Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์

วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์

Published by e27asy, 2017-09-24 11:40:21

Description: หน่วยที่ 4 เรื่องวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์

Search

Read the Text Version

ชดุ การสอน ชุดท่ี 2 วงจรเรยี งกระแส วิชา อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร รหัส 2104-2102 หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี พุทธศกั ราช 2556หนว่ ยท่ี 4 เรื่องวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ นายสมพร บุญรนิ สาขาวชิ าชา่ งไฟฟา้ กาลัง วทิ ยาลยั เทคนคิ ชลบุรี สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

1อุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจร 2104-2102 ใบความรู้ท่ี 4 สอนคร้งั ที่ 5 รวม 4 ช่ัวโมงชอื่ วิชา อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์และวงจร รหัสวิชา 2104-2102 จานวน 1 ช่ัวโมงหนว่ ยท่ี 4 ชื่อหนว่ ย วงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์ช่อื เรือ่ ง วงจรเรยี งกระแสแบบเต็มคลื่นแบบบริดจ์สาระสาคัญ วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์เป็นวงจรท่ีนิยมใช้กันมากที่สุดในการแปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟา้ กระแสตรง เพอื่ ใช้กับแหล่งจ่ายไฟฟา้ กระแสตรง เนอื่ งจากมีประสทิ ธภิ าพสงู โดยมีคา่ แรงดนั ไฟฟ้าเฉลี่ย มีค่าสูงกว่าวงจรเรียงกระแสแบบครึ่งคลื่น และได้รูปคลื่น VOUT เป็นแบบเต็มคล่ืน โดยไม่ต้องใช้หม้อแปลงไฟฟ้าแบบมีแทป วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ใช้ไดโอด 4 ตัว ดังน้ันผู้เรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ วงจร หลักการทางาน การคานวณหาค่าแรงดันเฉลยี่ และค่า PIV วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ที่มีวงจรฟิลเตอร์และการคานวณ การตรวจสอบวงจรเรียงกระแส เพ่ือเป็นพื้นฐานในการออกแบบและตรวจซอ่ มวงจรแหล่งจา่ ยไฟฟ้ากระแสตรงสาระการเรียนรู้ 1. วงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ 2. การทางานของวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ 3. การคานวณหาคา่ แรงดนั เฉลีย่ ของวงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์ 4. การคานวณหาค่า PIV ของไดโอดในวงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ 5. วงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จท์ ี่มีวงจรฟิลเตอร์ 6. การคานวณหาค่าแรงดันเฉล่ยี ของวงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จ์ท่ีมีวงจรฟลิ เตอร์ 7. การตรวจสอบวงจรเรยี งกระแสจุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ท่ัวไป เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ท่ีประกอบวงจรฟิลเตอร์ การตรวจสอบวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ และปฏิบัติการต่อวงจรทดลองเพ่ือศึกษาการทางานของวงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. บอกลักษณะของวงจรเรยี งกระแสแบบบริดจไ์ ด้ 2. อธบิ ายหลักการทางานของวงจรเรียงกระแสแบบบริดจไ์ ด้ 3. คานวณหาคา่ แรงดนั เฉลี่ย ของวงจรเรียงกระแสแบบบริดจไ์ ด้ 4. คานวณหาค่า PIV ของไดโอดในวงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์ได้ 5. อธบิ ายรปู คล่ืนไฟฟ้าของวงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จท์ ม่ี วี งจรฟลิ เตอร์ได้ 6. คานวณหาค่าแรงดันเฉลี่ยของวงจรเรยี งกระแสแบบบริดจท์ มี่ ีวงจรฟิลเตอร์ได้ 7. อธบิ ายการตรวจสอบวงจรเรียงกระแสได้

2 อปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์และวงจร 2104-21021. วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ (Bride Rectifier Circuit) วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์เป็นวงจรที่นิยมใช้กันมากวงจรหนึ่งในการแปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้ากระแสตรง เน่ืองจากมีรูปคลื่นเอาท์พุตของวงจรเป็นแบบเต็มคลื่น และไม่ต้องใช้หม้อแปลงแบบมีแทป (Center-tapped) และวงจรเรียงกระแสแบบบริดจย์ ังสามารถต่อเป็นวงจรแหลง่ จ่ายไฟฟ้ากระแสตรงแบบคไู่ ด้ ซึ่งวงจรน้จี ะใชไ้ ดโอด 4 ตัว ดังแสดงในรปู 4.1D1 D2VAC IN +D3 D4 RL VDC OUT - รปู ท่ี 4.1 แสดงวงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ นอกจากวงจรแบบบริดจ์ที่ใช้ไดโอดจานวน 4 ตัวแล้วยังมี Diode Bridge ก็คือไดโอดที่ต่อกันแบบ Bridge แล้วหลอ่ อย่ใู นตวั ถังเดียวกัน มขี าออกมาให้ใชง้ านทั้งหมด 4 ขา ลดความย่งุ ยากในการเอาไดโอด 4 ตัวมาใชง้ าน ดังแสดงในรูปท่ี 4.2 รปู ท่ี 4.2 แสดงไดโอดแบบบรดิ จ์ ที่มา : http://p.globalsources.com, http://www.germes-online.com2. การทางานของวงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์ การทางาน ของวงจรแบ่งออกเป็น 2 ข้ันตอน ดงั รูปท่ี4.3 เมื่อพจิ ารณาครึ่งไซเคลิ บวกของแรงดนั ขาเข้า (Vm) ทาเป็นรูปคลื่นไซน์ จะทาให้ไดโอด D3 และ D3 ไดร้ ับการไบแอสตรงจะเกดิ กระแสไหลผ่าน D2 ผา่ นโหลด (RL) และผ่าน D3 ครบวงจรที่หมอ้ แปลง

3 อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละวงจร 2104-2102Vm D1 D2VAC IN + D3 D4 RL VDC OUT - รูปที่ 4.3 แสดงการทางานในครง่ึ รปู คลนื่ บวก และในครึง่ ไซเคลิ ลบของแรงดันขาเข้า (Vm) ดงั แสดงในรูปท่ี 4.2 ในชว่ งเวลาน้ีไดโอด D1 และD4 จะได้ การไบแอสกลับ แต่ไดโอด D3 และ D4 จะไดร้ ับไบแอสตรงทาใหม้ ีกระแสไหลผ่านโหลด (RL)ได้โดยผา่ น D4 ผา่ นโหลดและผ่าน D2 ทาให้ไดค้ ลื่นไฟตรงแบบเตม็ คลื่นVAC IN Vs D1 D2 + D3 D4 RL VDC OUT - รูปท่ี 4.4 แสดงการทางานในคร่งึ รูปคลน่ื ลบ จากการทางานของวงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์จะเหน็ วา่ ในแตล่ ะครึง่ คลนื่ จะมีกระแสไหลผ่านไดโอด 2 ตวั ไดโอดได้รบั ไบแอสตรงและในขณะเดยี วกนั ก็จะมไี ดโอด 2 ตวั ไดร้ บั ไบแอสกลับ และเม่ือพจิ ารณารูปคล่ืนแรงดนั ไฟฟ้าท้งั หมดของวงจรวงจรเรยี งกระแสเตม็ คล่นื แบบบรดิ จ์ คือ Vm, VD1, VD2,VD3, VD4, VOUT จะได้รปู คลน่ื ดงั แสดงในรปู 4.5

4 อปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์และวงจร 2104-2102Vm+VP -VP tVOUT t = 0.7 V +VP D2,D3 D1,D4 D2,D3 D1,D4 D2,D3 D1,D4 tV D2,D3 -VPV D1,D4 t -VP = Vp รูปท่ี 4.5 แสดงรปู คลื่นตามจุดตา่ งๆของวงจร3. การคานวณหาค่าแรงดนั เฉลี่ยและค่าPIVของวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ แรงดนั เฉลีย่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในวงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จส์ ามารถหาได้เช่นเดยี วกบั แรงดนั เฉล่ยี ท่ีเกดิ ขนึ้ ในวงจรเรยี งกระแสเต็มคล่ืน แรงดันคา่ เฉล่ียของวงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์(ไมค่ ิดค่าแรงดันตกคร่อมไดโอด) VDC = 0.636 Vp เม่อื VDC คือ คา่ แรงดันค่าเฉล่ยี Vp คอื คา่ แรงดันสูงสุดของคลื่นไซน์4. การคานวณหาค่าแรงดัน PIV ของไดโอดในวงจรเรียงกระแสแบบแบบบรดิ จ์ ค่าทนแรงดันไบแอสกลบั สูงสุดของไดโอด PIV (Peak inverse voltage) ในวงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จ์จะมีค่าเท่ากบั ค่าแรงดันสูงสุดของคล่นื ไซน์ Vp

5 อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์และวงจร 2104-2102แรงดนั ตกคร่อมไดโอดเมอ่ื ไดโอดไดร้ บั ไบแอสกลบั โดยประมาณ PIV = Vp เมอ่ื PIV คอื ค่าทนแรงดันไบแอสกลับสูงสุดของไดโอด Vp คอื ค่าแรงดันสูงสุดของคล่นื ไซน์ตวั อยา่ งท่ี 4.1 จงหาค่าแรงดนั VOUT ของวงจร และค่าแรงดนั ยอ้ นกลบั ของไดโอด PIV เม่อื ใชห้ ม้อแปลงขนาด220V /12V220V/12V D1 D2VAC IN + D3 D4 RL VDC OUT - รปู ท่ี 4.6 แสดงวงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์วิธที า Vrms = 12 VVp = 12 x 2 (เปลีย่ น Vrmsให้เปน็ Vp) = 16.968 Vแรงดันค่าเฉลี่ยของวงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์เม่ือไม่คดิ แรงดนั ตกคร่อมไดโอดVDC = 0.636 (Vp) (เมอื่ ไมเ่ มื่อคดิ แรงดันตกครอ่ มไดโอด)VDC = 0.636 (16.968) = 10.79 Vแรงดนั ตกครอ่ มไดโอดเมอ่ื ไดโอดได้รับไบแอสกลับPIV = Vp = 16.968 V

6 อปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์และวงจร 2104-21025. วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ท่มี ีวงจรฟิลเตอร์ วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ท่ีประกอบกับวงจรฟิลเตอร์ รูปคลื่น VOUT ของวงจรจะเหมือนกันวงจรเรียงกระแสแบบเตม็ คล่นื แสดงดงั รูปที่ 4.7D1 D2VAC IN +D3 D4 RL VDC OUT -รูปที่ 4.7 แสดงวงจรเรียงกระแสแบบเตม็ บริดจ์ที่มีวงจรฟิลเตอร์ D1 D2 +V D3 D4 C1 0V C2 -V รปู ที่ 4.8 แสดงวงจรเรยี งกระแสแบบเต็มบริดจ์แบบจ่ายไฟคู่ทมี่ วี งจรฟลิ เตอร์ แรงดันค่าเฉลย่ี ของวงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์เม่ือมวี งจรฟิลเตอร์และไม่มโี หลด VDC = Vp6. การคานวณหาค่าแรงดันเฉลย่ี ของวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ท่ีมีวงจรฟิลเตอร์ การคานวณหาค่าแรงดันเฉลี่ย (VOUT) ของวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์และแบบเต็มคลื่นที่มีวงจรฟิลเตอร์น้ันมีวิธีคิดเหมือนกันเนื่องจากรูปคลื่นท่ีได้เหมือนกัน ในตัวอย่างสาหรับบทเรียนนี้เราคิดแรงดันเฉลย่ี (VOUT) ในขณะยงั ไม่มโี หลด

7 อปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ สแ์ ละวงจร 2104-2102ตัวอย่างที่ 4.2 วงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จ์ที่มีวงจรฟิลเตอร์ขณะไม่มโี หลด จงหาคา่ แรงดันเฉลย่ี (VOUT) ของวงจร เมอื่ ใช้หม้อแปลงไฟฟ้าขนาด 220V /24V D1 D2 VAC IN + D3 D4 2C,1200µFVOUT - รูปที่ 4.9 วงจรเรียงกระแสแบบบริดจท์ ่มี ีวงจรฟิลเตอร์วธิ ีทา Vrms = 24 V Vp = 24 x 2 (เปลี่ยน Vrmsใหเ้ ปน็ Vp) = 33.936 V แรงดนั ค่าเฉลยี่ ของวงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ทีม่ ีวงจรฟิลเตอร์เม่ือไม่โหลด VDC = Vp = 33.936 V ค่าแรงดัน Vc = Vp = 33.936 V ตอ้ งใช้ C มีอตั ราทนแรงดัน ไมน่ ้อยกวา่ 33.936 V7. การตรวจซ่อมวงจรเรยี งกระแส วงจรเรียงกระแสเป็นหัวใจสาคัญของการสร้างวงจรแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง การตรวจซ่อมเบื้องต้นให้รู้จุดบกพร่องหรือจุดเสียของวงจร นับว่าเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นอย่างยิง่ และสว่ นสาคัญของวงจรเรียงกระแสคือ ไดโอด ดงั นั้นจึงควรร้หู ลกั การตรวจสอบไดโอดในวงจรเรียงกระแสแบบต่าง ๆ

8 อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร 2104-2102 กรณีไดโอดขาด (Open) เช่น วงจรเรียงกระแสแบบคร่ึงคลื่นที่แสดงในรูป ถ้าไดโอดขาดหรือเรียกวา่ เปิดวงจร (Open) จะวดั ค่าแรงดันตกคร่อมโหลดได้เท่ากับ 0 โวลต์ เพราะเมื่อไดโอดขาดจะไม่มีกระแสไหลผา่ นโหลดดงั รปู ท่ี 4.10 (Open) D1 + ACIN C RL VOUT = 0V - รูปท่ี 4.10 วงจรเรียงกระแสแบบครึ่งคล่ืนกรณไี ดโอดขาด แต่ถ้าไดโอดในวงจรเรียงกระแสเต็มคล่ืนที่ใช้หม้อแปลงมีแทป มีไดโอดตัวใดตัวหนึ่งขาดหรือเปิดวงจรสามารถตรวจสอบได้โดยใช้ออสซิลโลสโคปจับภาพแรงดันริบเปิลท่ีตกคร่อมโหลด เพราะถ้าวงจรอย่ใู นสภาวะปกตจิ ะวดั รูปคลืน่ ของแรงดันริบเปลิ ได้ความถ่เี ท่ากบั 2 เท่าของความถค่ี ล่ืนไซน์ขาเข้าจะไดค้ วามถ่ีรบิ เปิล 100 Hz เม่ือไดโอดตัวใดตัวหนึ่งในวงจรขาด D1 (Open)จะวัดคล่ืนริบเปิลท่ีขาออกได้ความถี่เท่ากับแรงดันขาเขา้ คอื 50 Hz ดงั รปู ที่ 4.11 เพราะเมื่อไดโอดขาด วงจรจะทางานเปน็ แบบคร่ึงคล่ืนโดยไดโอดD2 ทางานเพียงตวั เดยี ว มีรูปคล่ืนแรงดนั ตกคร่อมโหลด (RL) เมื่อไมม่ ีวงจรกรองกระแสเป็นครง่ึ คลนื่ D1 (Open) + 50 Hz D2 C1 RL Osciloscope - 50 Hz Ripple รูปท่ี 4.11 วงจรเรยี งกระแสแบบเต็มคล่ืนกรณีไดโอดขาด สาหรับวงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบบริดจ์ ถ้าไดโอดตัวใดตัวหน่ึงในวงจรขาด เช่น สมมติให้D2 ขาด ดังรูปท่ี 4.12 สามารถตรวจสอบได้อย่างง่าย ๆ โดยใช้ออสซิลโลสโคปวัดรูปคลน่ื ท่ีโหลดจะเห็นวา่ ค่าแรงดนั ริบเปลิ มคี ่าเท่ากับความถข่ี องแรงดนั ไซนข์ าเข้า คอื 50 Hz

9 อปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์และวงจร 2104-2102 D1 D2 (Open) +50 Hz D3 D4 C1 RL Osciloscope - 50 Hz Ripple รูปที่ 4.12 วงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จก์ รณีไดโอดขาด กรณไี ดโอดลดั วงจร (Shorted Diode) ในวงจรเรยี งกระแสเต็มคล่ืนแบบบรดิ จ์ เม่ือไดโอดตวัใดตวั หนึ่งลดั วงจรจะเป็นผลให้แรงดันขาออก (VOUT) ทต่ี กครอ่ ม RL มคี า่ เท่ากับ 0 V ในคร่ึงไซเคิลลบของคลนื่ ไซน์ขาเขา้ แต่ในคร่งึ ไซเคิลบวกของคล่ืนไซน์ขาเข้า จะมกี ระแสไหลผา่ นโหลด RL ตามปกติ ดงัแสดงในรูปที่ 4.13 กรณไี ดโอดลดั วงจร หม้อแปลงและไดโอดจะร้อน อาจสง่ ผลให้อุปกรณช์ ารุดได้ D1 D2 + D3 D4 RL Vout - รูปท่ี 4.13 วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์กรณีไดโอดลัดวงจร กรณีตัวเก็บประจุในวงจรฟิลเตอร์ขาดหรือลัดวงจร (Open and Shorted Filter Capacitor) ถ้าตัวเก็บประจุในวงจรฟิลเตอร์เกิดขาดหรือเปิดวงจรจะเป็นผลให้แรงดันตกคร่อมโหลด เช่นรูปคลื่นการเรียงกระแสเหมือนกับรูปคล่ืนแรงดันขาออกจากวงจรเรียงกระแสไม่ผ่านการฟิลเตอร์ จากวงจรฟิลเตอร์ดังแสดงในรูปท่ี 4.13 แต่ถ้าตัวเก็บประจุในวงจรฟิลเตอร์ลัดวงจร (Shorted) จะเป็นผลให้โหลดถูกลัดวงจรแรงดนั ตกครอ่ มโหลดเทา่ กบั 0 V หมอ้ แปลงและไดโอดจะร้อน อาจสง่ ผลใหอ้ ปุ กรณช์ ารุดได้ ดงั แสดงในรูปท่ี 4.15

10 อปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร 2104-2102AC input C RL DC output รูปท่ี 4.14 วงจรเรยี งกระแสตัวเก็บประจขุ าดAC input C RL DC output รูปที่ 5.15 วงจรเรยี งกระแสตัวเก็บประจลุ ัดวงจร

11 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร 2104-2102สรปุ วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ คือวงจรเรยี งกระแสแบบเต็มคล่ืนนั่นเอง เพยี งแต่การจัดวงจรเรียงกระแสมีความแตกต่างไปจากวงจรเรียงกระแสแบบเต็มคล่ืนท่ีใช้หม้อแปลงแบบมีแทปกลาง วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ประกอบด้วยหม้อแปลงไฟฟ้าชนิดขดทุติยภูมิมี 2 ข้ัวต่อไม่ต้องมีแทปกลาง (CT) ใช้ไดโอดในวงจรเรียงกระแส 4 ตัว การทางานแต่ละคร้ังไดโอดทางานเป็นชุด ชุดละ 2 ตัว ลักษณะวงจรแสดงดังรปู ที่ 4.16 D1 D2VAC IN +D3 D4 RL VDC OUT -รปู ท่ี 4.16 วงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จ์-แรงดนั คา่ เฉล่ียของวงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ VDC = 0.636 Vp แรงดันตกครอ่ มไดโอดเม่อื ไดโอดได้รับไบแอสกลับ PIV = Vp-วงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จ์ทม่ี ีวงจรฟิลเตอร์ วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ท่ีประกอบกับวงจรฟิลเตอร์ รูปคลื่น VOUT ของวงจรจะเหมือนกับวงจรเรยี งกระแสแบบเตม็ คลืน่ แรงดันคา่ เฉลย่ี ของวงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์เม่อื มีวงจรฟิลเตอร์และไม่มโี หลด VDC = Vp-การตรวจซ่อมวงจรเรยี งกระแส การตรวจซ่อมเบื้องตน้ ใหร้ ู้จุดบกพร่องหรือจดุ เสียของวงจร นับว่าเป็นประโยชนต์ ่อผู้ศึกษาทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นอย่างยิ่ง และส่วนสาคัญของวงจรเรียงกระแสคือ ไดโอด ดังนั้นจึงควรรู้หลักการตรวจสอบไดโอดในวงจรเรยี งกระแสแบบตา่ ง ๆอ้างอิง

12 อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์และวงจร 2104-2102เจน สงสมพันธุ์. 2558. วงจรอิเล็กทรอนกิ ส์. ปทุมธานี: สถาบันอิเลก็ ทรอนิกส์กรงุ เทพรังสิต.ฉตั รชัยธวิ ัฒน์ ธรรมมานุยุต. 2558. วงจรอิเล็กทรอนกิ ส์. กรงุ เทพมหานคร: สานักพมิ พ์ ซเี อด็ ยูเคช่ัน.ชงิ ชยั ศรสี ุรตั น์. 2558. อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละวงจร. นนทบุรี: ศนู ยห์ นังสือ เมืองไทย.พนั ธศ์ ักด์ิ พุฒิมานิตพงศ.์ 2554. อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์และวงจร. กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพ์ ศนู ยส์ ่งเสรมิ อาชีวะ.วิทยาลัยเทคนคิ นครปฐม. 2542. ปฏิบัติอุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร โครงการจดั ทาตน้ แบบ การเรยี นการสอนวิชาชพี ภาคปฏบิ ัติ. นครปฐม: กรมอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ.อดลุ ย์ กัลยาแกว้ . 2554. อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์และวงจร. กรงุ เทพมหานคร: สานกั พมิ พ์ศนู ย์ ส่งเสรมิ อาชีวะ.

13 อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์และวงจร 2104-2102 สรุป วงจรเรยี งกระแสแบบบริดจ์ คอื วงจรเรยี งกระแสแบบเต็มคล่ืนนั่นเอง เพยี งแต่การจัดวงจรเรียง กระแสมีความแตกต่างไปจากวงจรเรียงกระแสแบบเต็มคล่ืนท่ีใช้หม้อแปลงแบบมีแทปกลาง วงจรเรียง กระแสแบบบริดจ์ประกอบด้วยหม้อแปลงไฟฟ้าชนิดขดทุติยภูมิมี 2 ข้ัวต่อไม่ต้องมีแทปกลาง (CT) ใช้ ไดโอดในวงจรเรียงกระแส 4 ตัว การทางานแต่ละคร้ังไดโอดทางานเป็นชุด ชุดละ 2 ตัว ลักษณะวงจร แสดงดังรูปที่ 4.17 D1 D2 VAC IN + RL VDC OUT D3 D4 - รูปที่ 4.17 วงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ -แรงดันคา่ เฉลยี่ ของวงจรเรียงกระแสแบบบรดิ จ์ VDC = 0.636Vp -แรงดันตกครอ่ มไดโอดเมื่อไดโอดไดร้ ับไบแอสกลบั PIV = Vp -วงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จท์ มี่ วี งจรฟลิ เตอร์ วงจรเรียงกระแสแบบบริดจท์ ่ีประกอบกบั วงจรฟลิ เตอร์ รูปคล่นื VOUT ของวงจรจะเหมือนกบั วงจรเรียงกระแสแบบเตม็ คลน่ื แรงดันค่าเฉลย่ี ของวงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จเ์ มื่อมีวงจรฟิลเตอร์และไมม่ ีโหลด VDC = Vp

14 อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจร 2104-2102 -การตรวจซอ่ มวงจรเรยี งกระแส การตรวจซ่อมเบ้ืองตน้ ให้รู้จุดบกพร่องหรือจุดเสียของวงจร นับว่าเปน็ ประโยชน์ต่อผู้ศึกษาทาง อิเล็กทรอนิกส์เป็นอย่างย่ิง และส่วนสาคัญของวงจรเรียงกระแสคือ ไดโอด ดังน้ันจึงควรรู้หลักการ ตรวจสอบไดโอดในวงจรเรยี งกระแสแบบต่าง ๆ

15 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร 2104-2102 บรรณานกุ รม เจน สงสมพันธ.ุ์ 2558. วงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์. ปทมุ ธาน:ี สถาบันอิเลก็ ทรอนกิ สก์ รงุ เทพรังสติ . ฉัตรชัยธวิ ฒั น์ ธรรมมานยุ ตุ . 2558. วงจรอเิ ล็กทรอนิกส.์ กรุงเทพมหานคร: สานกั พมิ พ์ ซีเอด็ ยูเคชน่ั . ชิงชยั ศรีสุรตั น์. 2558. อปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร. นนทบรุ :ี ศูนย์หนังสือ เมอื งไทย. พันธ์ศักดิ์ พฒุ มิ านิตพงศ์. 2554. อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละวงจร. กรงุ เทพมหานคร: สานกั พมิ พ์ ศูนย์ส่งเสรมิ อาชวี ะ. วทิ ยาลยั เทคนคิ นครปฐม. 2542. ปฏิบตั อิ ุปกรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์และวงจร โครงการจดั ทาต้นแบบ การเรยี นการสอนวิชาชพี ภาคปฏบิ ัติ. นครปฐม: กรมอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. อดุลย์ กัลยาแก้ว. 2554. อปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์และวงจร. กรงุ เทพมหานคร: สานกั พิมพศ์ นู ย์ สง่ เสรมิ อาชีวะ. Michael Lemmon. 2009. “What is a Rectifier Circuit,” [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก: http://www3.nd.edu/~lemmon/courses/ee224/web-manual/web- manual/lab8b/node6.html, [สืบค้นเม่ือ 10 ,มกราคม 2559]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook