Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 4

หน่วยที่ 4

Published by เกตุมณี ณ., 2021-03-08 07:08:49

Description: หน่วยที่ 4

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 4 การดูแลสุขภาพและการป้องกนั

หวั ข้อเรื่อง (Topics) 4.1 ความหมายของสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพ 4.2 พฤติกรรมบริโภคอาหารของวยั รุ่น 4.3 ปริมาณสารอาหารต่าง ๆ ท่ีวยั รุ่นควรจะไดร้ ับ 4.4 วยั รุ่นกบั กีฬา 4.5 หลกั การปฐมพยบาลการบาดเจบ็ จากการเล่นกีฬา 4.6 การควบคุมและป้องกนั โรค แนวคิดสำคัญ (Main ldea) เน่ืองจากในปัจจบุ นั มนุษยต์ อ้ งการความมน่ั คงในดา้ นสุขภาพ ดงั น้นั จึงมีการศึกษา วิธีการส่งเสริมสุขภาพทางดา้ นกายและสุขภาพทางจิตใจ รวมท้งั กระบวนการที่ทาให้ สุขภาพดียงิ่ ข้ึนเพ่ือการดาเนินชีวิตอยา่ งเป็นสุข

สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความรู้เก่ียวกบั การดูแลสุขภาพและการป้องกนั วตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) 1. บอกความหมายของสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพได้ 2. อธิบายพฤติกรรมบริโภคอาหารของวยั รุ่นได้ 3. บอกปริมาณสารอาหารต่าง ๆ ท่ีวยั รุ่นควรจะไดร้ ับต่อวนั ได้ 4. อธิบายการเล่นกีฬาอยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมกบั วยั รุ่นได้ 5. อธิบายหลกั ารปฐมพยาบาลการบาดเจบ็ จากการเล่นกีฬาได้ 6. บอกปฏิบตั ิการควบคุมและป้องกนั โรคได้

เนื้อหำสำระ (Content) 4.1 ควำมหมำยของสุขภำพและกำรส่งเสริมสุขภำพ สุขภาพ หมายถึง ภาวะแห่งความสมรณ์และความสมดุลของบคุ คลท้งั ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสงั คม รวมท้งั สภาวะท่ีปราศจาก โรคและความพิการ และการใชช้ ีวิตอยรู่ ่วมกบั คนอ่ืนในสงั คมอยา่ งปกติสุข การมีสุขภาพดีเป็นส่ิงที่แสดงใหเ้ ห็นถึงการมีคณุ ภาพ ชีวิตที่ดีอนั เป็นผลมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีรวมท้งั การมีปฏิสมั พนั ธ์กบั สภาพแวดลอ้ มไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม ขอบเขต ของสุขภาพ จากความหมายของสุขภาพดงั กลา่ ว แสดงใหเ้ ห็นว่ามนุษยแ์ ละส่ิงแวดลอ้ มมีความสมั พนั ธก์ นั ซ่ึงนาไปสู่สภาวะสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพเป็นมิติหน่ึงของสุขภาพ หมายถึง การกระทาของบคุ คลเพื่อใหม้ ีสุขภาพดีท้งั ทางดา้ น ร่างกาย จิตใจ และสงั คม การดแู ลสุขภาพตนเองเพื่อส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย การดูแลสุขภาพตนเอง เป็นกระบวนการท่ีบุคคลกระทากิจกรรม ตา่ ง ๆ ท่ีเป็นการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกนั การเกิดโรคและการเจบ็ ปวด ควรรักษาอาการผดิ ปกติและการเจบ็ ป่ วย การดแู ลสุขภาพ ตนเองแบ่งออกเป็น 3 ลกั ษณะ คือ 1. การดูแลสุขภาพตนเองในภาวะปกติ 2. การดแู ลสุขภาพตนเองเม่ือรู้สึกว่าผิดปกติ 3. การดูแลสุขภาพตนเองเม่ือเจ็บป่ วยและไดร้ ับการกาหนดวา่ เป็นผปู้ ่ วย

4.2 พฤตกิ รรมกำรบริโภคอำหำรของวยั รุ่น ปัจุบนั วยั รุ่นเร่ิมให้ความสนใจและดแู ลตวั เองมากข้ึน โดยมีการสรรหาวิธีการตา่ ง ๆ เพื่อทาใหต้ วั เองมีสุขภาพดแี ละดดู ี ไมว่ า่ จะเป็นการ ออกกาลงั กายการบริโภดอาหารท่ีมีประโยชน์ อาหารเสริม ผกั ผลไมเ้ ป็นตน้ แต่ส่ิงสาคญั กว่าสิ่งอ่ืนใดคือการบริโภคอาหารท่ีมีประโยชน์ ตามหลกั โภชนาการ กล่าวคืออาหารครบท้งั 5 หมู่ และออกกาลงั กายอยา่ งสม่าเสมอ หากทาท้งั สองอยา่ งควบคกู่ นั ไป จะทาใหม้ ีสุขภาพที่ แขง็ แรงและดดู ีไปพร้อม ๆ กนั 4.2.1 พฤตกิ รรมกำรบริโภคอำหำรของวยั รุ่นท่ีไม่ถูกต้อง 1. อดอาหารบางม้ือ วยั รุ่นและเยาวชนในวนั น้ีมกั จะหมกม่นุ อยกู่ บั การลดน้าหนกั จึงเลือกใชว้ ิธีการอดอาหารเพ่ือใหต้ นมีรูปร่างท่ีสวยงาม 2. มีนิสยั การบริโภคที่ไมด่ ี เนื่องจากกิจกรรมต่าง ๆ ของวยั รุ่นท้งั ดา้ นการศึกษาหรือทางสงั คมทาให้ไม่ค่อยไดร้ บั ประทานอาหารท่ีบน ส่วนมากจะไปกบั เพื่อน ๆ ซ่ึงอาจทาใหไ้ ดร้ ับอาหารที่มีสารอาหารไม่ครบถว้ น 3 เบื่ออาหาร เป็นปัญหาที่พบบอ่ ยในวยั รุ่น สาเหตทุ ่ีทาให้วยั รุ่นเบื่ออาหาร ก็คือ ไดร้ ับการกระทบกระเทือนทางจิตใจหรือทางอารมณ์ถกู รบกวน เชน่ ผิดหวงั ในเร่ืองต่าง ๆ เป็นตน้ 4. ชอบรับประทานอาหารจุกจิ กนอกจากอาหารม้ือหลกั แลว้ ยงั นิยมรับประทานระหวา่ งม้ืออาจก่อใหเ้ กิดโรดอว้ น โรคฟันผไุ ด้ เป็นตน้ 5. ความเช่ือผดิ ๆ ในเรื่องอาหารวยั รุ่นมกั หลงเชื่อคาเชิญชวนหรือโฆษณาที่ผดิ ๆ วา่ อาหารประเภทน้นั มีประโยชน์หรือสามารถรักษาโรค ต่าง ๆ ได้ จึงนิยมซ้ือตามคาเชิญชวน โดยไมร่ ู้ว่าส่ิงน้นั อาจส่งผลเสียตอ่ ร่างกายตามมาภายหลงั ได้

4.3 ปริมำณสำรอำหำรต่ำง ๆ ทวี่ ยั รุ่นควรได้รับ กรมอนามยั แนะนาให้วยั รุ่นควรไดร้ ับปริมาณสารอาหารท่ีจาเป็นตอ่ ร่างกายในแต่ละวนั ดงั น้ี 1. คาร์โบไฮเดรต : สารอาหารประเภทน้ีควรไดร้ ับเพียง 8-12 ทพั พี 2. โปรตีน : จาพวกเน้ือสัตวห์ รือถว่ั ตา่ ง ๆ ควรไดร้ ับ 45-60 กรัมต่อวนั หรือ 2-3 ส่วนต่อวนั 3. ไขมนั หรือน้ามนั : ควรไดร้ ับนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 30 ตอ่ วนั โดยเฉพาะไขมนั อิ่มตวั ควรไดร้ ับไม่เกินร้อยละ 10 4. ผกั ต่าง ๆ : ควรไดร้ ับ 2-4 ส่วนตอ่ วนั หรือ 4 -6 ทพั พี 5. ผลิตภณั ฑท์ ีท่ ามาจากนม : ควรไดร้ ับ 1-2 แกว้ ต่อวนั 6. น้าตาลหรือเกลือ : ควรไดร้ ับเพียงเลก็ นอ้ ยต่อวนั 7. แคลเชียม : เพือ่ พฒั นาการของกระดูกทด่ี ี วยั รุ่นควรไดร้ ับ 1,200-1,500 มก./วนั หรือไดร้ ับจากสารอาหารท่ีมี ปริมาณแคลเซียมสูง 2-3 ส่วนต่อวนั 8. ธาตุเหล็ก : เพ่อื พฒั นาการทด่ี ีของกลา้ มเน้ือและการผลิตเมด็ เลือด วยั รุ่นชายตอ้ งการ 12 มก./วนั ส่วนวยั รุ่นหญิง จะตอ้ งการ 15 มก./วนั

4.4 วยั รุ่นกบั กฬี ำ วยั รุ่นสามารถเคล่ือนไหวไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์แบบและไมจ่ ากดั แต่สมรรถภาพทางร่างกายของแตล่ ะบุคคลจะแตกตา่ งกนั ข้ึนอยกู่ บั การดแู ลในวยั เดก็ ผทู้ ี่ตอ้ งการเป็นนกั กีฬาสามารถฝึกร่างกายและทกั ษะทางกีฬาไดเ้ ตม็ ท่ีทกุ รูปแบบ ในชว่ งวยั น้ี ผชู้ ายจะออกกาลงั กายเพื่อให้เกิดกาลงั ความแขง็ แรง ความรวดเร็ว และฝึกความอดทน เช่น การวิ่ง วา่ ยน้า ถีบจกั รยาน เล่นบาสเกตบอล วอลเลยบ์ อล โปโลน้า ฟุตบอล กระโดดสูง กรรเชียง เป็นตน้ ส่วนผหู้ ญิงจะเนน้ การออกกาลงั กายเสริมสร้างรูปร่างทรวดทรง เช่น ว่ายน้า ยิมนาสติก วอลเลยบ์ อล เป็นตน้ การออกกาลงั กายที่ดีควรปฏิบตั ิเป็นกิจวตั รประจาวนั วนั ละ 1 ชวั่ โมง โดยใชก้ ารออกกาลงั กายแบบ หนกั และเบาสลบั กนั 4.4.1 ประโยชน์ของกำรออกกำลงั กำย 1. ทาใหร้ ะบบอวยั วะตา่ ง ๆ ภายในร่างกายมีการเคลื่อนไหว แขง็ แรง คงทน 2. ทาให้รูปร่าง ทรวดทรงดี 3. ทาให้ร่างกายมีพฒั นาการตามวยั และแขง็ แรง 4. ทาให้จิตแจ่มใส 5. ช่วยใหร้ ะบบไหลเวียนเลอื ด ปอด หวั ใจทางานดีข้ึน ป้องกนั โรคหวั ใจ ความดนั โลหิตสูงและไม่เป็นลมหนา้ มืดง่าย 6. ชว่ ยผอ่ นคลายความครียด ไม่ซึมเศร้า ไม่วิตกกงั วล สุขภาพจิตดีข้ึน และนอนหลบั สบาย 7. ช่วยใหร้ ะบบขบั ถ่ายดีข้ึน 8. ช่วยควบคุมน้าหนกั ตวั

4.5 หลกั กำรปฐมพยำบำลกำรบำดเจ็บจำกกำรเล่นกฬี ำ การเล่นกีฬาในปัจจบุ นั กาลงั ไดร้ ับความนิยมจากประชาชนมากข้ึน มีการจดั แข่งขนั ท้งั ใน ระดบั นกั เรียนอดุ มศึกษา ประชาชนทว่ั ไป และระดบั ชาติ ผลจากการแขง่ ขนั ประการหน่ึงที่ เกิดข้ึนก็คือ การไดร้ ับบาดเจบ็ จากการกีฬาในแต่งๆมากมาย ท้งั ที่เกิดจากอบุ ตั ิเหตุ เกิดจากการ ฝึกซอ้ มมากเกินไป หรือแมแ้ ตค่ วามรู้เท่าไม่ถึงการณ์ในการปฐมพยาบาล ทาใหน้ กั กีฬาผนู้ ้นั มี ประสิทธิภาพลดลง เล่นกีฬาไดไ้ ม่เตม็ ที่ เกิดเป็นโรคเร้ือรังประจาตวั ทาให้เล่นกีฬาไมไ่ ด้ หรือ แมแ้ ตจ่ ะออกกาลงั กายกย็ งั ทาไม่ไดซ้ ่ึงเป็นสิ่งที่น่าเสียใจมากการเล่นกีฬาหรือออกกาลงั กาย เป็นส่ิงจาเป็นในชีวติ ประจาวนั เพราะจะช่วยใหร้ ่างกายแขง็ แรงสมบูรณ์และมีสุขภาพดีข้ึนได้ แตถ่ า้ มีการปฏิบตั ิท่ีไมถ่ ูกตอ้ ง ขาดความระมดั ระวงั กอ็ าจเกิดการบาดเจบ็ และอาจเป็นอนั ตราย ถึงชีวติ ไดเ้ ช่นกนั ดงั น้นั การมีความรู้ ความเขา้ ใจ เจตคติ และการปฏิบตั ิท่ีถูกตอ้ งตอ่ การ บาดเจบ็ ท่ีเกิดข้ึนจกการเล่นกีฬาหรือออกกาลงั กาย จะช่วยใหก้ ารบาดเจบ็ หายเร็วข้ึนและ สามารถกลบั ไปเล่นกีฬาน้นั ๆ ไดอ้ ีกดว้ ยความปลอดภยั

4.6 กำรควบคุมและป้องกนั โรค การควบคุมและป้องกนั โรค แบง่ ออกเป็น 3 ระดบั ดงั น้ี 4.6.1 กำรป้องกนั โรคล่วงหน้ำ การป้องกนั โรคล่วงหนา้ (Primary Prevention) คือ การป้องกนั โรคก่อนระยะที่โรคเกิดเป็นวิธีการที่ยอมรบั กนั ทว่ั ไปวา่ มี ประสิทธิภาพมากท่ีสุด ประหยดั ท่ีสุด และไดผ้ ลมากที่สุดกว่าการป้องกนั และควบคุมโรคระดบั อ่ืนๆวตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของการ ป้องกนั โรคลว่ งหนา้ คือ การปรับสภาพความเป็นอยขู่ องมนุษยห์ รือการปรับปรุงภาวะส่ิงแวดลอ้ มหรือท้งั สองประการร่วมกนั 4.6.2 กำรป้องกนั ในระยะมโี รคเกดิ การป้องกนั ในระยะมีโรคเกิด (Secondary Prevention) คือ การป้องกนั โรคลว่ งหนา้ ระดบั ที่สอง ในกรณีท่ีการดาเนินงานระดบั ท่ี หน่ึง ยงั ไม่ไดผ้ ล ทาใหม้ ีโรคเกิดข้ึน ดงั น้นั ความม่งุ หมายที่สาคญั ของการป้องกนั โรคในระยะมีโรคเกิด คอื การระงบั กระบวนการ ดาเนินของโรค การป้องกนั การแพร่เช้ือและระบาดของโรคไปยงั บคุ คลอื่นในชมุ ชน 4.6.3 กำรป้องกนั กำรเกดิ ควำมพิกำรและกำรไร้สมรรถภำพ การป้องกนั การเกิดความพิการและการไร้สมรรถภาพ (Tertiary Prevention) คือ การรักษาผปู้ ่ วยท่ีมีอาการให้หายโดยเร็ว เพ่ือลด ผลเสียและโรคแทรกซอ้ นท่ีจะเกิดข้ึนตามมาภายหลงั การเกิดโรครวมท้งั การติดตามสงั เกตและใหก้ ารป้องกนั อยา่ งต่อเน่ือง เพื่อ ป้องกนั การเกิดโรคซ้า การป้องกนั ในระดบั น้ีจะรวมถึงการบาบดั ความพิการและฟ้ื นฟูสมรรถภาพร่างกาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook