนั้ ท่ี 3 : ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) 3.1 ครถู ามคำถามต่อไปนี้ 3.1.1 ระบบสุรยิ ะมดี าวเคราะหท์ ีเ่ ปน็ บรวิ ารก่ดี วง อะไรบา้ ง แนวคำตอบ ระบบสรุ ยิ ะมีดาวเคราะห์ท่เี ปน็ บรวิ ารทง้ั หมด 8 ดวง คอื ดาวพธุ ดาวศุกร์ ดาวโลก องั คาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยเู รนัส และดาวเนปจูน 3.1.2 สสารทีม่ ารวมตวั กนั เป็นระบบสุริยะมาจากไหน แนวคำตอบ (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง) ขน้ั ที่ 4 : ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 ครใู ห้นกั เรยี นปฏิบัติกจิ กรรมท่ี 3.1 โดยใหน้ ักเรยี นสืบคน้ ขอ้ มูลเก่ียวกับระบบสุรยิ ะ จาก แหล่งขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เช่น หนงั สือเรียนหน้า 47-50 หรือในอนิ เตอรเ์ นต็
46 ขน้ั ท่ี 5 : ขั้นประเมิน (Evaluation) 5.1 ครปู ระเมนิ จากการทำกิจกรรมที่ 3.1 เรอื่ ง การกำนิดระบบสุรยิ ะ การตอบคำถามจาก แบบฝึกหัดท้ายบทของนกั เรยี น 5.2 ครปู ระเมนิ จากการทน่ี กั เรยี นมสี ่วนร่วมในการเรยี นการสอน และการสืบเสาะหาความรู้ 9. สือ่ การสอน - หนงั สอื เรียนรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ วิชาวทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ กลมุ่ สาระการ เรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 - ส่อื การสอน Power point - แบบฝึกหัดทา้ ยบทท่ี 3 เรอ่ื ง ระบบสุริยะ - เกมกิจกรรมตอบคำถามเก่ยี วกับระบบสรุ ยิ ะ - กจิ กรรมท่ี 3.1 เร่อื ง การเกิดระบบสุรยิ ะ 10. แหล่งเรยี นรใู้ นหรอื นอกสถานท่ี - ห้องเรยี น - หอ้ งสมดุ - อนิ เตอร์เนต็
47 11. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ วี ดั เครอื่ งมือวัด เกณฑ์การให้ เกณฑก์ ารประเมนิ -กิจกรรมท่ี 3.1 คะแนน หรือ สง่ิ ที่ต้องการจะวัดและ - 4 = ดมี าก 4 = ดีมาก ประเมนิ ผล 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1. อธบิ ายกระบวนการเกดิ ระบบ -ประเมนิ จากการ 1 = ควรปรบั ปรุง 1 = ควรปรบั ปรงุ สุรยิ ะและการแบ่งเขตบรวิ ารของ ทำกิจกรรมที่ 3.1 4 = ดีมาก 4 = ดีมาก 3 = ดี 3 = ดี ดวงอาทิตย์และลกั ษณะของดาว 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรุง 1 = ควรปรบั ปรุง เคราะห์ทเี่ อื้อต่อการดำรงชีวติ ได้ 4 = ดีมาก 4 = ดมี าก 3 = ดี 3 = ดี (K) 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรบั ปรุง 2. อธบิ ายโครงสรา้ งของดวงอาทติ ย์ -ประเมินจากการ 4 = ดมี าก 4 = ดีมาก 3 = ดี 3 = ดี การเกิดลมสุรยิ ะพายุสรุ ยิ ะได้ (K) ตอบคำถามของ 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรงุ 1 = ควรปรับปรุง นักเรียน 4 = ดมี าก 4 = ดีมาก 3.ยกตวั อยา่ งลกั ษณะของดาว -ประเมนิ จากการ - 3 = ดี 3 = ดี เคราะหท์ เี่ อื้อต่อการดำรงชีวติ ได้ ตอบคำถามของ 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ (P) นักเรยี น 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรบั ปรุง 4.สบื คน้ ขอ้ มลู วิเคราะห์ นำเสนอ -ประเมินจากการ - ปรากฏการณห์ รอื เหตกุ ารณท์ ่ี ใชเ้ ทคโนโลยใี นทาง เกีย่ วข้องกบั ผลของลมสุรยิ ะและ สรา้ งสรรค์ของ พายุสุรยิ ะทม่ี ตี ่อโลกรวมทั้ง นกั เรียน ประเทศไทยได้ (P) 5. มุ่งมน่ั ในการเรยี นและมคี วาม -ประเมนิ จาก -แบบฝกึ หัดทา้ ย รบั ผิดชอบในงานท่ไี ดร้ บั แบบฝกึ หัดทา้ ยบท บทท่ี 3 มอบหมาย (A) ที่ 3
48 สมรรถนะของผเู้ รียน สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น วธิ วี ดั เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารให้ เกณฑ์การประเมนิ คะแนน 1. ความสามารถในการคิด สงั เกต แบบประเมนิ ใบงาน 4 = ดีมาก 4 = ดีมาก 2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา สงั เกต 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี สงั เกต 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง แบบประเมินใบงาน 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรุง 1 = ควรปรับปรงุ แบบประเมนิ ใบงาน 4 = ดีมาก 4 = ดีมาก 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง
49 ทักษะของผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 เคร่อื งมอื วัด เกณฑ์การให้ เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน ทักษะของผเู้ รยี นในศตวรรษ วิธวี ดั แบบประเมนิ ท่ี 21 พฤติกรรม 4 = ดมี าก 4 = ดีมาก รายบุคคล 3 = ดี 3 = ดี 1. ทักษะด้านการคิดอยา่ งมี สงั เกต 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ วจิ ารณญาณและทกั ษะในการ แบบประเมนิ 1 = ควรปรบั ปรุง 1 = ควรปรบั ปรุง แกป้ ญั หา(Criticalthinking พฤตกิ รรม 4 = ดมี าก 4 = ดีมาก and problem solving) รายบคุ คล 3 = ดี 3 = ดี 2. ทักษะดา้ นความร่วมมือการ สังเกต 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ ทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง (Collaboration , teamwork and leadership) 3. ทกั ษะด้านการสอื่ สาร สังเกต แบบประเมิน 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสอ่ื พฤติกรรม 3 = ดี 3 = ดี (Communication รายบุคคล 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ information and media 1 = ควรปรบั ปรงุ 1 = ควรปรับปรุง literacy) 4. ทักษะการเรยี นรู้ (Learning สังเกต แบบประเมิน 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก Skills) พฤติกรรม 3 = ดี 3 = ดี รายบุคคล 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง ตารางเกณฑก์ ารประเมนิ ผลต่าง ๆ เกณฑ์การประเมิน ดีมาก ระดับคะแนน ดี 4 พอใช้ 3 2 ควรปรบั ปรุง 1
50 12. กจิ กรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. .............................................................. ............................................................................................................................. .................................. 13. บันทกึ ผลหลังการสอน สรุปผลการเรยี นการสอน นักเรียนท้งั หมดจำนวน.....................คน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จำนวนนักเรียนที่ผ่าน จำนวนนักเรยี นท่ไี มผ่ า่ น จำนวนคน ร้อยละ จำนวนคน ร้อยละ 15. ปัญหา/อปุ สรรค/แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................ ............................................................... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................. .. 16. ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. ................................ ลงชอ่ื ........................................................................ ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ........................................... () ลงชื่อ.......................................................................... หัวหนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ () ลงชอื่ .......................................................................... รองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ ()
51 ความเหน็ ของหัวหนา้ สถานศกึ ษา ไดท้ ำการตรวจแผนการเรยี นรู้ของ....................................................................แลว้ มคี วามคดิ เห็นดังน้ี 7. เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง 8. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม ยังไมเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป 9. ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................... ...................................................................................................................................... .................. ................................................................................................................ ........................................ ลงช่อื ............................................................................................... ( …………………..........................……………………………… ) ผู้อำนวยการโรงเรยี น…………………………………………………………..
52 กิจกรรมที่ 3.1 เรือ่ ง การเกดิ ระบบสุริยะ ชื่อ - สกลุ ................................................................................... ช้ัน ....................... เลขท่ี ........................ คำชี้แจง * จงเลือกคำตอบดังต่อไปนี้ เติมในช่องว่างของแผนภาพแสดงกระบวนการเกิดระบบสุริยะให้ สมั พนั ธ์กบั ขั้นตอนต่าง ๆ ในกระบวนการเกดิ ระบบสรุ ิยะ 1. พธุ ศุกร์ โลก อังคาร 5. เนบิวลาสรุ ยิ ะ 2. ดวงอาทิตย์ 6. แถบไคเปอร์และดงดาวหาง 3. แถบดาวเคราะห์น้อย 7. ดาวเคราะห์ยักษแ์ ก๊ส 4. ยเู รนัส เนปจนู
53 แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3 เร่ือง ระบบสุริยะ ชื่อ - สกุล ................................................................................... ชั้น ....................... เลขที่ ........................ คำชี้แจง * ใหน้ กั เรียนตอบคำถามต่อไปน้ีใหถ้ กู ตอ้ ง 1. จากความร้เู รอื่ ง การกำเนดิ ระบบสรุ ิยะ เพราะเหตุใดจึงกลา่ วว่าดวงอาทติ ยเ์ ปน็ ดาวฤกษร์ นุ่ หลัง .................................................................................................................................................................. .... ...................................................................................................................................................................... 2. ความหนาแนน่ ของดาวเคราะหห์ นิ และดาวเคราะแก๊ส เหมอื นหรือแตกต่างกันอย่างไร .................................................................................................................................................................. .... ...................................................................................................................................................................... 3. จากแผนภาพแสดงสัดส่วนของแก๊สบนดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ตามลำดับ จงพิจารณา แผนภาพและตอบคำถามตอ่ ไปนี้ 3.1 ดาวเคราะแตล่ ะดวงมอี งคป์ ระกอบเหมือนหรือแตกต่างกนั อย่างไร ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................. ......................... 3.2 เพราะเหตุใดบรรยากาศของโลกจงึ มปี รมิ าณแกส๊ ออกซเิ จนมากกวา่ ดาวเคราะหอ์ ่ืน ........................................................................................................................................................... ........... .................................................................................................................................................................. ....
54 4. จงเลือกคำตอบทก่ี ำหนดเตมิ ลงในชอ่ งวา่ งใหส้ อดคล้องกับข้อความทีก่ ำหนด โฟโตสเฟียร์ เขตการพาความร้อน โครโมสเฟียร์ แก่น คอโรนา เขตการแผ่รงั สี จุดมืดดวงอาทิตย์ .................................... 4.1 เปน็ ปรเิ วณท่เี กิดปฏกิ ิรยิ าเทอร์มอนวิ เคลยี ร์ .................................... 4.2 เป็นเขตท่ีมีการถ่ายโอนพลังงาน ซ่ึงอยรู่ ะหว่างแก่นและเขตการพาความรอ้ น .................................... 4.3 เปน็ เขตทถี่ ่ายโอนความร้อนออกสผู่ ิวของงดวงอาทิตย์ .................................... 4.4 เป็นบริเวณทส่ี ามารถมองเหน็ ไดด้ ้วยตาเปล่า (เมอ่ื มองผ่านแผน่ กรองแสง สุรยิ ะ) .................................... 4.5 อย่บู ริเวณผวิ ดวงอาทติ ย์ ซง่ึ มีอุณหภมู ต่ำกวา่ บรเิ วณข้างเคียง .................................... 4.6 เปน็ ชน้ั บรรยากาศที่มคี วามหนาแนน่ น้อย และแผ่กระจายออกจากดวง อาทิตย์ไดไ้ กลมาก จะเหน็ แสงสว่ นนี้ในชว่ งสุริยปุ ราคาเตม็ ดวง 5. ระบโุ ครงสรา้ งของดวงอาทิตยล์ งในช่องวา่ งให้สอดคล้องกับแผนภาพทกี่ ำหนด ก. ..................................................... ข. ..................................................... ค. ..................................................... ง. ..................................................... จ. ..................................................... ฉ. ..................................................... 6. จุดมืดดวงอาทิตยเ์ กดิ ขึ้นอยา่ งไร .................................................................................................................................................................. .... ...................................................................................................................................................................... (สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2562)
55 แบบประเมินพฤติกรรมรายบคุ คล ช่อื - สกลุ ................................................................................... ชั้น ....................... เลขที่ ........................ ลำดับ ประเดน็ การประเมนิ 4 (ดมี าก) คุณภาพการปฏบิ ัติ 3 (ดี) 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรุง) 1 ตรงจุดประสงค์ที่กำหนด 2 ถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ 3 มีความคดิ สร้างสรรค์ 4 มคี วามเป็นระเบยี บเรยี บร้อย 5 ตรงตอ่ เวลา รวม ลงชื่อ................................................................ ผ้ปู ระเมิน วันที.่ ................./......................../.......................
56 เกณฑก์ ารประเมินคะแนนใบงาน ประเดน็ การประเมิน 4 (ดมี าก) คะแนน 1 (ปรบั ปรงุ ) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1. ผลงานตรงตาม ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วาม ผลงานมีความ ผลงานไม่ จดุ ประสงค์ สอดคลอ้ งกับ สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกบั สอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคข์ อง จดุ ประสงคข์ อง จดุ ประสงคข์ อง จุดประสงค์ของ เนือ้ หาทเ่ี รียนทุก เนอื้ หาทเี่ รียนเป็น เนอ้ื หาท่เี รียนบาง เนือ้ หาทเ่ี รียน ประเดน็ สว่ นใหญ่ ประเดน็ 2.ผลงานมคี วามถูกตอ้ ง เนอ้ื หาสาระถูกต้อง เนือ้ หาสาระถูกตอ้ ง เนอื้ หาสาระถูกตอ้ ง เนือ้ หาสาระไม่ สมบูรณ์ ครบถ้วน เป็นสว่ นใหญ่ บางประเดน็ ถูกตอ้ ง 3.ผลงานมคี วามเปน็ ระเบยี บ ผลงานมีความเปน็ ผลงานมีความเปน็ ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานไมม่ คี วาม เรียบร้อย ระเบยี บเรยี บรอ้ ย ระเบยี บเรยี บรอ้ ย ระเบียบเรยี บร้อย เปน็ ระเบยี บ นา่ อา่ น แตย่ ังบกพรอ่ ง แต่ยีงบกพรอ่ ง เรียบรอ้ ย บางส่วน 4. การสง่ งานตรงตอ่ เวลา ส่งงานตรงตามเวลา ส่งงานชา้ เลยเวลาท่ี สง่ งานชา้ เลยเวลาท่ี สง่ งานชา้ เลยเวลาท่ี ท่ีกำหนด กำหนด1-2วัน กำหนด3-5วนั กำหนดมากกวา่ 5 วัน เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน ระดับคณุ ภาพ 16–20 ดีมาก 11–15 ดี 6–10 พอใช้ 0–5 ปรบั ปรุง
57
58 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 4 สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (ดาราศาสตร์) ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 เรอื่ ง เทคโนโลยอี วกาศและการประยุกต์ใช้ เวลา 3 ชัว่ โมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ ว 3.1 เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว ฤกษ์ และระบบสรุ ยิ ะ รวมทั้งปฏิสัมพันธภ์ ายในระบบสรุ ยิ ะ ท่ีส่งผลตอ่ สง่ิ มีชวี ติ และการประยุกตใ์ ช้ เทคโนโลยีอวกาศตัวชี้วัด 2. ตวั ช้ีวัด ม. 6/10 สืบค้นข้อมูล อธิบายการสำรวจอวกาศ โดยใช้กล้องโทรทรรศน์ในช่วงความยาวคลื่น ต่าง ๆ ดาวเทียม ยานอวกาศสถานีอวกาศและนำเสนอ แนวคิดการนำความรู้ทางด้านเทคโนโลยี อวกาศ มาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวัน หรือในอนาคต 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ - ด้านพุทธพิ ิสยั (K) 1. อธบิ ายการสำรวจอวกาศ โดยใช้ กล้องโทรทรรศน์ในช่วงความยาวคลื่นต่าง ๆ ดาวเทียม ยาน อวกาศสถานอี วกาศได้ - ดา้ นทักษะพิสยั (P) 1. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอ แนวคิดการนำความรู้ทางด้านเทคโนโลยี อวกาศมาประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ ประจำวัน หรือในอนาคต และพายสุ ุรยิ ะท่ีมตี ่อโลก รวมทงั้ ประเทศไทยได้ - ดา้ นเจตพิสยั (A) 1. มงุ่ ม่ันในการเรียนและมคี วามรับผดิ ชอบในงานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
59 4. สาระสำคญั เทคโนโลยีอวกาศเป็นการสำรวจส่ิงต่างๆทอ่ี ยใู่ นอวกาศเพ่ือหาข้อมลู ทำใหไ้ ด้ความร้ใู หม่ ๆ และ นำมาใช้ในการพฒั นาความเป็นอยู่ของมนุษยใ์ หม้ ีความสะดวกสบายมากขน้ึ เทคโนโลยีมากมายท่ีจัดเปน็ เทคโนโลยอี วกาศ เช่น กล้องโทรทรรศน์ใชส้ ำรวจวัตถุท้องฟ้า ดาวเทยี มใชใ้ นการเก็บข้อมูลด้านตา่ ง ๆ ยานอวกาศใชใ้ นการสำรวจดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ต่าง ๆ สถานอี วกาศใช้ในการคน้ ควา้ วิจยั ในสภาพ ไรน้ ้ำหนัก ความรู้ของเทคโนโลยีอวกาศสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ด้านตา่ ง ๆ เชน่ วัสดุศาสตร์ อาหาร การแพทย์และอน่ื ๆ 5. สาระการเรยี นรู้ ใช้เทคโนโลยีอวกาศในการศึกษา เพื่อขยายขอบเขตความรู้ด้านวทิ ยาศาสตร์และในขณะเดยี วกนั มนุษยไ์ ดน้ ำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ ประโยชนใ์ นด้านตา่ ง ๆ เช่น วัสดศุ าสตร์อาหาร การแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ได้สร้างกล้องโทรทรรศนเ์ พื่อศึกษาแหลง่ กำเนิดของรังสหี รืออนภุ าคในอวกาศ ในชว่ งความยาวคล่ืนต่าง ๆ ไดแ้ ก่คลื่นวทิ ยุไมโครเวฟ อนิ ฟราเรด แสง อัลตราไวโอเลต และรังสเี อก็ ซ์ ยานอวกาศ คือ ยานพาหนะที่นำมนุษย์หรอื อปุ กรณ์ทางดาราศาสตรข์ ้ึนไปสู่อวกาศ เพ่ือสำรวจ หรือเดนิ ทางไปยังดาวดวงอื่น สว่ นสถานี อวกาศ คือห้องปฏบิ ตั ิการลอยฟ้าทโ่ี คจรรอบโลก ใช้ในการศึกษา วจิ ยั ทางวิทยาศาสตร์ในสาขาต่าง ๆ ในสภาพไร้นำ้ หนัก ดาวเทียม คืออุปกรณท์ ่ีใช้ในการสำรวจวตั ถุทอ้ งฟา้ และนำมาประยุกตใ์ ชใ้ นด้านต่าง ๆ เช่น การ สื่อสาร โทรคมนาคม การระบุตำแหน่งบนโลก การสำรวจ ทรัพยากรธรรมชาติอตุ ุนยิ มวิทยา โดย ดาวเทยี ม มหี ลายประเภทสามารถแบ่งได้ตามเกณฑว์ งโคจร และการใชง้ าน 6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ทักษะของผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21 (3R 8C + 2L) (จุดเน้นสู่การพฒั นาคุณภาพผ้เู รียน) ทกั ษะการอ่าน (Reading) ทักษะการ เขยี น (Writing) ทักษะการ คิดคำนวณ (Arithmetic)
60 ทักษะดา้ นการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ญั หา (Critical thinking and problem solving) ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and innovation) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration , teamwork and leadership) ทกั ษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding) ทกั ษะดา้ น การสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เทา่ ทันส่ือ (Communication information and media literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร (Computing) ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and learning self-reliance, change) ทักษะการเปลี่ยนแปลง (Change) ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ภาวะผ้นู ำ (Leadership) 7. ชิ้นงานหรือภาระงาน ( หลักฐาน / ร่องรอยแสดงความรู้ ) - แบบฝกึ หดั ท้ายบทที่ 3 เรอื่ ง ระบบสรุ ิยะ - เกมกิจกรรมตอบคำถามเก่ียวกบั ระบบสรุ ยิ ะ (ก่อนและหลังเรยี น) - กจิ กรรมท่ี 3.1 เร่อื ง การเกิดระบบสุริยะ 8. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ หนว่ ยย่อยที่ 4 เร่อื ง เทคโนโลยีอวกาศและการประยุกตใ์ ช้ ชวั่ โมงท่ี 3 : ใช้รปู แบบการเรียนร้แู บบสบื เสาะหาความรู้ (5E) ข้นั ที่ 1 : ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement) 1.1 ครูถามคำถามแก่นักเรยี น เรื่อง เทคโนโลยอี วกาศและการประยกุ ต์ใช้ วา่ “นักเรยี นเคยใช้ หรอื เคยเห็นเทคโนโลยเี ก่ยี วกับอวกาศหรือไม่” เพือ่ เปน็ การกระตุ้นความสนใจในการเรียนรู้ ขน้ั ที่ 2 : ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration) 2.1 นกั เรียนศกึ ษา เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศและการประยุกต์ใช้ จากหนังสือเรียนรายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ วชิ าวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551
61 2.2 นักเรียนศกึ ษา เรอื่ ง เทคโนโลยอี วกาศและการประยุกต์ใช้ จากสอื่ การสอน Power point ที่ครเู ตรยี มไว้ ขน้ั ท่ี 3 : ขั้นอธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) 3.1 ครูถามคำถามตอ่ ไปน้ี 3.1.1 เราต้องใชอ้ ุปกรณ์ใดในการเห็นดวงดาวต่าง ๆ ท่ีอยบู่ นทอ้ งฟา้ ไดช้ ดั เจน แนวคำตอบ กล้องดดู าว / กลอ้ งโทรทรรศน์ 3.1.2 นักเรียนรหู้ รอื ไมว่ ่า หลักการของกลอ้ งดูดาวเปน็ อย่างไร แนวคำตอบ (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง) ข้นั ที่ 4 : ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 ครูให้นักเรยี นปฏิบตั กิ ิจกรรมที่ 3.1 โดยให้นักเรยี นสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกบั ระบบสุรยิ ะ จาก แหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เช่น หนังสอื เรียนหนา้ 47-50 หรือในอนิ เตอรเ์ นต็ ขั้นที่ 5 : ข้นั ประเมนิ (Evaluation) 5.1 ครูประเมินจากการทำกิจกรรมท่ี 4.1 เรอื่ ง กลอ้ งโทรทรรศน์ท่ใี ชศ้ ึกษาวตั ถุบนทอ้ งฟ้าในชว่ ง ความยาวคลน่ื ต่าง ๆ การตอบคำถามจากแบบฝึกหดั ทา้ ยบทของนกั เรยี น 5.2 ครปู ระเมินจากการทีน่ ักเรยี นมีส่วนรว่ มในการเรียนการสอน และการสืบเสาะหาความรู้ 9. สอื่ การสอน - หนงั สอื เรียนรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ วิชาวทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ กลุม่ สาระการ เรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้น พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 - สอื่ การสอน Power point - แบบฝึกหดั ท้ายบทท่ี 4 เรอื่ ง เทคโนโลยีอวกาศและการประยุกตใ์ ช้ - เกมกจิ กรรมตอบคำถามเกย่ี วกบั เทคโนโลยอี วกาศและการประยกุ ต์ใช้ - กจิ กรรมที่ 4.1 เรื่อง กล้องโทรทรรศนท์ ใ่ี ช้ศกึ ษาวัตถบุ นท้องฟ้าในช่วงความยาวคลื่นต่าง ๆ
62 10. แหล่งเรยี นรใู้ นหรือนอกสถานที่ - หอ้ งเรียน - หอ้ งสมุด - อินเตอรเ์ น็ต 11. การวัดและประเมินผล จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธีวัด เครือ่ งมือวดั เกณฑก์ ารให้ เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน หรือ สิ่งทต่ี อ้ งการจะวดั และ 4 = ดมี าก 3 = ดี ประเมินผล 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรงุ 1. อธิบายการสำรวจอวกาศโดยใช้ -ประเมินจากการ -กจิ กรรมท่ี 4.1 4 = ดีมาก 4 = ดมี าก 3 = ดี 3 = ดี กล้องโทรทรรศน์ในช่วงความยาว ทำกจิ กรรมที่ 4.1 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรงุ 1 = ควรปรบั ปรุง คลื่นต่าง ๆ ดาวเทียม ยานอวกาศ - แบบฝึกหัดท้าย 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก สถานอี วกาศได้ (K) บทที่ 4 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2.สืบคน้ ขอ้ มลู และนำเสนอ -ประเมนิ จากการ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรงุ แนวคดิ การนำความรูท้ างดา้ น ตอบคำถามของ เทคโนโลยี อวกาศมาประยกุ ตใ์ ชใ้ น นกั เรยี นและการ ชีวิตประจำวนั หรือในอนาคต(P) ใฝเ่ รยี นรู้ของ นกั เรียน 3. มุ่งมัน่ ในการเรยี นและมคี วาม -ประเมินจาก - 4 = ดมี าก 3 = ดี รบั ผิดชอบในงานที่ไดร้ ับ แบบฝึกหัดทา้ ยบท 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรงุ มอบหมาย (A) ที่ 4
63 สมรรถนะของผเู้ รียน สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น วธิ วี ดั เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารให้ เกณฑ์การประเมนิ คะแนน 1. ความสามารถในการคิด สงั เกต แบบประเมนิ ใบงาน 4 = ดีมาก 4 = ดีมาก 2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา สงั เกต 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี สงั เกต 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง แบบประเมินใบงาน 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรุง 1 = ควรปรับปรงุ แบบประเมนิ ใบงาน 4 = ดีมาก 4 = ดีมาก 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง
64 ทักษะของผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 เคร่อื งมอื วัด เกณฑ์การให้ เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน ทักษะของผเู้ รยี นในศตวรรษ วิธวี ดั แบบประเมนิ ท่ี 21 พฤติกรรม 4 = ดมี าก 4 = ดีมาก รายบุคคล 3 = ดี 3 = ดี 1. ทักษะด้านการคิดอยา่ งมี สงั เกต 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ วจิ ารณญาณและทกั ษะในการ แบบประเมนิ 1 = ควรปรบั ปรุง 1 = ควรปรบั ปรุง แกป้ ญั หา(Criticalthinking พฤตกิ รรม 4 = ดมี าก 4 = ดีมาก and problem solving) รายบคุ คล 3 = ดี 3 = ดี 2. ทักษะดา้ นความร่วมมือการ สังเกต 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ ทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง (Collaboration , teamwork and leadership) 3. ทกั ษะด้านการสอื่ สาร สังเกต แบบประเมิน 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสอ่ื พฤติกรรม 3 = ดี 3 = ดี (Communication รายบุคคล 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ information and media 1 = ควรปรบั ปรงุ 1 = ควรปรับปรุง literacy) 4. ทักษะการเรยี นรู้ (Learning สังเกต แบบประเมิน 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก Skills) พฤติกรรม 3 = ดี 3 = ดี รายบุคคล 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง ตารางเกณฑก์ ารประเมนิ ผลต่าง ๆ เกณฑ์การประเมิน ดีมาก ระดับคะแนน ดี 4 พอใช้ 3 2 ควรปรบั ปรุง 1
65 12. กจิ กรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. .............................................................. ............................................................................................................................. .................................. 13. บันทกึ ผลหลังการสอน สรุปผลการเรยี นการสอน นักเรียนท้งั หมดจำนวน.....................คน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จำนวนนักเรียนที่ผ่าน จำนวนนักเรยี นท่ไี มผ่ า่ น จำนวนคน ร้อยละ จำนวนคน ร้อยละ 15. ปัญหา/อปุ สรรค/แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................ ............................................................... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................. .. 16. ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. ................................ ลงชอ่ื ........................................................................ ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ........................................... () ลงชื่อ.......................................................................... หัวหนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ () ลงชอื่ .......................................................................... รองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ ()
66 ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา ไดท้ ำการตรวจแผนการเรยี นรู้ของ....................................................................แลว้ มคี วามคิดเหน็ ดงั น้ี 10. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 11. การจัดกิจกรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป 12. ขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ........................... ............................................................................................................................. ........................... ...................................................................................... .................................................................. ............................................................................................................................. ........................... ลงชอื่ ............................................................................................... ( …………………..........................……………………………… ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น…………………………………………………………..
67 กจิ กรรมท่ี 4.1 เรอ่ื ง กล้องโทรทรรศนท์ ีใ่ ช้ศึกษาวัตถุบนทอ้ งฟ้าในชว่ งความยาวคลื่นตา่ ง ๆ ชอ่ื - สกุล ................................................................................... ชน้ั ....................... เลขที่ ........................ จดุ ประสงค์ เปรยี บเทยี บและอธบิ ายความยาวคลืน่ และวัตถทุ ้องฟา้ ที่ศกึ ษาด้วยกล้องโทรทรรศนแ์ ตล่ ะชนิด อปุ กรณ์ 1. รูปแถบสเปกตรัมของคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ จำนวน 1 แผน่ 2. ใบความร้เู ร่ือง กลอ้ งโทรทรรศน์ในช่วงความยาวคล่ืนต่าง ๆ วิธีทำกิจกรรม 1. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกีย่ วกับ กล้องโทรทรรศน์อวกาศที่ใช้ศึกษาวัตถุท้องฟ้าในช่วงความยาว คลืน่ ต่าง ๆ ในประเดน็ ต่อไปน้ี - ความยาวคลืน่ ท่ีใชใ้ นการศกึ ษา - ตวั อยา่ งวตั ถุทอ้ งฟ้าท่ใี ช้ในการศึกษา - ท่ีตงั้ ของกลอ้ งโทรทรรศน์ที่ใชใ้ นการศกึ ษา เชน่ ศึกษาจากบนโลก ศกึ ษาในอวกาศ 2. เขียนชื่อภาพกล้องโทรทรรศน์แต่ละชนิด และวัตถุท้องฟ้าที่ศึกษาลงบนแถบสเปกตรัมของ คล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า ดงั รปู เพื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลความยาวคล่นื ท่สี บื คน้ ได้ใน ข้อ 1 3. อภิปรายและอธิบายความแตกต่างของความยาวคลื่นและความถี่ รวมทั้งวัตถุท้องฟ้าท่ีศึกษา ของกลอ้ งโทรทรรศนแ์ ต่ละชนดิ 4. นำเสนอและอภปิ รายผลการทำกจิ กรรม
68 บันทึกผลจากกิจกรรม .................... ............... ............... ............... ............... ............... .................... ............... ............... ............... ............... ............... .................... ............... ............... ............... ............... ............... .................... ............... ............... ............... ............... ............... .................... ............... ............... ............... ............... ............... .................... ............... ............... ............... ............... ............... .................... ............... ............... ............... ......... .................... ............... ............... ............... .................... ............... ............... ............... ......... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ......... ......... ......... 1. กลอ้ งโทรทรรศนแ์ ตล่ ะชนดิ ใช้สงั เกตวตั ถุท้องฟ้าในช่วงคลื่นใดบา้ ง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. กล้องโทรทรรศน์ในชว่ งคลื่นใดบ้างทีใ่ ชศ้ กึ ษาไดจ้ ากบนโลก …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. กล้องโทรทรรศน์ในชว่ งคลืน่ ใดบา้ งที่เป็นกลอ้ งโทรทรรศน์อวกาศ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ถ้าจะศึกษาวัตถุท้องฟ้าที่มีความยาวคลื่นในช่วงรังสีเอกซ์ สามารถใช้กล้องโทรทรรศน์บนพื้นโลก ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
69 แบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 4 เร่ือง เทคโนโลยีอวกาศและการประยุกต์ใช้ ชอ่ื - สกุล ................................................................................... ชั้น ....................... เลขที่ ........................ คำชแ้ี จง * ให้นกั เรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถกู ต้อง 1. เพราะเหตุใดจงึ ตอ้ งสง่ กลอ้ งโทรทรรศนข์ ้ึนไปโคจรรอบโลกในการศกึ ษาวัตถุท้องฟา้ .................................................................................................................................................................. .... ...................................................................................................................................................................... 2. ทำไมกล้องโทรทรรศนท์ ่ีใชศ้ กึ ษาวัตถุทอ้ งฟ้าต้องใช้ความยาวคลน่ื ในช่วงตา่ ง ๆ ...................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. .... 3. ระบบขนสง่ อวกาศประกอบด้วยส่วนใดบา้ ง .................................................................................................................................................................. .... .................................................................................................................................................................. .... 4. การทดลองทางวิทยาศาสตรบ์ นสถานีอวกาศนานาชาตมิ อี ะไรบา้ ง .................................................................................................................................................................. .... .................................................................................................................................................................. .... 5. การอาศัยอยใู่ นอวกาศของมนษุ ยอ์ วกาศเปน็ ระยะเวลานาน ๆ มผี ลกระทบตอ่ มนุษยอ์ วกาศอย่างไร บ้าง .................................................................................................................................................................. .... .................................................................................................................................................................. .... 6. เทคโนโลยอี วกาศนำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง ให้ยกตัวอยา่ ง 2 ตวั อย่าง .................................................................................................................................................................. .... ...................................................................................................................................................................... (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2562)
70 แบบประเมินพฤติกรรมรายบคุ คล ช่อื - สกลุ ................................................................................... ชั้น ....................... เลขที่ ........................ ลำดับ ประเดน็ การประเมนิ 4 (ดมี าก) คุณภาพการปฏบิ ัติ 3 (ดี) 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรุง) 1 ตรงจุดประสงค์ที่กำหนด 2 ถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ 3 มีความคดิ สร้างสรรค์ 4 มคี วามเป็นระเบยี บเรยี บร้อย 5 ตรงตอ่ เวลา รวม ลงชื่อ................................................................ ผ้ปู ระเมิน วันที.่ ................./......................../.......................
71 เกณฑก์ ารประเมินคะแนนใบงาน ประเดน็ การประเมิน 4 (ดมี าก) คะแนน 1 (ปรบั ปรงุ ) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1. ผลงานตรงตาม ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วาม ผลงานมีความ ผลงานไม่ จดุ ประสงค์ สอดคลอ้ งกับ สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกบั สอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคข์ อง จดุ ประสงคข์ อง จดุ ประสงคข์ อง จุดประสงค์ของ เนือ้ หาทเ่ี รียนทุก เนอื้ หาทเี่ รียนเป็น เนอ้ื หาท่เี รียนบาง เนือ้ หาทเ่ี รียน ประเดน็ สว่ นใหญ่ ประเดน็ 2.ผลงานมคี วามถูกตอ้ ง เนอ้ื หาสาระถูกต้อง เนือ้ หาสาระถูกตอ้ ง เนอื้ หาสาระถูกตอ้ ง เนือ้ หาสาระไม่ สมบูรณ์ ครบถ้วน เป็นสว่ นใหญ่ บางประเดน็ ถูกตอ้ ง 3.ผลงานมคี วามเปน็ ระเบยี บ ผลงานมีความเปน็ ผลงานมีความเปน็ ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานไมม่ คี วาม เรียบร้อย ระเบยี บเรยี บรอ้ ย ระเบยี บเรยี บรอ้ ย ระเบียบเรยี บร้อย เปน็ ระเบยี บ นา่ อา่ น แตย่ ังบกพรอ่ ง แต่ยีงบกพรอ่ ง เรียบรอ้ ย บางส่วน 4. การสง่ งานตรงตอ่ เวลา ส่งงานตรงตามเวลา ส่งงานชา้ เลยเวลาท่ี สง่ งานชา้ เลยเวลาท่ี สง่ งานชา้ เลยเวลาท่ี ท่ีกำหนด กำหนด1-2วัน กำหนด3-5วนั กำหนดมากกวา่ 5 วัน เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน ระดับคณุ ภาพ 16–20 ดีมาก 11–15 ดี 6–10 พอใช้ 0–5 ปรบั ปรุง
72
73 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 5 สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ (ดาราศาสตร)์ ช้ัน มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 เรอ่ื ง โครงสรา้ งโลก เวลา 5 ชัว่ โมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ ว 3.2 เขา้ ใจองค์ประกอบและความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลง ภายในโลก และบนผวิ โลก ธรณพี ิบัติภยั กระบวนการเปลีย่ นแปลง ลมฟา้ อากาศและภมู ิอากาศโลก รวมทั้งผลตอ่ สิง่ มชี วี ติ และสิง่ แวดล้อม 2. ตัวช้ีวัด ม. 6/1 อธบิ ายการแบง่ ชัน้ และสมบตั ิของโครงสร้างโลก พรอ้ มยกตวั อยา่ งข้อมลู ที่สนับสนุน 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ - ดา้ นพทุ ธพิ สิ ยั (K) 1. อธิบายการแบง่ ชนั้ และสมบตั ิของโครงสรา้ งโลกได้ - ด้านทักษะพิสัย (P) 1. ยกตวั อยา่ งข้อมูลท่ีสนบั สนุนการแบง่ ช้ันและสมบัตขิ องโครงสรา้ งโลกได้ - ด้านเจตพสิ ัย (A) 1. มงุ่ มั่นในการเรียนและมคี วามรับผิดชอบในงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย 4. สาระสำคัญ การศึกษาโครงสร้างโลกใช้ข้อมูลสำคัญในการสนบั สนนุ การแบง่ ชั้นโครงสรา้ งโลกท้ังการแบ่งตาม องค์ประกอบทางเคมีและการแบ่งตามสมบัติเชิงกล เช่น องค์ประกอบทางเคมีของหินและแร่อุกกาบาต เหล็ก และข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่ภายในโลก ซึ่งข้อมูลดังกล่าวยังสามารถนำมา ใช้อธิบาย องคป์ ระกอบทางเคมีและสมบตั เิ ชงิ กลของโครงสร้างโลกแต่ละชั้น
74 5. สาระการเรยี นรู้ การศึกษาโครงสร้างโลกใช้ข้อมูลหลายด้าน เช่น องค์ประกอบทางเคมีของหินและแร่ องค์ประกอบทางเคมีของอุกกาบาต ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่ผ่านโลก จึงสามารถแบ่งชั้น โครงสร้าง โลกได้ 2 แบบ คือโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมีแบ่งไดเ้ ปน็ 3 ชั้น ได้แก่ เปลือกโลก เนื้อโลก และแก่นโลก และโครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล แบ่งได้เป็น 5 ชั้น ได้แก่ ธรณีภาค ฐานธรณี ภาค มัชฌิมภาค แกน่ โลกชน้ั นอก และแกน่ โลกชน้ั ใน 6. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ทักษะของผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21 (3R 8C + 2L) (จดุ เนน้ สกู่ ารพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น) ทกั ษะการอ่าน (Reading) ทักษะการ เขยี น (Writing) ทกั ษะการ คิดคำนวณ (Arithmetic) ทกั ษะดา้ นการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ญั หา (Critical thinking and problem solving) ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม (Creativity and innovation) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผนู้ ำ (Collaboration , teamwork and leadership) ทกั ษะดา้ นความเขา้ ใจตา่ งวฒั นธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding) ทักษะด้าน การส่ือสาร สารสนเทศ และร้เู ทา่ ทนั สอื่ (Communication information and media literacy) ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (Computing) ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and learning self-reliance, change) ทกั ษะการเปลี่ยนแปลง (Change) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ภาวะผูน้ ำ (Leadership)
75 7. ชิน้ งานหรือภาระงาน ( หลกั ฐาน / รอ่ งรอยแสดงความรู้ ) - แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 เรอ่ื ง โครงสร้างโลก - เกมกิจกรรมตอบคำถามเกย่ี วกบั โครงสรา้ งโลก (ก่อนและหลังเรยี น) - กจิ กรรมที่ 5.2 เรอื่ ง แบบจำลองโครงสรา้ งโลก 8. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ หน่วยยอ่ ยท่ี 5 เรือ่ ง โครงสร้างโลก ช่วั โมงท่ี 5 : ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ขัน้ ท่ี 1 : ข้นั สร้างความสนใจ (Engagement) 1.1 ครูนำเขา้ สบู่ ทเรยี นด้วยการใหน้ ักเรยี นพิจารณารปู องค์ประกอบทางเคมีของโลก เพือ่ เป็น การกระตุ้นความสนใจในการเรยี นรู้ รูปท่ี 5. 1 รูปองคป์ ระกอบทางเคมขี องโลก ขน้ั ที่ 2 : ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration) 2.1 นักเรยี นศึกษา เรอ่ื ง โครงสร้างโลก จากหนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ วชิ า วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 2.2 นักเรยี นศกึ ษา เรื่อง โครงสร้างโลก จากส่ือการสอน Power point ทคี่ รูเตรยี มไว้
76 ข้ันที่ 3 : ขนั้ อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 3.1 ครูให้นกั เรยี นปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 5.2 เรื่อง แบบจำลองโครงสร้างโลก เพอื่ เปรยี บเทียบชัน้ ตา่ ง ๆ ของการแบ่งโครงสร้างโลกที่แบ่งตามองค์ประกอบทางเคมีและการแบ่งโครงสร้างโลกตามสมบัติเชิ งกล (อาจให้นกั เรียนทำนอกเวลาและมานำเสนอได้ตามความเหมาะสม) ขน้ั ที่ 4 : ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 ให้นักเรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรม และร่วมกันอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยครู สะท้อนความคิดเห็นเกี่ยวกับแบบจำลองของนักเรียน และให้เพื่อนร่วมชั้นสะท้อนและแลกเปลี่ยนความ คิดเหน็ เก่ยี วกบั แบบจำลองของเพอื่ นซงึ่ มีแนวทางตามเกณฑ์การประเมนิ เพื่อเป็นแนวทางในการปรบั ปรุง แบบจำลองให้สมบรู ณย์ ิ่งขน้ึ 4.2 ครูตรวจสอบความเข้าใจนกั เรยี นเกี่ยวกบั การแบง่ ชนั้ โครงสร้างโลก โดยให้นักเรียนเติมข้อมูล การแบง่ ช้ันโครงสรา้ งโลกลงในตารางหน้า 108 ซงึ่ มีแนวคำตอบดงั น้ี ข้นั ท่ี 5 : ข้ันประเมิน (Evaluation) 5.1 ครูประเมนิ จากการทำกิจกรรมที่ 5.2 เร่ือง แบบจำลองโครงสรา้ งโลก การตอบคำถามจาก แบบฝกึ หัดท้ายบทของนักเรยี น 5.2 ครูประเมนิ จากการทน่ี ักเรยี นมีสว่ นรว่ มในการเรยี นการสอน และการสบื เสาะหาความรู้ 9. สอ่ื การสอน - หนังสือเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ วชิ าวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ กลุ่มสาระการ เรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 - ส่อื การสอน Power point - แบบฝกึ หัดท้ายบทท่ี 3 เรอื่ ง โครงสรา้ งโลก - เกมกจิ กรรมตอบคำถามเกี่ยวกบั โครงสรา้ งโลก - กจิ กรรมท่ี 5.2 เร่ือง แบบจำลองโครงสร้างโลก
77 10. แหล่งเรียนรูใ้ นหรือนอกสถานท่ี - หอ้ งเรียน - ห้องสมุด - อินเตอร์เนต็ 11. การวดั และประเมนิ ผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ ีวัด เครอ่ื งมือวัด เกณฑ์การให้ เกณฑก์ ารประเมนิ -กจิ กรรมที่ 5.2 คะแนน หรือ สง่ิ ทตี่ ้องการจะวดั และ 4 = ดีมาก 4 = ดีมาก ประเมินผล 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1. อธบิ ายการแบง่ ชัน้ และสมบัติ -ประเมินจากการ 1 = ควรปรับปรุง 1 = ควรปรบั ปรงุ 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก ของโครงสร้างโลกได้ (K) ทำกจิ กรรมท่ี 5.2 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 2.ยกตัวอย่างขอ้ มลู ทส่ี นับสนุน -ประเมนิ จากการ - 1 = ควรปรบั ปรุง 1 = ควรปรับปรุง การแบ่งชนั้ และสมบัติของ ตอบคำถามของ 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก โครงสร้างโลกได้ (P) นักเรยี น 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 3. มงุ่ มัน่ ในการเรยี นและมีความ -ประเมนิ จาก -แบบฝกึ หดั ท้าย 1 = ควรปรบั ปรุง 1 = ควรปรับปรงุ รับผิดชอบในงานทไ่ี ดร้ บั แบบฝึกหัดท้ายบท บทที่ 5 มอบหมาย (A) ที่ 5
78 สมรรถนะของผเู้ รียน สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น วธิ วี ดั เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารให้ เกณฑ์การประเมนิ คะแนน 1. ความสามารถในการคิด สงั เกต แบบประเมนิ ใบงาน 4 = ดีมาก 4 = ดีมาก 2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา สงั เกต 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี สงั เกต 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง แบบประเมินใบงาน 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรุง 1 = ควรปรับปรงุ แบบประเมนิ ใบงาน 4 = ดีมาก 4 = ดีมาก 3 = ดี 3 = ดี 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง
79 ทักษะของผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 เคร่อื งมอื วัด เกณฑ์การให้ เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน ทักษะของผเู้ รยี นในศตวรรษ วิธวี ดั แบบประเมนิ ท่ี 21 พฤติกรรม 4 = ดมี าก 4 = ดีมาก รายบุคคล 3 = ดี 3 = ดี 1. ทักษะด้านการคิดอยา่ งมี สงั เกต 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ วจิ ารณญาณและทกั ษะในการ แบบประเมนิ 1 = ควรปรบั ปรุง 1 = ควรปรบั ปรุง แกป้ ญั หา(Criticalthinking พฤตกิ รรม 4 = ดมี าก 4 = ดีมาก and problem solving) รายบคุ คล 3 = ดี 3 = ดี 2. ทักษะดา้ นความร่วมมือการ สังเกต 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ ทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง (Collaboration , teamwork and leadership) 3. ทกั ษะด้านการสอื่ สาร สังเกต แบบประเมิน 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก สารสนเทศและรู้เทา่ ทันสอ่ื พฤติกรรม 3 = ดี 3 = ดี (Communication รายบุคคล 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ information and media 1 = ควรปรบั ปรงุ 1 = ควรปรับปรุง literacy) 4. ทักษะการเรยี นรู้ (Learning สังเกต แบบประเมิน 4 = ดมี าก 4 = ดมี าก Skills) พฤติกรรม 3 = ดี 3 = ดี รายบุคคล 2 = พอใช้ 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรงุ 1 = ควรปรับปรุง ตารางเกณฑก์ ารประเมนิ ผลต่าง ๆ เกณฑ์การประเมิน ดีมาก ระดับคะแนน ดี 4 พอใช้ 3 2 ควรปรบั ปรุง 1
80 12. กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. .................................. .................................................................................. ............................................................................. ............................................................................................................................. .................................. 13. บนั ทึกผลหลังการสอน สรุปผลการเรยี นการสอน นักเรียนทัง้ หมดจำนวน.....................คน จุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวนนกั เรยี นที่ผ่าน จำนวนนักเรียนที่ไมผ่ ่าน จำนวนคน รอ้ ยละ จำนวนคน ร้อยละ 15. ปัญหา/อปุ สรรค/แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................ ............................................................... ............................................................................................................................. .................................. 16. ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................. ................. ................................................................................................................. ............................................ ลงชอ่ื ........................................................................ ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ........................................... () ลงชื่อ.......................................................................... หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ () ลงชอื่ .......................................................................... รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ ()
81 ความเหน็ ของหัวหนา้ สถานศกึ ษา ได้ทำการตรวจแผนการเรียนรู้ของ....................................................................แล้วมีความคดิ เหน็ ดังนี้ 13. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 14. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้ เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม ยังไมเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 15. ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................... ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................... ลงชื่อ............................................................................................... ( …………………..........................……………………………… ) ผู้อำนวยการโรงเรยี น…………………………………………………………..
82 กจิ กรรมที่ 5.2 เรื่อง แบบจำลองโครงสร้างโลก ชื่อ - สกุล ................................................................................... ชนั้ ....................... เลขที่ ........................ จุดประสงค์กจิ กรรม สร้างแบบจำลอง อธิบายและเปรียบเทียบการแบ่งโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี และ สมบตั ิเชงิ กล เวลาที่ใช้ 1-2 ชัว่ โมง วัสดุ-อุปกรณ์ โฟม ดนิ นำ้ มัน กรรไกร คตั เตอร์ สี กระดาษ หรอื วสั ดแุ ละอุปกรณ์อ่ืนตามความเหมาะสม สถานการณ์ \"โรงเรียนจะจัดนิทรรศการวิทยาศาสตร์เพื่อการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ของนักเรียนในแต่ละระดับช้นั ซึ่งในห้องเรียนของนักเรียนได้รับมอบหมายให้นำเสนอความรู้เกี่ยวกับ \"โครงสร้างโลก\" โดยมีพื้นที่จัด แสดงขนาด กว้าง 1.5 เมตร ยาว 1.5 เมตร ให้นักเรียนออกแบบและสร้างแบบจำลองโครงสร้างโลกท่ี แสดงการแบ่งชั้นโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมีและสมบตั ิเชงิ กลอยู่ในแบบจำลองเดียวกัน โดย ให้มีความหนาของแตล่ ะชัน้ ตามสดั ส่วนจรงิ \" วิธีการทำกิจกรรม 1. วิเคราะหส์ ถานการณท์ ี่กำหนด 2. สืบค้นข้อมลู และอภปิ รายเกย่ี วกบั องค์ความรกู้ ารแบ่งชน้ั โครงสรา้ งโลกตามองคป์ ระกอบทาง เคมีและสมบตั ิเชงิ กล 3. ออกแบบและสร้างแบบจำลองโครงสร้างโลกตามสดั สว่ นท่ีถกู ต้อง จากน้นั สร้างแบบจำลอง ตามท่ีได้ออกแบบไว้ 4. นำเสนอแบบจำลองและอภปิ รายร่วมกนั 5. ปรบั ปรงุ แบบจำลองให้ถกู ตอ้ งและสมบูรณ์
83 ผลงานของนกั เรยี น สรุปและอภปิ รายผล ....................................................................................................................................................... ............... ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................... ............................................................................................................................. ......................................... ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................... .................................................................................................................................... ..................................
84 แบบฝกึ หัดทา้ ยบทท่ี 5 เรือ่ ง โครงสรา้ งโลก ชื่อ - สกุล ................................................................................... ชั้น ....................... เลขที่ ........................ คำชแ้ี จง * ให้นักเรยี นตอบคำถามต่อไปน้ีให้ถูกตอ้ ง 1. จงเติมชอ่ื ชัน้ โครงสร้างโลกให้สมั พันธก์ ับสมบตั ิและองคป์ ระกอบของโครงสรา้ งโลก ชั้นโครงสรา้ งโลก องคป์ ระกอบทางเคมี ความหนาแน่โดยเฉล่ีย เนอ้ื โลก (g/cm3) องค์ประกอบทางเคมี ประกอบดว้ ยแร่ทเ่ี ป็ สารประกอบของซลิ ิกอน แมกนเี ซยี มและเหลก็ แกน่ โลก เปลอื กโลก 2.8 2. หากผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบทางเคมีของหนิ ก้อนหนึ่งพบวา่ เปน็ หินแกรนิต หนิ ก้อนน้ีมีกำเนิด มาจากส่วนใดของโครงสร้างโลก …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เน้ือโลกประกอบดว้ ยสสารในสถานะใด เป็นสว่ นใหญ่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. หลักฐานใดทีน่ ำมาใช้ยนื ยันวา่ แก่นโลกชน้ั นอกเปน็ ของเหลว …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. เพราะเหตใุ ดผลการศึกษาอกุ กาบาตเหลก็ จึงใชเ้ ปน็ ข้อมูลอธบิ ายองค์ประกอบของแกน่ โลกได้ .................................................................................................................................................................. .... ......................................................................................................................................................................
85 6. นอกจากผลการศึกษาอุกกาบาตเหล็กแล้ว ข้อมูลใดช่วยสนับสนุนว่าแก่นโลกประกอบด้วยเหล็ก เปน็ สว่ นมาก .................................................................................................................................................................. .... .................................................................................................................................................................. .... 7. เพราะเหตใุ ดคลืน่ ไหวสะเทือนจงึ เกดิ การสะทอ้ นและหักเหเมอ่ื เคลื่อนทผ่ี า่ นโครงสรา้ งโลก .................................................................................................................................................................. .... .................................................................................................................................................................. .... 8. ลาวาที่ปะทขุ น้ึ มาบนผิวโลกมีแหล่งกำเนิดมาจากชั้นใดของโครงสร้างโลก .................................................................................................................................................................. .... .................................................................................................................................................................. .... 9. เขตความเร็วต่ำ มีสมบัติแตกตา่ งจากธรณภี าคอย่างไร .................................................................................................................................................................. .... .................................................................................................................................................................. .... 10. คลื่นทุติยภูมิที่เกิดขึ้นใหม่เมื่อคลื่นปฐมภูมิเคลื่อนที่ผ่านแก่นโลกชั้นนอกเข้าไปยังแก่นโลกชั้นใน สามารถเดนิ ทางออกมาทผี่ วิ โลกไดห้ รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด .................................................................................................................................................................. .... .................................................................................................................................................................. .... (สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2562)
86 แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล ช่อื - สกุล ................................................................................... ชั้น ....................... เลขที่ ........................ ลำดบั ประเดน็ การประเมนิ 4 (ดีมาก) คุณภาพการปฏิบตั ิ 3 (ด)ี 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรงุ ) 1 ตรงจุดประสงคท์ ่กี ำหนด 2 ถกู ต้องสมบูรณ์ 3 มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ 4 มคี วามเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย 5 ตรงตอ่ เวลา รวม ลงชื่อ................................................................ ผปู้ ระเมิน วันท.่ี ................./......................../.......................
87 เกณฑก์ ารประเมินคะแนนใบงาน ประเดน็ การประเมิน 4 (ดมี าก) คะแนน 1 (ปรบั ปรงุ ) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1. ผลงานตรงตาม ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วาม ผลงานมีความ ผลงานไม่ จดุ ประสงค์ สอดคลอ้ งกับ สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกบั สอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคข์ อง จดุ ประสงคข์ อง จดุ ประสงคข์ อง จุดประสงค์ของ เนือ้ หาทเ่ี รียนทุก เนอื้ หาทเี่ รียนเป็น เนอ้ื หาท่เี รียนบาง เนือ้ หาทเ่ี รียน ประเดน็ สว่ นใหญ่ ประเดน็ 2.ผลงานมคี วามถูกตอ้ ง เนอ้ื หาสาระถูกต้อง เนือ้ หาสาระถูกตอ้ ง เนอื้ หาสาระถูกตอ้ ง เนือ้ หาสาระไม่ สมบูรณ์ ครบถ้วน เป็นสว่ นใหญ่ บางประเดน็ ถูกตอ้ ง 3.ผลงานมคี วามเปน็ ระเบยี บ ผลงานมีความเปน็ ผลงานมีความเปน็ ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานไมม่ คี วาม เรียบร้อย ระเบยี บเรยี บรอ้ ย ระเบยี บเรยี บรอ้ ย ระเบียบเรยี บร้อย เปน็ ระเบยี บ นา่ อา่ น แตย่ ังบกพรอ่ ง แต่ยีงบกพรอ่ ง เรียบรอ้ ย บางส่วน 4. การสง่ งานตรงตอ่ เวลา ส่งงานตรงตามเวลา ส่งงานชา้ เลยเวลาท่ี สง่ งานชา้ เลยเวลาท่ี สง่ งานชา้ เลยเวลาท่ี ท่ีกำหนด กำหนด1-2วัน กำหนด3-5วนั กำหนดมากกวา่ 5 วัน เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน ระดับคณุ ภาพ 16–20 ดีมาก 11–15 ดี 6–10 พอใช้ 0–5 ปรบั ปรุง
ช บรรณานุกรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. \"ระบบสุริยะ.\" In คู่มือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ, by สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี, 64-85. ประเทศไทย: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี, 2562.
Search